SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
หน่วยที่ 6 อุปกรณ์ป้ องกันทางไฟฟ้ า
อาจารย์ณัฐวุฒิ ค่าไทยสง
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
อุปกรณ์ป้ องกันไฟฟ้ า คืออะไร
อุปกรณ์ป้ องกันไฟฟ้ า คืออุปกรณ์ที่ช่วยป้ องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า ใน
กรณีที่เกิดไฟฟ้ าช๊อต ไฟฟ้ าดูดหรือเกิดการลัดวงจร อาจจะทาให้เกิดความเสียหายแก่
ชีวิตและทรัพย์สินได้ ดังนั้นอุปกรณ์ป้ องกันไฟฟ้ าจะช่วยลดอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ าได้
อุปกรณ์เหล่านี้ได้แก่ ฟิวส์, เซอร์กิตเบรกเกอร์, การต่อลงดิน และเครื่องป้ องกันไฟฟ้ าดูด
เป็นต้น
คืออุปกรณ์ป้องกันไฟฟ้าที่สามารถเปิดวงจรในขณะที่มีความผิดปกติเกิดขึ้น โดยที่ไม่
ทาให้ตัวเองขาดหรือชารุดเหมือนฟิวส์ ถ้าเซอร์กิตเบรกเกอร์เปิดวงจร เราจะต้องหาสาเหตุ ว่า
ใช้งานกระแสไฟฟ้า มากเกินกว่าที่กาหนดหรือไม่ เกิดไฟดูด, ไฟรั่ว, ไฟช็อต, ไฟเกินหรือไฟ
ตก เกิดปัญหาที่จุดใด แล้วทาการแก้ไขปัญหาในกรณีดังกล่าว หลังจากนั้นให้กดปุ่มรีเซ็ตให้
วงจรไฟฟ้าทางานใหม่ได้
1. เซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breakers)
1.1 MCCB (Molded Case Circuit Breaker)
1.2 Air Circuit Breaker หรือ power Circuit Breaker
1.3 Miniature Circuit Breaker
1.MCCB ( Molded Case Circuit Breaker ) คือ เซอร์กิตเบรกเกอร์ที่ห่อหุ้มปิดมิดชิดมีหน้าที่หลัก 2 อย่างคือ
ทาหน้าที่เป็นสวิตช์เปิด-ปิดด้วยมือ และเปิดวงจรอัตโนมัติ
• Thermal Unit ใช้สาหรับปลดวงจรออกเมื่อกระแสเกินเนื่องจากโหลดเกิน ( Over load )
• Magnetic Unit ใช้สาหรับปลดวงจรออกเมื่อกระแสเกิน เนื่องจากลัดวงจร( Short circuit )
1.1 MCCB (Molded Case Circuit Breaker)
ลักษณะของ MCCB (Molded Case Circuit Breaker)
2. Electronic trip MCCB หรือ Solid state trip
• จะ ใช้วงจรอิเล็กทรอนิกส์วิเคราะห์ ค่ากระแสเพื่อสั่งปลดวงจร ภายในจะมีหม้อแปลงกระแส
ทาหน้าที่แปลงกระแสให้มีขนาดต่าลง โดยมีไมโครโปรเซสเซอร์ ทาหน้าที่วิเคราะห์ค่าของ
กระแสที่ไหลผ่าน หากสูงเกินกว่าค่าที่กาหนดก็จะสั่งให้triping coil
1.2 Air Circuit Breaker หรือ power Circuit Breaker
เป็นเบรคเกอร์ที่ใช้กับแรงดัน <1000 volt มีขนาดใหญ่ใช้เป็น main CB. โดยทั่วไปมีพิกัดกระแส
ตั้งแต่ 225-6300 A. และมี interrupting capacity สูงตั้งแต่ 35-150 KA. โครงสร้างทั่วไปทาด้วย
เหล็กมีช่องดับอาร์ก (Arcing chamber) ที่ใหญ่โตแข็งแรงเพื่อให้สามารถรับกระแสลัดวงจร
จานวนมากได้Air CB. ที่มีขายในท้องตลาด มักใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ตรวจจับ และวิเคราะห์
กระแสเพื่อสั่งปลดวงจร
1.3 Miniature Circuit Breaker
เป็น เบรคเกอร์ขนาดเล็ก ใช้ติดตั้งเป็นอุปกรณ์ป้องกันร่วมกับ แผงจ่ายไฟฟ้าย่อย (Load center) หรือ แผง
จ่ายไฟฟ้าประจาห้องพักอาศัย (consumer unit) เบรคเกอร์ชนิดนี้ไม่สามารถปรับตั้ง ค่ากระแสตัดวงจรได้
มีทั้งแบบ 1 pole , 2 pole และ 3 pole อาศัยกลไกการปลดวงจรทั้งแบบ thermal และ magnetic มีรูปร่าง
ทั่วไปดังรูป
ตู้โหลดเซ็นเตอร์ (Load center)
Consumer Unit
2. ฟิวส์ (Fuse)
ฟิวส์เป็นอุปกรณ์ป้องกันโดยทาหน้าที่เหมือนตัวนาตัวหนึ่งในวงจรไฟฟ้า เมื่อเกิดกระแสเกิน
พิกัด (Overload Current) หรือกระแสลัดวงจร (Short Circuit Current) มีค่ามากกว่ากระแสที่ฟิวส์
ทนได้(Fuse’s Current Rating) จะทาให้ฟิวส์ขาด (Blown Fuse) ทาให้วงจรขาดและกระแสไม่
ไหลอีกต่อไป เพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับอุปกรณ์และผู้ใช้อุปกรณ์
2.1 ฟิวส์ตะกั่ว ผลิตจากส่วนผสมของตะกั่วกับดีบุกซึ่งมีจุดหลอมละลายต่านิยมใช้ติดตั้งกับ
สวิตช์ตัดตอน หรือที่เรียกว่าคัทเอาท์ (cut out) ดังรูปเนื่องจากติดตั้งง่าย ราคาถูกมีหลาย
ขนาด โดยจะเรียกตามเบอร์ ของฟิวส์ แต่ละเบอร์ของฟิวส์ตะกั่วจะมีอัตราการทนกระแส
ต่างกัน จะเรียกว่าฟิวส์เส้นเนื่องจากมีลักษณะเป็นเส้นกลมๆ
2.2 ฟิวส์ก้ามปู
ฟิวส์ก้ามปู ลักษณะคล้ายกับก้ามปู ประกอบหรือติดตั้งอยู่ที่คัทเอาต์หรือสะพานไฟ
เหมือนกับฟิวส์เส้นลวด มีขนาดหลายขนาดเหมือนกับฟิวส์เส้น
2.3 ปลั๊กฟิวส์ หรือฟิวส์กระปุก
ปลั๊กฟิวส์ คือฟิวส์ที่บรรจุอยู่ในกระบอกที่ทาด้วยกระเบื้อง เวลาใช้งานให้ติดตั้งบนฐานเกลียว มี
แผ่นไส้โลหะที่ออกแบบให้ละลาย เมื่อกระแสไหลในวงจรเกินค่าที่กาหนด มีหลายแบบหลาย
ขนาด โดยทั่วไปมีอัตราทนกระแส 0-30 แอมป์ นิยมใช้ตามอาคารบ้านเรือนทั่วไป
เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าฟิวส์กระบอก นิยมใช้ติดตั้งภายในสวิตช์นิรภัย หรือที่เรียกว่าเซฟตี้สวิตช์ (safety switch)
คาร์ทริดจ์ฟิวส์แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
ก. แบบปลอก มีขนาดเล็ก พิกัดกระแสตั้งแต่ 10 A – 60 A โดยมีหน้าสัมผัสติดกับเดือยสวิตช์
ข. แบบใบมีด มีขนาดใหญ่ พิกัดกระแสตั้งแต่ 70 A ขึ้นไป เมื่อฟิวส์ขาดสามารถเปลี่ยนไส้ฟิวส์ได้
2.4 คาร์ทริดจ์ฟิวส์
คาร์ทริดจ์ฟิวส์แบบใบมีด
คืออุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินและสวิตช์ตัดตอนที่ใช้กับระบบไฟฟ้าแรงดันต่าตามอาคาร
สานักงานทั่วไป ภายในกล่องของเซฟตี้สวิรช์จะประกอบด้วยหน้าสัมผัสและคาร์ทริดจ์ฟิวส์
แบบปลอกหรือแบบใบมีด
เซฟตี้สวิตช์ (safety switch)
สวิตช์ทิชิโน (Ticino)
เป็นอุปกรณ์ตัดตอนและป้องกันอีกชนิดหนึ่งซึ่งนิยมใช้กันมากเนื่องจากสามารถทางาน
ได้ดีทั้ง over load และ short circuit โดยเฉพาะการควบคุมเฉพาะจุด เช่น ปั๊มน้า มอเตอร์ ตู้เย็นใช้
แผ่นโลหะที่เรียกว่า ชั้นท์คอยล์ทริป (shunt coil trip) เพื่อปรับอัตราการตัดกระแส
ให้นักศึกษาทาแบบฝึกหัดท้ายบท (ส่งท้ายชั่วโมง)
แบบฝึกหัดจะมี 2 ตอน
ตอนที่ 1 จานวน 10 ข้อปรนัย
ตอนที่ 2 จานวน 5 ข้ออัตนัย

More Related Content

What's hot

อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาพัน พัน
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะKan Pan
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบNeeNak Revo
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นWiranya_king
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sunnative
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์fateemeenorm
 

What's hot (20)

การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
อาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตาอาณาจักรโพรทิสตา
อาณาจักรโพรทิสตา
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง พลังงานแสงและระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบการอ่านแบบไฟฟ้า  และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
การอ่านแบบไฟฟ้า และระบบพิกัดในงานเขียนแบบ
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
อิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
ดวงอาทิตย์ The sun
ดวงอาทิตย์  The sunดวงอาทิตย์  The sun
ดวงอาทิตย์ The sun
 
Microscope
MicroscopeMicroscope
Microscope
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์ธอร์นไดค์
ธอร์นไดค์
 

Similar to บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า

EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03Rajamangala University of Technology Rattanakosin
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404Yamano Yumeyuki
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406Arutchapaun Trongsiriwat
 

Similar to บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า (7)

EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
EMI ข้อพึงปฏิบัติในการใช้เครื่องวัดทางไฟ้ฟ้า 03
 
4
44
4
 
Elec1
Elec1Elec1
Elec1
 
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
สายคู่บิดเกลียว(คิด เต็มตะวัน-407)
 
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
สายคู่บิดเกลียว(ศศิกานต์+ดวงพร)404
 
10 1
10 110 1
10 1
 
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
สายคู่บิดเกลียว(ปัณฑารีย์ อรัชพร)406
 

More from Nattawut Kathaisong

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdNattawut Kathaisong
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลNattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์Nattawut Kathaisong
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)Nattawut Kathaisong
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantNattawut Kathaisong
 

More from Nattawut Kathaisong (15)

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 

บทที่ 6 อุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า