SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
หน่วยที่ 1 การป้ องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้ า
อาจารย์ณัฐวุฒิ ค่าไทยสง
สาขาวิศวกรรมไฟฟ้ า คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
หน่วยที่ 1 การป้ องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้ า
การป้ องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้ า
1.1 ไฟฟ้าคืออะไร
1.2 อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า
1.3 วิธีช่วยเหลือผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูด
1.4 การปฐมพยาบาลผู้ถูกกระแสไฟฟ้าดูด
1.5 สาเหตุสาคัญของการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสียทางไฟฟ้า
1.6 การป้องกันอันตรายทางไฟฟ้า
ไฟฟ้ าเป็นพลังงานชนิดหนึ่ง เป็นส่วนประกอบที่มีอยู่ในวัตถุธาตุทุกชนิด ตามข้อพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ย่อมเป็น
ที่ทราบกันแล้วว่า วัตถุธาตุชนิดต่างๆ ที่มีอยู่ในโลกประกอบด้วยอนุภาคเล็กๆ ที่เรียกว่า อะตอม และในแต่ละอะตอม
ยังประกอบด้วยโปรตอน นิวตรอน และอิเล็กตรอนอยู่มากมาย สาหรับโปรตอนกับนิวตรอนนั้นจะอยู่นิ่ง ไม่เคลื่อนไหว
ส่วนอิเล็กตรอนนั้นสามารถที่จะ เคลื่อนไหว จากอะตอมหนึ่งไปยังอีกอะตอมหนึ่งได้ การเคลื่อนไหวจากอะตอมหนึ่ง
ไปยังอีกอะตอมหนึ่งของอิเล็กตรอนนี้เอง คือสิ่งที่เราเรียกว่าไฟฟ้ า
ไฟฟ้ าคืออะไร
อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า
• 1.2.1 เกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายลงดินหรือครบวงจรกับดินภาชาวบ้านเรียนว่า“ไฟดูด”เช่น
เอามือไปจับส่วยที่เป็นโลหะของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่บังเอิญมีไฟรั่วเช่นตู้เย็นกระทะไฟฟ้าหม้อหุงข้าว
กระแสไฟฟ้าจะผ่านเข้าทางมือลงสู่ดินที่ฝ่าเท้า
• 1.2.2 เกิดจากการที่ร่างกายของคนเราไปต่อเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า ทาให้กระแส ไฟฟ้าไหลได้ครบ
วงจรในตัวโดยที่ไม่จาเป็นต้องต่อลงดิน เช่น คนใช้มือสองข้างโหนสายไฟฟ้าเปลือยสองเส้น ลักษณะนี้จะ
ได้รับอันตรายจากไฟฟ้าแน่นอน
• 1.2.3 ได้รับอันตรายจากแสงและความร้อนอันเกิดจากไฟฟ้าลัดวงจร ที่เรียกว่า “ไฟช๊อต” ที่พบบ่อยคือผู้ที่
ติดตั้งเสาอากาศโทรทัศน์ซึ่งมักจะเผอเรอ ทาให้โลหะที่จับถือพลาดไปถูกสายไฟฟ้ า แรงสูง ซึ่งนอกจากจะได้
ยินเสียงระเบิดจากการลัดวงจรแล้ว อาจเป็นอันตรายต่อดวงตาเนื่อง จากแสงประกายไฟฟ้ าที่เจิดจ้า
กระแสไฟฟ้ าจะวิ่งผ่านโลหะ ผ่านมือ ผ่านร่างกาย ลงดิน ส่งผลให้เกิดบาดแผลไฟไหม้รุนแรง อาจจะต้องตัด
อวัยวะบางส่วนทิ้งเพื่อรักษาชีวิตไว้
เมื่อพบเห็นผู้ประสบอุบัติเหติจากกระแสไฟฟ้าดูดต้องรีบช่วยเหลือผู้ป่วยทันที อย่าให้อวัยวะ
ร่างกายแตะกับร่างกายหรือเสื้อผ้าที่เปียกชื้นของผู้ถูกไฟฟ้าดูดเป็นอันขาด มิฉะนั้นจะถูก
ไฟฟ้าดูดตามไปด้วยการช่วยเหลือผู้ถูกไฟฟ้าดูดให้พ้นจากกระแสไฟฟ้าให้เลือกวิธีใดวิธีหนึ่ง
ดังนี้
1. ตัดกระแสไฟฟ้าโดยปลดสวิตช์หรือ
คัทเอาท์หรือดึงเต้าเสียบ (ปลั๊กตัวเมือ) ออก
วิธีช่วยเหลือผู้ถูกกระแสไฟฟ้ าดูด
2. หากตัดกระแสไฟฟ้าไม่ได้ให้ใช้ไม้แห้งหรือวัสดุที่เป็นฉนวนไฟฟ้า
เขี่ยสิ่งที่มีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ในขณะนั้นออกไปให้พ้น
3. ให้ใช้ผ้าหรือเชือกแห้ง คล้องแขน ขา
หรือลาตัวของผู้ถูกไฟดูด ชักกลากออกไปให้พ้นจากสิ่ง
ที่มีกระแสไฟฟ้าไหลอยู่ในขณะนั้น
ถ้าหากตรวจพบว่าผู้ป่วยเกิดการช็อค หมดสติหรือไม่หายใจ ต้องรีบติดตามแพทย์มาดูแลหรือนาผู้ป่วยส่ง
โรงพยาบาลโดยเร็ว ในขณะที่รอแพทย์ต้องทาการปฐมพยาบาลเบื้องต้นด้วยการให้ลมหายใจทางปาก หรือการนวด
หัวใจ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือสลับกัน จนกว่าจะถึงมือแพทย์
1.4.1 การให้ลมหายใจทางปาก (เป่าปาก)
1.วางผู้ป่วยนอนหงายให้ศีรษะแหงนต่าลง ลาคอยืดและยกคางขึ้น
2. สอดนิ้วหัวแม่มือเข้าไปในปาก จับขากรรไกรล่างยกขึ้นจนปากอ้าออก
3. ล้วงเอาสิ่งของใดๆ ที่อาจติดค้างอยู่ในปากและลาคอออกให้หมด เพื่อไม่ให้ขวาง ทางลม แล้วบีบจมูกไม่ให้
ลมออก
4. ทาบปากลงให้แนบกับปากผู้ป่วย และเป่าลมเข้าเป็นจังหวะประมาณ 12-15 ครั้งต่อนาที ดังรูป
5. ถ้าไม่สามารถอ้าปากผู้ป่วยได้ ให้ใช้มือปิดปากแล้วเป่าลมเข้าทางจมูก
6. ขณะนาผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล ให้ทาการเป่าปากไปด้วยจนกว่า ผู้ป่วยจะฟื้นหรือได้รับ ความช่วยเหลือจาก
แพทย์แล้ว
4.การปฐมพยาบาลผู้ถูกกระแสไฟฟ้ าดูด
การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผู้ถูกกระแสไฟฟ้ าดูดบนเสาไฟฟ้ า
5 สาเหตุสาคัญของการเกิดอุบัติเหตุและความสูญเสียทางไฟฟ้ า
- ฉนวนไฟฟ้าชารุด หรือเสื่อมสภาพ
- เกิดแรงดันเกินในสายไฟฟ้า หรืออุปกรณ์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจึงสามารถทะลุผ่านฉนวนได้(เนื่องจากฉนวนไฟฟ้ามี
ความสามารถในการทนแรงดันไฟฟ้าได้ไม่เหมาะสมกับแรงดันไฟฟ้าที่ใช้งาน)
- ตัวนาไฟฟ้าในวงจรเดียวกัน แต่ต่างเฟสกัน(คนละเส้น)สัมผัสกัน กรณีนี้มักเกิดในระบบไฟฟ้าแรงสูงที่สายไฟฟ้า
หรือตัวนาใช้เป็นสายเปลือย
- มีสิ่งก่อสร้าง ต้นไม้หรืออื่นๆ ไปสัมผัสสายไฟฟ้า
- สายไฟฟ้าขาดลงพื้น
1. การเลือกซื้อและการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้ า
เลือกซื้ออุปกรณ์ที่ได้รับรองมาตรฐานผ่านการ
ทดสอบตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เป็นการ
ป้ องกันอันตรายในขั้นต้น นอกจากนี้ผู้ใช้ต้องเลือกใช้ให้
ถูกต้องเหมาะสมกับลักษณะของงานที่จะนามาใช้ อีกทั้งการ
ใช้งานจะต้องใช้งานอย่างถูกวิธีตามคู่มือหรือคาแนะนาของ
ผู้ผลิต อุปกรณ์ต่างๆ เหล่านั้นด้วย
การป้ องกันอันตรายทางไฟฟ้ า
2. การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้ า
การต่อสายและการติดตั้งทั้งหมดต้องเป็นไปตามหลักและกฎ
ความปลอดภัย โดยช่างผู้ชานาญทางไฟฟ้าที่มีประสบการณ์และผ่าน
การฝึกอบรมมาแล้ว สาหรับกฎเกณฑ์ง่ายๆ ที่ต้องคานึงถึงทุกครั้ง คือ
2.1 ขนาดของสายไฟ สวิตช์ และอุปกรณ์ป้องกันทางไฟฟ้า ต้องมี
ขนาดถูกต้องเหมาะสมกับการนาไปใช้งาน
2.2 อุปกรณ์ที่มีเปลือกนอกเป็นโลหะ ต้องมีการต่อสายดินอย่าง
เหมาะสม
2.3 มีการป้องกันเฉพาะอุปกรณ์แต่ละตอนด้วยฟิวส์หรือสวิตช์
หรือเบรกเกอร์ตัดวงจร อย่างเหมาะสม
2.4 การต่อสายไฟและอุปกรณ์ จะต้องต่ออย่างหนาแน่นและ
มั่นคงด้วยอุปกรณ์ต่อสาย
2.5 อุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งไม่อาจป้องกันหรือคลุมด้วยฉนวนได้
อย่างมิดชิด จะต้องมีริ้วล้อมรอบหรือกั้นห้องพร้อมทั้งติดป้าย
เตือนอันตรายจากไฟฟ้าให้ เห็นได้อย่างชัดเจน
3. การตรวจทดสอบ
จาเป็นต้องมีระบบการตรวจทดสอบเป็นระยะๆ สม่าเสมอ
เกี่ยวกับอุปกรณ์ทั้งหมด ซึ่งสามารถตรวจสอบอย่างง่ายได้ด้วยตา
เปล่า
- วัสดุเสียหายหรือแตกหรือฉีกขาด เช่น ฉนวนสายไฟ เต้าเสียบ
เต้ารับ สวิตช์ เป็นต้น
- การสะสมของ น้ามัน น้า ฝุ่น หรือสิ่งอื่นๆ ใกล้อุปกรณ์ไฟฟ้า
- อุปกรณ์ทางานปกติหรือไม่ และป้าย หรือสัญญาณเตือนชารุด
หรือไม่
4. การบารุงรักษาอย่างสม่าเสมอ
โดยช่างผู้ที่มีความชานาญดีพอสาหรับอุปกรณ์หรือเครื่องใช้ไฟฟ้ าเหล่านั้น
5. การให้การศึกษา
นอกจากให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้ า สาเหตุและผลของ
อุบัติเหตุจากไฟฟ้ าตลอดจนการปฏิบัติที่ปลอดภัยให้แก่ผู้ใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ไฟฟ้ า รวมทั้ง
การฝึกอบรมวิธีปฏิบัติเมื่อประสบอันตรายจากไฟฟ้ า การปฐมพยาบาล และการช่วยชีวิตผู้
ประสบอันตรายด้วย
ให้นักศึกษาทาแบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 1 (ส่งท้ายชั่วโมง)
แบบฝึกหัดจะมี 2 ตอน
ตอนที่ 1 มี 10 ข้อ กากบาท 5 คะแนน
ให้นักศึกษาทาแบบฝึกหัดท้ายบท บทที่ 1 (ส่งท้ายชั่วโมง)
แบบฝึกหัดจะมี 2 ตอน
ตอนที่ 1 มี 10 ข้อ กากบาท 5 คะแนน
ตอนที่ 2 มี 2 ข้อ เขียนบรรยาย 5 คะแนน

More Related Content

What's hot

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2Mam Chongruk
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 

What's hot (20)

โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
ตารางวิเคราะห์รายแผนที่ 2
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 

More from Nattawut Kathaisong

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdNattawut Kathaisong
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาNattawut Kathaisong
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลNattawut Kathaisong
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีNattawut Kathaisong
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์Nattawut Kathaisong
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์Nattawut Kathaisong
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)Nattawut Kathaisong
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantNattawut Kathaisong
 

More from Nattawut Kathaisong (15)

บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขาบทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
บทที่ 12 หุ่นยนต์ 6 ขา
 
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcdบทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
บทที่ 11 การควบคุมจอแสดงผล lcd
 
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลาบทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
บทที่ 10 อินเทอร์รัปต์และวงจรจับเวลา
 
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
บทที่ 9 หุ่นยนต์ขนาดเล็กควบคุมด้วยไมโครคอนดทรเลอร์
 
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
บทที่ 8 การรับข้อมูลจากสวิตซ์
 
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผลบทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
บทที่ 7 การควบคุมแสดงผล
 
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
บทที่ 6 การพัฒนาไมโครคอนดทรเลอร์ด้วยโปรแกรม keil pk51
 
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซีบทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
บทที่ 5 พื้นฐานภาษาซี
 
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลีบทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
บทที่ 4 การเขียนโปรแกรมภาษาแอสแซมบลี
 
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
บทที่ 3 ชุดคำสั่งของไมโครคอนโทรเลอร์
 
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
บทที่ 2 หน่วยความจำและรีจิสเตอร์
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
 
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
การเชื่อมต่อสายกราวด์ กับ แท่งกราวด์ (Ground)
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 

บทที่ 1 การป้องกันอุบัติภัยเกี่ยวกับการปฏิบัติงานทางไฟฟ้า

Editor's Notes

  1. 1. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนกังหันไอน้ำ คือ โรงไฟฟ้าที่ใช้ความร้อนจากเชื้อเพลิงชนิดต่าง ๆ ทำให้น้ำ กลายเป็นไอน้ำไปขับเครื่องกังหันให้หมุนและให้พลังงานกลออกมาหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็นพลังงานไฟฟ้า 2. โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ คือโรงไฟฟ้าที่ใช้เครื่องกังหันก๊าซเป็นเครื่องยนต์สันดาปภายในโดยอัดอากาศให้มีความดันสูง 8 – 10 เท่า ส่งเข้าห้องเผาไหม้ที่มีก๊าซเป็นเชื้อเพลิง ทำให้เกิดการขยายตัวมีความดันและอุณหภูมิสูงไปดันกังหันให้หมุน โดยกังหันจะอยู่บนแกนเดี่ยวกับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ผลิตไฟฟ้าออกมา 3. โรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วม คือโรงไฟฟ้าที่ประกอบด้วยโรงไฟฟ้า 2 ระบบร่วมกัน คือ โรงไฟฟ้ากังหันก๊าซ และโรงไฟฟ้ากังหันไอน้ำโดยนำความร้อนจากไอเสียที่ออกจากเครื่องกังหันก๊าซซึ่งมีอุณหภูมิสูงถึง 550 องศา มาใช้แทนเชื้อเพลิงในการต้นน้ำ มาต้มน้ำให้เป็นไอไปดันกังหันไอน้ำให้หมุนและต่ออยู่กับแกนเดียวกันของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ผลิตไฟฟ้าออกมา 4. โรงไฟฟ้าดีเซล คือโรงไฟฟ้าพลังความร้อนอีกประเภทหนึ่ง ใช้น้ำมันดีเซลเป็นเชื้อเพลิง สันดาปภายในร่วมกับการอัดของอากาศเกิดความร้อนและจุดระเบิดต่อเนื่องกันทำ ให้เครื่องยนต์หมุนไปขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้าผลิตไฟฟ้าออกมา 5. โรงไฟฟ้าพลังนิวเคลียร์ ใช้ความร้อนจากปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนแก้น้ำ เกิดเป็นไอน้ำความดันสูง ไปขับกังหันไอน้ำให้หมุน และไปขับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า