SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
ประวัติศาสตร ์ตะวันตกสมัยใหม่
จัดทาโดย
นายภูดิส ดัชนี เลขที่ 9
นายปลื้ม ร่วมขุน เลขที่ 33
นายญาณกวี เคว็จดา เลขที่ 38
นายณัฐพล กันทา เลขที่ 44
นายมนัส สุวรรณเจริญ เลขที่ 46
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.1
เสนอ
ครูเตือนใจ ไชยศิลป์
โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม
ภาคเรียนที่ 1/2560
ประวัติศาสตร ์ตะวันตกสมัยใหม่
เริ่มตั้งแต่ปีที่คริสโตเฟอร ์โคลัมบัส ( Christopher Columbus ) ค้นพบโลกใหม่หรือทวีป
อเมริกา และสิ้นสุดลงในปีที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ยุโรปสมัยใหม่ เป็นสมัยแห่งการฟื้นฟูอารยธรรม
กรีก-โรมัน และมีการพัฒนาทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปะวิทยาการ เป็นยุคที่มี
อารยธรรมเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก และแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ
• สมัยใหม่ช่วงแรก
• สมัยใหม่ช่วงหลัง
• ศิลปวัฒนธรรมยุโรปยุคใหม่
โดยแบ่งเป็น 3 หัวข้อหลักๆ ดังนี้
สมัยใหม่ช่วงแรก (คริสต์ศตวรรษที่ 15-18)
1.การฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกและโรมัน ( Renaissances ) นาความรู้วิธีคิด ใช ้
ปัญญาและเหตุผลตามแบบอย่างนักปราชญ์ชาวกรีก ให้ความสาคัญกับคุณค่าความเป็น
มนุษย์หรือเป็นลักษณะยุคมนุษย์นิยม
2.การปฏิรูปศาสนา เกิดการแบ่งแยกศาสนจักรเป็น 2 นิกายใหญ่ๆ คือ
2.1.นิกายโรมันคาทอริก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีพระสันตะปาปา ( Pope ) เป็นประมุข
2.2.นิกายโปรแตสแตนท์แบ่งเป็นนิกายย่อยๆอีกหลายนิกาย นับถือในประเทศต่างๆ เช่น
นิกายอังกฤษ ( Church of England ) และนิกายลูเธอร ์( Lutheranism ) ในเยอรมนี
3.การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
3.1.ยุโรปเข้าสู่ยุคการสารวจเส้นทางเดินเรือ
ยุคกลาง มีการค้าระหว่างยุโรปกับเอเชีย ผ่านทางทะเลเมดิเตอร ์เรเนี่ยนและตะวันออกกลาง
โดยอิตาลีได้เปรียบประเทศอื่น สามารถควบคุมเส้นทางการค้าเกือบทั้งหมด ทาให้อังกฤษ
ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา พยายามทาลายการผูกขาดนี้ ประจวบกับชาวยุโรปส่วน
หนึ่ง เบื่อชีวิตที่อยู่ภายใต้อิทธิพลมืดของสันตะปาปา จึงคิดอพยพไปตายเอาดาบหน้าเพื่อ
อิสระในการนับถือศาสนา เป็นเหตุหนึ่งในการออกสารวจแสวงหาเส้นทางการเดินเรือใหม่ และ
เส้นทางการค้าทางบกของชาวยุโรปกับตะวันออก ตกอยู่ในมือของพ่อค้าชาวมุสลิม ทาให้
ชาวยุโรปต้องการหาเส้นทางการค้าใหม่ก็คือ ค้าขายทางทะเลเท่านั้น การติดต่อของชาวยุโรป
และโลกตะวันออกจากการค้า ทาให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัสกับอารยธรรมของโลกตะวันออก
วิชาความรู้ต่างๆ ของกรีกและมุสลิม หลั่งไหลมาสู่สังคมตะวันตก ทาให้ปัญญาชนเริ่ม
ทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตน ตลอดจนเกิดการท้าทายคาสอนศาสนาที่มีอิทธิพลต่อ
การศึกษาในสมัยกลางถึงเรื่องโลกแบน ความรู้ทางภูมิศาสตร ์และแผนที่ของปโตเลมี
(Ptolemy) นักดาราศาสตร ์และนักคณิตศาสตร ์ชาวกรีก ที่แสดงให้เห็นดินแดนที่กว้างใหญ่
ความต้องการสารวจเส้นทาง โดยเฉพาะทางเรือ จึงเพิ่มขึ้น
3.2.การค้นพบดินแดนทางตะวันออกของชาติตะวันตก
-บาร ์โธโลมิว ไดแอส ชาวโปรตุเกสสามารถเดินเรือเลียบทวีปแอฟริกาจนเข้าแหลม กู๊ดโฮม ได้
สาเร็จใน ค.ศ.1488
-วาสโก ดา กามา ใช ้เส้นทางของไดแอส จนถึงเอเชีย และสามารถขึ้นฝั่งที่เมืองคาลิกัต ของ
อินเดียและสามารถซื้อเครื่องเทศโดยตรงจากอินเดีย นากลับไปขายในยุโรปได้กาไรมากมาย
-คริสโตเฟอร ์โคลัมบัส ชาวอิตาลีรับใช้กษัตริย์สเปนในการสารวจเส้นทางเดินเรือไปประเทศจีน
เป็นผู้ค้นพบทวีปอเมริกา และเป็นผู้เชื่อว่าโลกมีสัณฐานกลม ไม่แบนตามคาสอนของคริสต์ศาสนา
ในสมัยกลาง
-เฟอร ์ดินานด์มาเจลแลน ชาวโปรตุเกส รับอาสากษัตริย์สเปน หาเส้นทางเดินเรือมายังตะวันออก
จนสามารถเข้าฟิลิปปินส์แต่เขาถูกชาวพื้นเมืองฆ่าตาย แต่ลูกเรือสามารถนาเรือกลับมาสเปนได้
ยุคนี้ได้ชื่อว่ายุคแห่งการค้นพบ ( Age of Discovery ) การค้นพบดินแดนต่างๆทาให้
ฮอลันดา อังกฤษ และต่อมาฝรั่งเศส เข้ามาสร ้างอิทธิพลครอบครองดินแดนทางตะวันออก และทา
ให้เกิด ลัทธิจักรวรรดินิยม
4. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร ์
ปัญญาชนชาวตะวันตกให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าจนเกิดความรู้และความเจริญก้าวหน้าใน
ศาสตร ์แขนงต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร ์ดาราศาสตร ์และคณิตศาสตร ์และจากการประดิษฐ ์แท่น
พิมพ์ของ โยฮัน กูเตนเบอร ์ก ชาวเยอรมัน ทาให้วิทยาการความรู้แพร่หลายอย่างรวดเร็ว
ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดการปฏิวัติวิทยาศาสตร ์เกิดจากแนวความคิดที่สาคัญ 2 ประการ คือ
1. แนวคิดมนุษยนิยม ( Humanism ) ซึ่งได้รับมาจากหลักปรัชญาของชาว กรีกโดยสอนให้
มนุษย์มีความเชื่อมั่นในความสามารถของมนุษย์สติปัญญาของมนุษย์สามารถนามนุษย์ไปสู่การ
ค้นหาความจริงของสรรพสิ่งต่างๆ ในโลก
2. แนวคิดในปรัชญาธรรมชาตินิยม ( Naturalism ) สอนให้เชื่อว่าสิ่งต่างๆ ล้วนดาเนินไปตาม
กฎเกณฑ์ธรรมชาติ ธรรมชาติที่อยู่รอบๆตัวมนุษย์นั้นมีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเริ่ม
ศึกษาค้นคว้าและทดลอง จนเกิดองค์ความรู้ใหม่เรียกว่าเป็น ยุคแห่งภูมิธรรม หรือ ยุคแห่งการรู้แจ้ง
(The Enlightenment)
นักวิทยาศาสตร ์ที่สาคัญในยุคนั้น
นิโคลัส โคเปอร ์นิคัส
ค้นพบทฤษฎีระบบสุริยจักรวาล ที่
มีสาระสาคัญคือ ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลาง
ของจักรวาลโดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวง
อื่นๆ โคจรโดยรอบ ซึ่งขัดแย้งกับหลัก
ความเชื่อของคริสตจักรอย่างมาก ที่เชื่อว่า
โลกเป็ นศูนย์กลางของจักรวาล ความคิด
ของโคเปอร ์นิคัส เป็ นจุดเริ่มต้นของการ
ปฏิวัติทางวิทยาศาสตร ์
กาลิเลโอ กาลิเลอี
เป็ นนักวิทยาศาสตร ์คณิตศาสตร ์และ
ดาราศาสตร ์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของโลก
โดยเฉพาะผลงานด้านดาราศาสตร ์เป็ นผลงานที่มี
ชื่อเสียงมากที่สุด การทดลองและการค้นพบของ
เขามีประโยชน์มากมายหลายด้าน โดยเฉพาะ
ทางด้านดาราศาสตร ์เช่น พบจุดดับบนดวงอาทิตย์
พบบริวารของดาวพฤหัสบดี เป็ นต้น การพบ
ลักษณะการแกว่งของวัตถุซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็น
เครื่องจับเวลา และนาฬิกาลูกตุ้ม อีกทั้งการที่เขา
สามารถพัฒนาสร ้างกล้องโทรทรรศน์ให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น ทาให้วิชาการด้านดารา
ศาสตร ์มีความเจริญก้าวหน้า อีกทั้งเขายังเป็ น
บุคคลที่มีความกล้าหาญอย่างมากในการเสนอ
แนวความคิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับทฤษฎีดั้งเดิมที่ผิดของ
อาริสโตเติล
เซอร ์ไอแซก นิวตัน
ผลงาน
▪ ตั้งกฎแรงดึงดูดของโลก
▪ ตั้งกฎเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
▪ ตั้งทฤษฎีแคลคูลัส (Calculus)
▪ ประดิษฐ ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง
▪ ค้นพบสมบัติของแสงที่ว่า แสงสีขาวประกอบขึ้นจากแสงสีรุ ้ง
ในบรรดานักวิทยาศาสตร ์ทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วและ
จะกล่าวต่อไป นิวตันเป็ นนักวิทยาศาสตร ์ที่ได้รับการยกย่องว่า
เป็ นอัจฉริยะคนหนึ่งเลยทีเดียว แม้แต่นักวิทยาศาสตร ์ผู้มี
ความสามารถอย่างไอน์สไตน์ก็ได้รับการยกย่องให้ฉลาดเท่ากับ
นิวตัน นั่นคือการแสดงให้เห็นว่าเขาคืออัจฉริยะคนหนึ่งของโลก
สมัยใหม่ช่วงหลัง
(คริสต์ศตวรรษที่ 18 จนสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2)
สมัยใหม่ช่วงหลัง (นับแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนสิ้นสุด
สงครามโลกครั้งที่ 2)
มีเหตุการณ์สาคัญ ได้แก่
1. การปฏิวัติอุตสาหกรรม
1.1 เป็นยุคที่เปลี่ยนวิธีการผลิตสินค้าจากใช ้แรงงานคนและสัตว์มาใช ้เครื่องจักร
1.2 ประเทศแรกที่บุกเบิกคืออังกฤษโดยอุตสาหกรรมแรก
ที่มีการปฏิวัติ คือ อุตสาหกรรม การทอผ้า
เครื่องจักรกลไอน้า ของ เจมส์วัตต์
2.การเกิดแนวความคิดทางการเมือง และเศรษฐกิจแบบใหม่
- การปกครองระบอบประชาธิปไตย มีนักปราชญ์ที่เสนอแนวคิด ดังนี้
• จอห์น ล๊อค ชาวอังกฤษกล่าวว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกันและ มีอิสระไม่มี ผู้ใดมี
สิทธิ์ที่จะใช ้อานาจในการคุกคามชีวิตเสรีภาพและทรัพย์สินของผู้อื่นได้
• มองเตสกิเออ ชาวฝรั่งเศส ได้เขียนหนังสือเรื่อง เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย ( The Spirit of
Laws ) เสนอความคิดการแบ่งแยกอานาจ คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ เขาเชื่อว่าหาก
แยกอานาจสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจะได้รับการคุ้มครอง แต่ถ้าอานาจทั้ง 3นี้รวมกัน
อยู่ในองค์การเดียวกัน อาจจะทาให้เกิดการกดขี่ประชาชน
• วอลแตร ์ชาวฝรั่งเศส เป็นนักคิดและมีผลงานด้านการเขียนมากมายให้ความสาคัญแก่
เสรีภาพในการพูดและการนับถือศาสนา ต่อต้าน ความอยุติธรรมในสังคม แต่ในด้านการเมือง
ไม่เคยแสดงความคิดเห็น อย่างชัดเจน จึงไม่มีทฤษฎีการเมืองที่แน่นอน
• รุสโซ ชาวฝรั่งเศส ผลงานหนังสือที่สาคัญคือ สัญญาประชาคม ( The Social Contract )
ข้อความที่จับใจคนเป็นจานวนมากคือ “มนุษย์ทุกคนเกิดมามีอิสระ แต่ทุกหนทุกแห่งเขาถูก
พันธนาการ” รุสโซ เน้นเรื่องเจตจานงร่วมกันของประชาชน( General Will ) เขาได้รับ
สมญาว่า “เจ้าทฤษฎีแห่งอานาจอธิปไตย”
- เศรษฐกิจแบบทุนนิยม สังคมนิยม พาณิชย์นิยม
สงครามโลกครั้งที่1
The World War 1
(ค.ศ.1914 -1918)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ.1914-1918 เป็นการแย่งชิงความเป็นใหญ่และ
แข่งขันในการแสวงหาผลประโยชน์ของชาติมหาอานาจในยุโรป จนมีการแบ่งมหาอานาจเป็นสองฝ่ าย
ซึ่งต่างแข่งขันในด้านการดาเนินนโยบายทางการทูตและทางการทหาร จนก่อให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1
สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ดังนี้
1. เป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามฟรังโก-ปรัสเซียที่เกิดขึ้นในระหว่างปี (ค.ศ. 1870-1871) ซึ่ง
ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายแพ้ มีผลทาให้เกิดการรวมประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศสต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม 5
พันล้านฟรังก์ต้องยกแคว้นอัลซัล-ลอเรนให้กับเยอรมนีและฝรั่งเศสต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยว 23 ปี จึงสร ้าง
ความโกรธแค้นให้กับฝรั่งเศส, ฝรั่งเศสต้องการแก้แค้นเยอรมนี
2. เกิดความรู้สึกชาตินิยม (Nationalism) พลังแห่งการรักชาติหรือความภูมิใจในชาติตนเอง
ทาให้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง โดยเฉพาะในคาบสมุทรบอลข่าน
- ขบวนการขยายอิทธิพลสลาฟ (Pan Slavism) ชาวสลาฟต้องการแยกตัวออกจากการ
ปกครองตุรกี
- ประชาชนในบอสเนียและเฮอร ์เซโกวีนาไม่ต้องการอยู่ใต้อานาจการปกครองของออสเตรีย-
ฮังการี
3. เกิดลัทธิจักรวรรดินิยมใหม่ (New Emperialism) อันเนื่องมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม
ทาให้เกิดการแสวงหาอาณานิคมภายนอกเพื่อหาแหล่งวัตุดิบและระบายสินค้า เป็นแหล่งยุทธศาสตร ์ทาง
การทหาร ทาให้เกิดการบาดหมางกันระหว่างประเทศคู่แข่งกัน
4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธทั้งบางบกและทางทะเล โดยต่างประเทศ
ต้องการพยายามสร ้างอาวุธให้ทัดเทียมชาติศตรู อันมาเนื่องจากความระแวง สงสัย หวาดกลัวซึ่งกันและ
กัน เช่น เยอรมนีแข่งขัดกันด้านอาวุธทางทะเล เยอรมนีแข่งขันกันขยายกาลังพลทางบกกับฝรั่งเศส
5. ก่อนเกิดสงคราม เกิดการแบ่งกลุ่มประเทศออกเป็น 2 กลุ่ม สมาชิกของแต่ละกลุ่มจะต้อง
ช่วยเหลือกันในยามที่เกิดวิกฤติการณ์ระหว่างประเทศ
- ไตรภาคี (Triple Alliance) ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลีฝ่าย
- ไตรพันธมิตร (Triple Entente) ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
สาเหตุปัจจุบันของการเกิด สงครามโลกครั้งที่ 1
ความไม่พอใจของประเทศเซอร ์เบีย (Serbia) ที่ประเทศออสเตรีย – ฮังการี ผนวกดินแดน
บอสเนีย – เฮอร ์เชโกวีนา (Bosnia – Herzegovena) ซึ่งมีประชาชนเป็นชาวสลาฟ (Slavs)
เช่นเดียวกับเซอร ์เบีย และเซอร ์เบียต้องการผนวกดินแดนดังกล่าวเจ้ากับเซอร ์เบีย
เพื่อเป็นการเอาใจประชาชนที่อาศัยอยู่ในบอสเนีย – เฮอร ์เชโกวีนา อาร ์ชดุ๊กฟรานซิส เฟอร ์
ดินาน (Archduke Francis Ferdinand) มกุฎราชกุมารแห่งอาณาจักรออสเตรีย-ฮังการี จึงเสด็จไป
เยือนซาราเจโว (Sarajevo) ซี่งเป็นเมืองหลวงของบอสเนีย – เฮอร ์เชโกวีนา ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ.
1919 แต่พระองศ์ถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักศึกาาชาวเซิร ์บ ชื่อ กาวริโล ปรินซิป (Gavrilo Princip)
ทาให้ออสเตรีย - ฮังการีตัดสินใจยื่นคาขาดต่อเซอร ์เบียให้ปฏิบัติตามข้อเรียกร ้องใน 24 ชั่วโมง แต่
เซอร ์เบียไม่อาจรับได้ ดังนั้นจึงทาให้ฝ่ายสนับสนุนทั้งสองข้างถูกเข้ามาทาสงครามต่อกัน
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1
1.ประเทศในยุโรปทั้งที่เป็ นฝ่ายผู้แพ้ (มหาอานาจกลาง) และฝ่ายชนะ (พันธมิตร) รวมถึงประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกต่าง
ได้รับผลกกระทบทางเศรษฐกิจซึ่งเป็ นผลมาจากสงคราม ระบบการเงินทั่วโลกกระทบกระเทือน
2. แยกฮังการี ออกจาก ออสเตรีย
3. ประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และตูรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบบสาธารณรัฐ
4.เกิดประเทศขึ้นใหม่เช่น ยูโกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย โปแลนด์ลัทเวีย ลิโทเนีย
5. มีทหารเสียชีวิตไปประมาน 8 ล้านคน บาดเจ็บประมาน 20 ล้านคน
6. มีการจัดตั้งองค์กรสันนิบาตชาติ (League Of Nations) เพื่อแก้ไขวิกฤติการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ
7. มีการจัดทาสนธิสัญญาสงบศึกเพื่อเป็ นการลงโทษแก่ประเทศผู้แพ้สงคราม โดยข้อกล่าวหาว่าเป็ นฝ่ายผู้ก่อ
สงคราม ผลของสัญญาเช่น ผู้แพ้ต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม เสียอานาจการปกครองตนเอง เสียอานาจ
ทางการค้า และต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล ซึ่งกลายมาเป็ นสาเหตุและชนวนที่จะนาไปสู่การ
เกิดของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน ค.ศ.1939-1945
สงครามโลกครั้งที่ 2
The World War 2
(ค.ศ. 1939 ถึง 1945)
สงครามโลกครั้งที่ 2 มีสาเหตุโดยทั่วไป คือ
1. ปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุตลง ทาให้เกิดการต่อสู้กันระหว่างลัทธิ
คอมมิวนิสต์กับลัทธิฟาสซิสต์
2. ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร ์ซายส์และสัญญาสันติภาพ ซึ่งทาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1
เยอรมันและชาติผู้แพ้สงคราม ถูกบังคับให้ลงนามในสัญญาที่ตนเสียเปรียบ เช่น การสูญเสียดินแดน
อาณานิคม และจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล จึงต้องการล้มเลิกเงื่อนไขข้อตกลงในสัญญา
3. การเติบโตของลัทธิทางทหาร หรือระบบเผด็จการ มีผู้นาหลายประเทศสร ้างความเข้มแข็งทางทหาร
และสะสมอาวุธร ้ายแรงต่างๆ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น เพื่อขยายอานาจทางการเมือง ขยายดินแดน
ขยายพื้นที่ทากินและอาศัย โดยใช ้กาลังเข้ายึดครองดินแดนต่างๆ และปกป้องผลประโยชน์ชาติตน
4. ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ การทาหน้าที่รักษาสันติภาพไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะ
สันนิบาตชาติไม่มีกองกาลังของตนเอง และไม่มีอานาจยับยั้งข้อพิพาทระหว่างประเทศได้
5. เป็นผลกระทบมาจากสภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก (The Great Depression) ในปี ค.ศ. 1929-
1931
สาเหตุปัจจุบัน
คือการที่เยอรมนีบุกโปแลนด์ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1939 จึงเกิดเหตุการณ์ลุกลามกลายเป็น
สงครามโลกไปในที่สุด โดยมีการแบ่งฝ่ายออกเป็น 2 ฝ่ายคือ
1. ฝ่ายอักษะ (Axis Powers) มี เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น
2. ฝ่ายสัมพันธมิตร (Alied Powers) มี อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และโซเวียตรัสเซีย เป็นต้น
สงครามในยุโรปยุติลงเมื่อเยอรมนียอมแพ้ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 ส่วนในเอเชียยุติลงเมื่อญี่ปุ่น
ถูกถล่มด้วยระเบิดปรมาณูและยอมแพ้อย่างทางการในวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1945
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
1. เกิดการเปลี่ยนแปลงดุลอานาจของโลก มหาอานาจยุโรปตะวันตกลดความสาคัญลง
เกิดประเทศมหาอานาจใหม่คือ
1.1 สหรัฐอเมริกา ผู้นาฝ่ายโลกเสรีประชาธิปไตย
1.2 โซเวียตรัสเซีย ผู้นาฝ่ายโลกคอมมิวนิสต์
2. การก่อตั้งองศ์การสหประชาชาติ
3. ประเทศที่ตกอาณาเขตนิคมมีการเรียกร ้องของเอกราช
ศิลปวัฒนธรรมยุโรปสมัยใหม่
สมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ( Renaissances ) เป็นช่วง
ที่ยุโรปนาศิลปกรรมสมัยกรีก-โรมัน กลับมาใช ้อีก
• ด้านประติมากรรม เน้นการแสดงสัดส่วนสรีระร่างกายมนุษย์
ผลงานสาคัญของ ไมเคิล แอนเจลโล ได้แก่
- รูปสลักเดวิด ( David ) แสดงสัดส่วนและกล้ามเนื้อที่
สมส่วนของร่างกาย
- รูปสลักลาปิเอตา ( La Pieta ) เป็นรูปสลักพระ
มารดา กาลังประคองพระเยซูในอ้อมพระหัตถ์ หลังจาก
ที่พระองค์สิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนแล้ว ผลงานแสดง
ให้เห็นถึงความนุ่มนวล อ่อนไหว
• ด้านจิตรกรรม เป็นงานแสดงถึงความนุ่มนวล ละเมียดละไมแฝง
ไว้ซึ่งอารมณ์ความรู้สึกของมนุษย์มีการใช ้สีและเงาให้เกิดแสง
สว่าง ศิลปินที่มีชื่อเสียง
รูปสลักเดวิด
วรรณกรรมที่เป็ นบทละครรับอิทธิพลของบท
ละครกรีก โดยนักประพันธ์ที่มีชื่อ เช่น
• วิลเลียม เชกสเปียร ์ได้แก่ โรมิโอและจูเลียต
, เวนิสวานิส , คิงเลียร ์, แมคเบท , ฝันคืน
กลางฤดูร ้อน ซึ่งบทละครเหล่านี้จะสะท้อนให้
เห็นถึงอารมณ์ อุปนิสัย และการตัดสินใจของ
มนุษย์ในภาวการณ์ต่างๆกัน
• เซอร ์ทอมัส มอร ์ได้แก่ ยูโทเปีย ที่กล่าวถึง
เมืองในอุดมคติที่ปราศจากความเลวร ้าย
รูปสลัก ลาปิเอตา La Pieta
ศิลปะแบบบารอค
• สถาปัตยกรรม ได้แก่ พระราชวังแวร ์ซายส์ของ
ฝรั่งเศส , แท่นบูชาในโบสถ์เซนต์ปีเตอร ์ในกรุงโรม
• ดนตรี เป็ นวงดนตรีแบบออร ์เคสตร ้า ( Orchestra )
โดยใช้ผู้เล่นและเครื่องดนตรีมากชิ้น
แท่นบูชาในโบสถ์เซนต์ปีเตอร ์
ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก
• สถาปัตยกรรม เน้นความสง่างาม สมดุลกลมกลืนได้สัดส่วน
• ประติมากรรม ลอกเลียนแบบประติมากรรมกรีก-โรมัน
• จิตรกรรม เน้นเรื่องเส้นมากกว่าการใช ้สี แสดงถึงความสง่างาม
และยิ่งใหญ่ในความเรียบง่าย เช่น ภาพการตายของมารา ( The
Death of Marat ) โดย ชาก หลุยส์เดวิด
• ดนตรี นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงคือ โมสาร ์ต ชาวออสเตรีย
The Death of Marat
ศิลปะแบบโรแมนติก ( Romanticism )
เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นศิลปะที่
ให้ความสาคัญกับอารมณ์ความรู้สึก และธรรมชาติ โดย
ลดความเชื่อในเรื่องเหตุและระเบียบแบบแผน รวมทั้งให้
ความสาคัญแก่มนุษย์ในฐานะเป็นปัจเจกบุคคลมากกว่า
ส่วนรวม รวมทั้งแฝงความรู้สึกชาตินิยมไว้ด้วย
ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเกิดศิลปะแบบโรแมน
ติก คือ การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจและ
สังคมในสมัยนั้น โดยเฉพาะความคิดแบบเสรี
ประชาธิปไตย ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่นาไปสู่การปฏิวัติใหญ่
ในฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 และการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน
ยุโรปส่งผลให้โลกทัศน์ของชาวยุโรปเปลี่ยนแปลงไป ต่าง
ผ่อนคลายการยึดมั่นในระเบียบกฎเกณฑ์ของสมัย
คลาสสิก ละทิ้งสมัยแห่งเหตุผล แต่กลับแสดงออกอย่าง
เสรีทางด้านอารมณ์ ความรู้สึกและความต้องการของตน
แม้จะไม่มีเหตุผลหรือไม่มีจริงก็ตาม
รูปปั้นนูนสูง มาเซเลส บนประตูชัยในกรุงปารีส
• สถาปัตยกรรม นารูปแบบในอดีตมาดัดแปลง โดยได้รับอิทธิพลจากแบบโกธิก
• ประติมากรรม เน้นการแสดงอารมณ์ความรู้สึก เช่น
รูปปั้นนูนสูง มาเซเลส ประดับฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย ในกรุงปารีส
รูปปั้นสัตว์มักเป็นรูปสัตว์ป่าสองตัวต่อสู้กัน
• จิตรกรรม ใช ้สี เส้น แรเงา รุนแรงมุ่งให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ เช่น
ภาพ “อิสรภาพนาประชาชน” ( Liberty Leading the People )
ภาพ “แพของเมดูซา” ( Raft of Medusa )
• ดนตรี มีจุดมุ่งหมายที่จะเร ้าความรู้สึกทางจิตใจ เช่นความรู้สึกชาตินิยม นัก
แต่งเพลงที่มีชื่อเสียงคือ เบโทเฟน ซึ่งแต่งเพลง “ซิมโฟนีหมายเลข 9” และ ปี
เตอร ์อิลยิช ไชคอฟสกี ซึ่งแต่งเพลง “ซิมโฟนีหมายเลข 6” เป็นเพลงประกอบ
บัลเลต์เรื่อง Swan Lake
ภาพ "อิสรภาพนาประชาชน"
ศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม
ความหมายของศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม
ศิลปะแบบสัจนิยม ( Realism) เป็นศิลปะที่สะท้อนความจริงที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างตรงไปตรงมา ไม่
เน้นความรู้สึก อารมณ์ และจินตนาการของศิลปิน แต่มุ่งเสนอความจริงตามหลักวิทยาศาสตร ์เช่น
สะท้อนสภาพความเป็นอยู่อย่างแร ้นแค้นของชนชั้นกรรมชีพ เป็นต้น
แนวทางของศิลปะแบบสัจนิยม มุ่งต่อต้านศิลปะแบบโรแมนติกที่มิได้ให้ความสาคัญต่อสภาพที่เป็น
จริงของสังคม เป็นกระบวนการทางศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ทาให้
งานสร ้างสรรค์ศิลปะมีประโยชน์และรับใช ้มนุษย์โดยตรงมากขึ้น
1. งานวรรณกรรม แนวสัจนิยมมีดังนี้
• ผลงานของชาร ์ลส์ ดิกแกนส์( Charles Dickens)
ชาวอังกฤษ ในเรื่อง "โอลิเวอร ์ทวิสต์" ( Oliver Twist) สะท้อนถึง
ชีวิตของเด็กในสังคมอุตสาหกรรม งานเขียนอื่นๆ เป็ นการ
วิพากษ์วิจารณ์ความเลวร ้ายของสังคมและความเอารัดเอาเปรียบ
ของนายทุน เป็ นต้น
• ลิโอ ตอลสตอย ( Leo Tolstoy) นักเขียนชาวรัสเซีย
ผลงานที่ยิ่งใหญ่ คือ "สงครามและสันติภาพ" ( War and Peace)
• งานเขียนประเภทสัจสังคม ( Social Realism) เป็ นงาน
วรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลของลัทธิมาร ์กซ ์มุ่งสะท้อนปัญหาสังคม
การต่อสู้ทางชนชั้นระหว่างนายทุนกับกรรมกร ชี้นาถึงสาเหตุของ
ปัญหาและแนวทางแก้ไขตามวิธีของมาร ์กซิสม์ นวนิยายที่มีชื่อเสียง
มากที่สุดในแนวนี้ คือ "แม่" ( Mother) ผลงานของแมกซิม กอร ์กี
(Maxim Gorky) นักเขียนชาวรัสเซีย
• ศิลปะนาฎกรรม การละครแบบสัจนิยมมุ่งสะท้อนสภาพ
สังคมตามความเป็ นจริง เน้นให้ผู้แสดงเล่นอย่างสมจริงตามธรรมชาติ
ไม่แสดงอารมณ์มากนัก เศร ้าอย่างรุนแรงแบบโรแมนติก เป็ นละคร
แบบร ้อยแก้ว ตัวละครใช ้บทเจรจาด้วยภาษาที่สมจริงตามฐานะของ
ตัวละคร ไม่ใช่ภาษากวีร ้อยกรองเหมือนแต่ก่อน
นวนิยายเรื่อง “แม่” เขียนโดย “แมกซิม กอร ์กี้”
2. ด้านจิตรกรรม จิตกรแนวสัจนิยมไม่นิยมเขียนภาพ
ด้วยจินตนาการเหมือนอย่างพวกโรแมนติก แต่จะเขียนภาพจาก
สิ่งที่พบเห็น เช่น ภาพชีวิตของคนยากจนในเมืองใหญ่ การใช ้
ชีวิตหรูหราของชนชาติกลาง ต่อมาภาพวาดมีลักษณะให้
ความสาคัญกับแสง สี และเงามากกว่าเส้น นิยมวาดทิวทัศน์ตาม
ธรรมชาติ เรียกว่า “ศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์”
บรรณานุกรม
เว็ปไซต์http://www.ksv.ac.th/tb/cai/social/west_modern_data.htm สืบค้นเมื่อวันที่
12/9/2560 เวลา 19.54 น. ไม่ปรากฎชื่อผู้เขียน/ผู้แต่ง
เว็บไซต์https://www.gotoknow.org/posts/587590 สืบค้นเมื่อวันที่ 12/9/2560 เวลา 20.31 น.
เรียบเรียงโดย นายวาทิน ศานติ์สันติ
เว็ปไซต์https://www.gotoknow.org/posts/247778 สืบค้นเมื่อวันที่ 12/9/2560 เวลา 20.55 น.
เรียงเรียงโดยนายวาทิน ศานติ์สันติ

More Related Content

What's hot

การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious ReformationWarinthorn Limpanakorn
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1Omm Suwannavisut
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาsupppad
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกJuno Nuttatida
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 

What's hot (20)

การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformationการปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
การปฏิรูปศาสนา Religious Reformation
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง ม.6.1
 
สงครามครูเสด
สงครามครูเสดสงครามครูเสด
สงครามครูเสด
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
Unit5 เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 21
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

Similar to ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์

ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปrawi05022544
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่Phudittt
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองNatthachai Nimnual
 
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์rawi05022544
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันM.L. Kamalasana
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปKittayaporn Changpan
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757CUPress
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลSom Kamonwan
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003AlittleDordream Topten
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 

Similar to ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ (15)

ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรปประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
ประวัติศาสตร์สากล เรื่อง ประวัติศาสตร์ยุโรป
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit3 เหตุการณ์สำคัญในสมัยกลางถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
 
บทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdfบทที่ 1.pdf
บทที่ 1.pdf
 
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ  ไชยศิลป์
ประวัติศาสตร์ยุโรป ยุคกลาง เสนอ คุณครูเตือนใจ ไชยศิลป์
 
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบันการสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
การสงครามของไทยยุคปัจจุบัน
 
พัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรปพัฒนาการยุโรป
พัฒนาการยุโรป
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757
 
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
ยุคปัจจุบัน(อัพเดท2557)
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 

ประวัติศาสตร์ตะวันตกสมัยใหม่ เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์

  • 1. ประวัติศาสตร ์ตะวันตกสมัยใหม่ จัดทาโดย นายภูดิส ดัชนี เลขที่ 9 นายปลื้ม ร่วมขุน เลขที่ 33 นายญาณกวี เคว็จดา เลขที่ 38 นายณัฐพล กันทา เลขที่ 44 นายมนัส สุวรรณเจริญ เลขที่ 46 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5.1 เสนอ ครูเตือนใจ ไชยศิลป์ โรงเรียนสามัคคีวิทยาคม ภาคเรียนที่ 1/2560
  • 2. ประวัติศาสตร ์ตะวันตกสมัยใหม่ เริ่มตั้งแต่ปีที่คริสโตเฟอร ์โคลัมบัส ( Christopher Columbus ) ค้นพบโลกใหม่หรือทวีป อเมริกา และสิ้นสุดลงในปีที่สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ยุโรปสมัยใหม่ เป็นสมัยแห่งการฟื้นฟูอารยธรรม กรีก-โรมัน และมีการพัฒนาทางด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ศิลปะวิทยาการ เป็นยุคที่มี อารยธรรมเจริญรุ่งเรืองอย่างมาก และแพร่ไปยังดินแดนต่างๆ
  • 3. • สมัยใหม่ช่วงแรก • สมัยใหม่ช่วงหลัง • ศิลปวัฒนธรรมยุโรปยุคใหม่ โดยแบ่งเป็น 3 หัวข้อหลักๆ ดังนี้
  • 4. สมัยใหม่ช่วงแรก (คริสต์ศตวรรษที่ 15-18) 1.การฟื้นฟูศิลปวิทยาการของกรีกและโรมัน ( Renaissances ) นาความรู้วิธีคิด ใช ้ ปัญญาและเหตุผลตามแบบอย่างนักปราชญ์ชาวกรีก ให้ความสาคัญกับคุณค่าความเป็น มนุษย์หรือเป็นลักษณะยุคมนุษย์นิยม 2.การปฏิรูปศาสนา เกิดการแบ่งแยกศาสนจักรเป็น 2 นิกายใหญ่ๆ คือ 2.1.นิกายโรมันคาทอริก มีศูนย์กลางที่กรุงโรม มีพระสันตะปาปา ( Pope ) เป็นประมุข 2.2.นิกายโปรแตสแตนท์แบ่งเป็นนิกายย่อยๆอีกหลายนิกาย นับถือในประเทศต่างๆ เช่น นิกายอังกฤษ ( Church of England ) และนิกายลูเธอร ์( Lutheranism ) ในเยอรมนี
  • 5. 3.การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก 3.1.ยุโรปเข้าสู่ยุคการสารวจเส้นทางเดินเรือ ยุคกลาง มีการค้าระหว่างยุโรปกับเอเชีย ผ่านทางทะเลเมดิเตอร ์เรเนี่ยนและตะวันออกกลาง โดยอิตาลีได้เปรียบประเทศอื่น สามารถควบคุมเส้นทางการค้าเกือบทั้งหมด ทาให้อังกฤษ ฝรั่งเศส โปรตุเกส สเปน ฮอลันดา พยายามทาลายการผูกขาดนี้ ประจวบกับชาวยุโรปส่วน หนึ่ง เบื่อชีวิตที่อยู่ภายใต้อิทธิพลมืดของสันตะปาปา จึงคิดอพยพไปตายเอาดาบหน้าเพื่อ อิสระในการนับถือศาสนา เป็นเหตุหนึ่งในการออกสารวจแสวงหาเส้นทางการเดินเรือใหม่ และ เส้นทางการค้าทางบกของชาวยุโรปกับตะวันออก ตกอยู่ในมือของพ่อค้าชาวมุสลิม ทาให้ ชาวยุโรปต้องการหาเส้นทางการค้าใหม่ก็คือ ค้าขายทางทะเลเท่านั้น การติดต่อของชาวยุโรป และโลกตะวันออกจากการค้า ทาให้ชาวยุโรปมีโอกาสสัมผัสกับอารยธรรมของโลกตะวันออก วิชาความรู้ต่างๆ ของกรีกและมุสลิม หลั่งไหลมาสู่สังคมตะวันตก ทาให้ปัญญาชนเริ่ม ทบทวนและตรวจสอบความรู้ของตน ตลอดจนเกิดการท้าทายคาสอนศาสนาที่มีอิทธิพลต่อ การศึกษาในสมัยกลางถึงเรื่องโลกแบน ความรู้ทางภูมิศาสตร ์และแผนที่ของปโตเลมี (Ptolemy) นักดาราศาสตร ์และนักคณิตศาสตร ์ชาวกรีก ที่แสดงให้เห็นดินแดนที่กว้างใหญ่ ความต้องการสารวจเส้นทาง โดยเฉพาะทางเรือ จึงเพิ่มขึ้น
  • 6. 3.2.การค้นพบดินแดนทางตะวันออกของชาติตะวันตก -บาร ์โธโลมิว ไดแอส ชาวโปรตุเกสสามารถเดินเรือเลียบทวีปแอฟริกาจนเข้าแหลม กู๊ดโฮม ได้ สาเร็จใน ค.ศ.1488 -วาสโก ดา กามา ใช ้เส้นทางของไดแอส จนถึงเอเชีย และสามารถขึ้นฝั่งที่เมืองคาลิกัต ของ อินเดียและสามารถซื้อเครื่องเทศโดยตรงจากอินเดีย นากลับไปขายในยุโรปได้กาไรมากมาย -คริสโตเฟอร ์โคลัมบัส ชาวอิตาลีรับใช้กษัตริย์สเปนในการสารวจเส้นทางเดินเรือไปประเทศจีน เป็นผู้ค้นพบทวีปอเมริกา และเป็นผู้เชื่อว่าโลกมีสัณฐานกลม ไม่แบนตามคาสอนของคริสต์ศาสนา ในสมัยกลาง -เฟอร ์ดินานด์มาเจลแลน ชาวโปรตุเกส รับอาสากษัตริย์สเปน หาเส้นทางเดินเรือมายังตะวันออก จนสามารถเข้าฟิลิปปินส์แต่เขาถูกชาวพื้นเมืองฆ่าตาย แต่ลูกเรือสามารถนาเรือกลับมาสเปนได้ ยุคนี้ได้ชื่อว่ายุคแห่งการค้นพบ ( Age of Discovery ) การค้นพบดินแดนต่างๆทาให้ ฮอลันดา อังกฤษ และต่อมาฝรั่งเศส เข้ามาสร ้างอิทธิพลครอบครองดินแดนทางตะวันออก และทา ให้เกิด ลัทธิจักรวรรดินิยม
  • 7. 4. การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร ์ ปัญญาชนชาวตะวันตกให้ความสนใจศึกษาค้นคว้าจนเกิดความรู้และความเจริญก้าวหน้าใน ศาสตร ์แขนงต่างๆ โดยเฉพาะวิทยาศาสตร ์ดาราศาสตร ์และคณิตศาสตร ์และจากการประดิษฐ ์แท่น พิมพ์ของ โยฮัน กูเตนเบอร ์ก ชาวเยอรมัน ทาให้วิทยาการความรู้แพร่หลายอย่างรวดเร็ว ปัจจัยที่สนับสนุนให้เกิดการปฏิวัติวิทยาศาสตร ์เกิดจากแนวความคิดที่สาคัญ 2 ประการ คือ 1. แนวคิดมนุษยนิยม ( Humanism ) ซึ่งได้รับมาจากหลักปรัชญาของชาว กรีกโดยสอนให้ มนุษย์มีความเชื่อมั่นในความสามารถของมนุษย์สติปัญญาของมนุษย์สามารถนามนุษย์ไปสู่การ ค้นหาความจริงของสรรพสิ่งต่างๆ ในโลก 2. แนวคิดในปรัชญาธรรมชาตินิยม ( Naturalism ) สอนให้เชื่อว่าสิ่งต่างๆ ล้วนดาเนินไปตาม กฎเกณฑ์ธรรมชาติ ธรรมชาติที่อยู่รอบๆตัวมนุษย์นั้นมีอิทธิพลต่อชีวิตความเป็นอยู่ของมนุษย์จึงเริ่ม ศึกษาค้นคว้าและทดลอง จนเกิดองค์ความรู้ใหม่เรียกว่าเป็น ยุคแห่งภูมิธรรม หรือ ยุคแห่งการรู้แจ้ง (The Enlightenment)
  • 9. นิโคลัส โคเปอร ์นิคัส ค้นพบทฤษฎีระบบสุริยจักรวาล ที่ มีสาระสาคัญคือ ดวงอาทิตย์เป็ นศูนย์กลาง ของจักรวาลโดยมีโลกและดาวเคราะห์ดวง อื่นๆ โคจรโดยรอบ ซึ่งขัดแย้งกับหลัก ความเชื่อของคริสตจักรอย่างมาก ที่เชื่อว่า โลกเป็ นศูนย์กลางของจักรวาล ความคิด ของโคเปอร ์นิคัส เป็ นจุดเริ่มต้นของการ ปฏิวัติทางวิทยาศาสตร ์
  • 10. กาลิเลโอ กาลิเลอี เป็ นนักวิทยาศาสตร ์คณิตศาสตร ์และ ดาราศาสตร ์ที่มีชื่อเสียงมากที่สุดคนหนึ่งของโลก โดยเฉพาะผลงานด้านดาราศาสตร ์เป็ นผลงานที่มี ชื่อเสียงมากที่สุด การทดลองและการค้นพบของ เขามีประโยชน์มากมายหลายด้าน โดยเฉพาะ ทางด้านดาราศาสตร ์เช่น พบจุดดับบนดวงอาทิตย์ พบบริวารของดาวพฤหัสบดี เป็ นต้น การพบ ลักษณะการแกว่งของวัตถุซึ่งต่อมาได้พัฒนาเป็น เครื่องจับเวลา และนาฬิกาลูกตุ้ม อีกทั้งการที่เขา สามารถพัฒนาสร ้างกล้องโทรทรรศน์ให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น ทาให้วิชาการด้านดารา ศาสตร ์มีความเจริญก้าวหน้า อีกทั้งเขายังเป็ น บุคคลที่มีความกล้าหาญอย่างมากในการเสนอ แนวความคิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับทฤษฎีดั้งเดิมที่ผิดของ อาริสโตเติล
  • 11. เซอร ์ไอแซก นิวตัน ผลงาน ▪ ตั้งกฎแรงดึงดูดของโลก ▪ ตั้งกฎเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ ▪ ตั้งทฤษฎีแคลคูลัส (Calculus) ▪ ประดิษฐ ์กล้องโทรทรรศน์ชนิดหักเหแสง ▪ ค้นพบสมบัติของแสงที่ว่า แสงสีขาวประกอบขึ้นจากแสงสีรุ ้ง ในบรรดานักวิทยาศาสตร ์ทั้งหมดที่กล่าวมาแล้วและ จะกล่าวต่อไป นิวตันเป็ นนักวิทยาศาสตร ์ที่ได้รับการยกย่องว่า เป็ นอัจฉริยะคนหนึ่งเลยทีเดียว แม้แต่นักวิทยาศาสตร ์ผู้มี ความสามารถอย่างไอน์สไตน์ก็ได้รับการยกย่องให้ฉลาดเท่ากับ นิวตัน นั่นคือการแสดงให้เห็นว่าเขาคืออัจฉริยะคนหนึ่งของโลก
  • 13. สมัยใหม่ช่วงหลัง (นับแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 18 จนสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่ 2) มีเหตุการณ์สาคัญ ได้แก่ 1. การปฏิวัติอุตสาหกรรม 1.1 เป็นยุคที่เปลี่ยนวิธีการผลิตสินค้าจากใช ้แรงงานคนและสัตว์มาใช ้เครื่องจักร 1.2 ประเทศแรกที่บุกเบิกคืออังกฤษโดยอุตสาหกรรมแรก ที่มีการปฏิวัติ คือ อุตสาหกรรม การทอผ้า เครื่องจักรกลไอน้า ของ เจมส์วัตต์
  • 14. 2.การเกิดแนวความคิดทางการเมือง และเศรษฐกิจแบบใหม่ - การปกครองระบอบประชาธิปไตย มีนักปราชญ์ที่เสนอแนวคิด ดังนี้ • จอห์น ล๊อค ชาวอังกฤษกล่าวว่า มนุษย์ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกันและ มีอิสระไม่มี ผู้ใดมี สิทธิ์ที่จะใช ้อานาจในการคุกคามชีวิตเสรีภาพและทรัพย์สินของผู้อื่นได้ • มองเตสกิเออ ชาวฝรั่งเศส ได้เขียนหนังสือเรื่อง เจตนารมณ์แห่งกฎหมาย ( The Spirit of Laws ) เสนอความคิดการแบ่งแยกอานาจ คือ นิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ เขาเชื่อว่าหาก แยกอานาจสิทธิและเสรีภาพของประชาชนจะได้รับการคุ้มครอง แต่ถ้าอานาจทั้ง 3นี้รวมกัน อยู่ในองค์การเดียวกัน อาจจะทาให้เกิดการกดขี่ประชาชน • วอลแตร ์ชาวฝรั่งเศส เป็นนักคิดและมีผลงานด้านการเขียนมากมายให้ความสาคัญแก่ เสรีภาพในการพูดและการนับถือศาสนา ต่อต้าน ความอยุติธรรมในสังคม แต่ในด้านการเมือง ไม่เคยแสดงความคิดเห็น อย่างชัดเจน จึงไม่มีทฤษฎีการเมืองที่แน่นอน • รุสโซ ชาวฝรั่งเศส ผลงานหนังสือที่สาคัญคือ สัญญาประชาคม ( The Social Contract ) ข้อความที่จับใจคนเป็นจานวนมากคือ “มนุษย์ทุกคนเกิดมามีอิสระ แต่ทุกหนทุกแห่งเขาถูก พันธนาการ” รุสโซ เน้นเรื่องเจตจานงร่วมกันของประชาชน( General Will ) เขาได้รับ สมญาว่า “เจ้าทฤษฎีแห่งอานาจอธิปไตย” - เศรษฐกิจแบบทุนนิยม สังคมนิยม พาณิชย์นิยม
  • 16. สงครามโลกครั้งที่หนึ่งเกิดขึ้นระหว่างปี ค.ศ.1914-1918 เป็นการแย่งชิงความเป็นใหญ่และ แข่งขันในการแสวงหาผลประโยชน์ของชาติมหาอานาจในยุโรป จนมีการแบ่งมหาอานาจเป็นสองฝ่ าย ซึ่งต่างแข่งขันในด้านการดาเนินนโยบายทางการทูตและทางการทหาร จนก่อให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 สาเหตุของสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้ดังนี้ 1. เป็นผลสืบเนื่องมาจากสงครามฟรังโก-ปรัสเซียที่เกิดขึ้นในระหว่างปี (ค.ศ. 1870-1871) ซึ่ง ฝรั่งเศสเป็นฝ่ายแพ้ มีผลทาให้เกิดการรวมประเทศเยอรมนี ฝรั่งเศสต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงคราม 5 พันล้านฟรังก์ต้องยกแคว้นอัลซัล-ลอเรนให้กับเยอรมนีและฝรั่งเศสต้องอยู่อย่างโดดเดี่ยว 23 ปี จึงสร ้าง ความโกรธแค้นให้กับฝรั่งเศส, ฝรั่งเศสต้องการแก้แค้นเยอรมนี 2. เกิดความรู้สึกชาตินิยม (Nationalism) พลังแห่งการรักชาติหรือความภูมิใจในชาติตนเอง ทาให้เกิดวิกฤตการณ์ทางการเมือง โดยเฉพาะในคาบสมุทรบอลข่าน - ขบวนการขยายอิทธิพลสลาฟ (Pan Slavism) ชาวสลาฟต้องการแยกตัวออกจากการ ปกครองตุรกี - ประชาชนในบอสเนียและเฮอร ์เซโกวีนาไม่ต้องการอยู่ใต้อานาจการปกครองของออสเตรีย- ฮังการี
  • 17. 3. เกิดลัทธิจักรวรรดินิยมใหม่ (New Emperialism) อันเนื่องมาจากการปฏิวัติอุตสาหกรรม ทาให้เกิดการแสวงหาอาณานิคมภายนอกเพื่อหาแหล่งวัตุดิบและระบายสินค้า เป็นแหล่งยุทธศาสตร ์ทาง การทหาร ทาให้เกิดการบาดหมางกันระหว่างประเทศคู่แข่งกัน 4. ความขัดแย้งทางการทหาร และการสะสมอาวุธทั้งบางบกและทางทะเล โดยต่างประเทศ ต้องการพยายามสร ้างอาวุธให้ทัดเทียมชาติศตรู อันมาเนื่องจากความระแวง สงสัย หวาดกลัวซึ่งกันและ กัน เช่น เยอรมนีแข่งขัดกันด้านอาวุธทางทะเล เยอรมนีแข่งขันกันขยายกาลังพลทางบกกับฝรั่งเศส 5. ก่อนเกิดสงคราม เกิดการแบ่งกลุ่มประเทศออกเป็น 2 กลุ่ม สมาชิกของแต่ละกลุ่มจะต้อง ช่วยเหลือกันในยามที่เกิดวิกฤติการณ์ระหว่างประเทศ - ไตรภาคี (Triple Alliance) ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลีฝ่าย - ไตรพันธมิตร (Triple Entente) ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
  • 18. สาเหตุปัจจุบันของการเกิด สงครามโลกครั้งที่ 1 ความไม่พอใจของประเทศเซอร ์เบีย (Serbia) ที่ประเทศออสเตรีย – ฮังการี ผนวกดินแดน บอสเนีย – เฮอร ์เชโกวีนา (Bosnia – Herzegovena) ซึ่งมีประชาชนเป็นชาวสลาฟ (Slavs) เช่นเดียวกับเซอร ์เบีย และเซอร ์เบียต้องการผนวกดินแดนดังกล่าวเจ้ากับเซอร ์เบีย เพื่อเป็นการเอาใจประชาชนที่อาศัยอยู่ในบอสเนีย – เฮอร ์เชโกวีนา อาร ์ชดุ๊กฟรานซิส เฟอร ์ ดินาน (Archduke Francis Ferdinand) มกุฎราชกุมารแห่งอาณาจักรออสเตรีย-ฮังการี จึงเสด็จไป เยือนซาราเจโว (Sarajevo) ซี่งเป็นเมืองหลวงของบอสเนีย – เฮอร ์เชโกวีนา ในวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1919 แต่พระองศ์ถูกลอบปลงพระชนม์โดยนักศึกาาชาวเซิร ์บ ชื่อ กาวริโล ปรินซิป (Gavrilo Princip) ทาให้ออสเตรีย - ฮังการีตัดสินใจยื่นคาขาดต่อเซอร ์เบียให้ปฏิบัติตามข้อเรียกร ้องใน 24 ชั่วโมง แต่ เซอร ์เบียไม่อาจรับได้ ดังนั้นจึงทาให้ฝ่ายสนับสนุนทั้งสองข้างถูกเข้ามาทาสงครามต่อกัน
  • 19. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 1.ประเทศในยุโรปทั้งที่เป็ นฝ่ายผู้แพ้ (มหาอานาจกลาง) และฝ่ายชนะ (พันธมิตร) รวมถึงประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกต่าง ได้รับผลกกระทบทางเศรษฐกิจซึ่งเป็ นผลมาจากสงคราม ระบบการเงินทั่วโลกกระทบกระเทือน 2. แยกฮังการี ออกจาก ออสเตรีย 3. ประเทศเยอรมนี ออสเตรีย และตูรกี เปลี่ยนแปลงการปกครองไปสู่ระบบสาธารณรัฐ 4.เกิดประเทศขึ้นใหม่เช่น ยูโกสลาเวีย เชคโกสโลวาเกีย โปแลนด์ลัทเวีย ลิโทเนีย 5. มีทหารเสียชีวิตไปประมาน 8 ล้านคน บาดเจ็บประมาน 20 ล้านคน 6. มีการจัดตั้งองค์กรสันนิบาตชาติ (League Of Nations) เพื่อแก้ไขวิกฤติการณ์ทางการเมืองระหว่างประเทศ 7. มีการจัดทาสนธิสัญญาสงบศึกเพื่อเป็ นการลงโทษแก่ประเทศผู้แพ้สงคราม โดยข้อกล่าวหาว่าเป็ นฝ่ายผู้ก่อ สงคราม ผลของสัญญาเช่น ผู้แพ้ต้องเสียดินแดน เสียอาณานิคม เสียอานาจการปกครองตนเอง เสียอานาจ ทางการค้า และต้องจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล ซึ่งกลายมาเป็ นสาเหตุและชนวนที่จะนาไปสู่การ เกิดของสงครามโลกครั้งที่ 2 ใน ค.ศ.1939-1945
  • 21. สงครามโลกครั้งที่ 2 มีสาเหตุโดยทั่วไป คือ 1. ปัญหาทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 ยุตลง ทาให้เกิดการต่อสู้กันระหว่างลัทธิ คอมมิวนิสต์กับลัทธิฟาสซิสต์ 2. ความไม่เป็นธรรมของสนธิสัญญาแวร ์ซายส์และสัญญาสันติภาพ ซึ่งทาภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 เยอรมันและชาติผู้แพ้สงคราม ถูกบังคับให้ลงนามในสัญญาที่ตนเสียเปรียบ เช่น การสูญเสียดินแดน อาณานิคม และจ่ายค่าปฏิกรรมสงครามจานวนมหาศาล จึงต้องการล้มเลิกเงื่อนไขข้อตกลงในสัญญา 3. การเติบโตของลัทธิทางทหาร หรือระบบเผด็จการ มีผู้นาหลายประเทศสร ้างความเข้มแข็งทางทหาร และสะสมอาวุธร ้ายแรงต่างๆ ได้แก่ เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น เพื่อขยายอานาจทางการเมือง ขยายดินแดน ขยายพื้นที่ทากินและอาศัย โดยใช ้กาลังเข้ายึดครองดินแดนต่างๆ และปกป้องผลประโยชน์ชาติตน 4. ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ การทาหน้าที่รักษาสันติภาพไม่ประสบผลสาเร็จ เพราะ สันนิบาตชาติไม่มีกองกาลังของตนเอง และไม่มีอานาจยับยั้งข้อพิพาทระหว่างประเทศได้ 5. เป็นผลกระทบมาจากสภาวะเศรษฐกิจตกต่าทั่วโลก (The Great Depression) ในปี ค.ศ. 1929- 1931
  • 22. สาเหตุปัจจุบัน คือการที่เยอรมนีบุกโปแลนด์ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1939 จึงเกิดเหตุการณ์ลุกลามกลายเป็น สงครามโลกไปในที่สุด โดยมีการแบ่งฝ่ายออกเป็น 2 ฝ่ายคือ 1. ฝ่ายอักษะ (Axis Powers) มี เยอรมนี อิตาลี และญี่ปุ่น 2. ฝ่ายสัมพันธมิตร (Alied Powers) มี อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และโซเวียตรัสเซีย เป็นต้น สงครามในยุโรปยุติลงเมื่อเยอรมนียอมแพ้ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945 ส่วนในเอเชียยุติลงเมื่อญี่ปุ่น ถูกถล่มด้วยระเบิดปรมาณูและยอมแพ้อย่างทางการในวันที่ 2 กันยายน ค.ศ. 1945
  • 23. ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2 1. เกิดการเปลี่ยนแปลงดุลอานาจของโลก มหาอานาจยุโรปตะวันตกลดความสาคัญลง เกิดประเทศมหาอานาจใหม่คือ 1.1 สหรัฐอเมริกา ผู้นาฝ่ายโลกเสรีประชาธิปไตย 1.2 โซเวียตรัสเซีย ผู้นาฝ่ายโลกคอมมิวนิสต์ 2. การก่อตั้งองศ์การสหประชาชาติ 3. ประเทศที่ตกอาณาเขตนิคมมีการเรียกร ้องของเอกราช
  • 25. สมัยฟื้นฟูศิลปะวิทยาการ ( Renaissances ) เป็นช่วง ที่ยุโรปนาศิลปกรรมสมัยกรีก-โรมัน กลับมาใช ้อีก • ด้านประติมากรรม เน้นการแสดงสัดส่วนสรีระร่างกายมนุษย์ ผลงานสาคัญของ ไมเคิล แอนเจลโล ได้แก่ - รูปสลักเดวิด ( David ) แสดงสัดส่วนและกล้ามเนื้อที่ สมส่วนของร่างกาย - รูปสลักลาปิเอตา ( La Pieta ) เป็นรูปสลักพระ มารดา กาลังประคองพระเยซูในอ้อมพระหัตถ์ หลังจาก ที่พระองค์สิ้นพระชนม์บนไม้กางเขนแล้ว ผลงานแสดง ให้เห็นถึงความนุ่มนวล อ่อนไหว • ด้านจิตรกรรม เป็นงานแสดงถึงความนุ่มนวล ละเมียดละไมแฝง ไว้ซึ่งอารมณ์ความรู้สึกของมนุษย์มีการใช ้สีและเงาให้เกิดแสง สว่าง ศิลปินที่มีชื่อเสียง รูปสลักเดวิด
  • 26. วรรณกรรมที่เป็ นบทละครรับอิทธิพลของบท ละครกรีก โดยนักประพันธ์ที่มีชื่อ เช่น • วิลเลียม เชกสเปียร ์ได้แก่ โรมิโอและจูเลียต , เวนิสวานิส , คิงเลียร ์, แมคเบท , ฝันคืน กลางฤดูร ้อน ซึ่งบทละครเหล่านี้จะสะท้อนให้ เห็นถึงอารมณ์ อุปนิสัย และการตัดสินใจของ มนุษย์ในภาวการณ์ต่างๆกัน • เซอร ์ทอมัส มอร ์ได้แก่ ยูโทเปีย ที่กล่าวถึง เมืองในอุดมคติที่ปราศจากความเลวร ้าย รูปสลัก ลาปิเอตา La Pieta
  • 27. ศิลปะแบบบารอค • สถาปัตยกรรม ได้แก่ พระราชวังแวร ์ซายส์ของ ฝรั่งเศส , แท่นบูชาในโบสถ์เซนต์ปีเตอร ์ในกรุงโรม • ดนตรี เป็ นวงดนตรีแบบออร ์เคสตร ้า ( Orchestra ) โดยใช้ผู้เล่นและเครื่องดนตรีมากชิ้น แท่นบูชาในโบสถ์เซนต์ปีเตอร ์
  • 28. ศิลปะแบบนีโอคลาสสิก • สถาปัตยกรรม เน้นความสง่างาม สมดุลกลมกลืนได้สัดส่วน • ประติมากรรม ลอกเลียนแบบประติมากรรมกรีก-โรมัน • จิตรกรรม เน้นเรื่องเส้นมากกว่าการใช ้สี แสดงถึงความสง่างาม และยิ่งใหญ่ในความเรียบง่าย เช่น ภาพการตายของมารา ( The Death of Marat ) โดย ชาก หลุยส์เดวิด • ดนตรี นักประพันธ์เพลงที่มีชื่อเสียงคือ โมสาร ์ต ชาวออสเตรีย The Death of Marat
  • 30. เกิดขึ้นตั้งแต่ตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 เป็นศิลปะที่ ให้ความสาคัญกับอารมณ์ความรู้สึก และธรรมชาติ โดย ลดความเชื่อในเรื่องเหตุและระเบียบแบบแผน รวมทั้งให้ ความสาคัญแก่มนุษย์ในฐานะเป็นปัจเจกบุคคลมากกว่า ส่วนรวม รวมทั้งแฝงความรู้สึกชาตินิยมไว้ด้วย ปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเกิดศิลปะแบบโรแมน ติก คือ การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง เศรษฐกิจและ สังคมในสมัยนั้น โดยเฉพาะความคิดแบบเสรี ประชาธิปไตย ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งที่นาไปสู่การปฏิวัติใหญ่ ในฝรั่งเศส ค.ศ. 1789 และการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน ยุโรปส่งผลให้โลกทัศน์ของชาวยุโรปเปลี่ยนแปลงไป ต่าง ผ่อนคลายการยึดมั่นในระเบียบกฎเกณฑ์ของสมัย คลาสสิก ละทิ้งสมัยแห่งเหตุผล แต่กลับแสดงออกอย่าง เสรีทางด้านอารมณ์ ความรู้สึกและความต้องการของตน แม้จะไม่มีเหตุผลหรือไม่มีจริงก็ตาม รูปปั้นนูนสูง มาเซเลส บนประตูชัยในกรุงปารีส
  • 31. • สถาปัตยกรรม นารูปแบบในอดีตมาดัดแปลง โดยได้รับอิทธิพลจากแบบโกธิก • ประติมากรรม เน้นการแสดงอารมณ์ความรู้สึก เช่น รูปปั้นนูนสูง มาเซเลส ประดับฐานอนุสาวรีย์ประตูชัย ในกรุงปารีส รูปปั้นสัตว์มักเป็นรูปสัตว์ป่าสองตัวต่อสู้กัน • จิตรกรรม ใช ้สี เส้น แรเงา รุนแรงมุ่งให้เกิดความสะเทือนอารมณ์ เช่น ภาพ “อิสรภาพนาประชาชน” ( Liberty Leading the People ) ภาพ “แพของเมดูซา” ( Raft of Medusa ) • ดนตรี มีจุดมุ่งหมายที่จะเร ้าความรู้สึกทางจิตใจ เช่นความรู้สึกชาตินิยม นัก แต่งเพลงที่มีชื่อเสียงคือ เบโทเฟน ซึ่งแต่งเพลง “ซิมโฟนีหมายเลข 9” และ ปี เตอร ์อิลยิช ไชคอฟสกี ซึ่งแต่งเพลง “ซิมโฟนีหมายเลข 6” เป็นเพลงประกอบ บัลเลต์เรื่อง Swan Lake ภาพ "อิสรภาพนาประชาชน"
  • 32. ศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม ความหมายของศิลปวัฒนธรรมแบบสัจนิยม ศิลปะแบบสัจนิยม ( Realism) เป็นศิลปะที่สะท้อนความจริงที่เกิดขึ้นในสังคมอย่างตรงไปตรงมา ไม่ เน้นความรู้สึก อารมณ์ และจินตนาการของศิลปิน แต่มุ่งเสนอความจริงตามหลักวิทยาศาสตร ์เช่น สะท้อนสภาพความเป็นอยู่อย่างแร ้นแค้นของชนชั้นกรรมชีพ เป็นต้น แนวทางของศิลปะแบบสัจนิยม มุ่งต่อต้านศิลปะแบบโรแมนติกที่มิได้ให้ความสาคัญต่อสภาพที่เป็น จริงของสังคม เป็นกระบวนการทางศิลปะที่เกิดขึ้นในช่วงตอนปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา ทาให้ งานสร ้างสรรค์ศิลปะมีประโยชน์และรับใช ้มนุษย์โดยตรงมากขึ้น
  • 33. 1. งานวรรณกรรม แนวสัจนิยมมีดังนี้ • ผลงานของชาร ์ลส์ ดิกแกนส์( Charles Dickens) ชาวอังกฤษ ในเรื่อง "โอลิเวอร ์ทวิสต์" ( Oliver Twist) สะท้อนถึง ชีวิตของเด็กในสังคมอุตสาหกรรม งานเขียนอื่นๆ เป็ นการ วิพากษ์วิจารณ์ความเลวร ้ายของสังคมและความเอารัดเอาเปรียบ ของนายทุน เป็ นต้น • ลิโอ ตอลสตอย ( Leo Tolstoy) นักเขียนชาวรัสเซีย ผลงานที่ยิ่งใหญ่ คือ "สงครามและสันติภาพ" ( War and Peace) • งานเขียนประเภทสัจสังคม ( Social Realism) เป็ นงาน วรรณกรรมที่ได้รับอิทธิพลของลัทธิมาร ์กซ ์มุ่งสะท้อนปัญหาสังคม การต่อสู้ทางชนชั้นระหว่างนายทุนกับกรรมกร ชี้นาถึงสาเหตุของ ปัญหาและแนวทางแก้ไขตามวิธีของมาร ์กซิสม์ นวนิยายที่มีชื่อเสียง มากที่สุดในแนวนี้ คือ "แม่" ( Mother) ผลงานของแมกซิม กอร ์กี (Maxim Gorky) นักเขียนชาวรัสเซีย • ศิลปะนาฎกรรม การละครแบบสัจนิยมมุ่งสะท้อนสภาพ สังคมตามความเป็ นจริง เน้นให้ผู้แสดงเล่นอย่างสมจริงตามธรรมชาติ ไม่แสดงอารมณ์มากนัก เศร ้าอย่างรุนแรงแบบโรแมนติก เป็ นละคร แบบร ้อยแก้ว ตัวละครใช ้บทเจรจาด้วยภาษาที่สมจริงตามฐานะของ ตัวละคร ไม่ใช่ภาษากวีร ้อยกรองเหมือนแต่ก่อน นวนิยายเรื่อง “แม่” เขียนโดย “แมกซิม กอร ์กี้”
  • 34. 2. ด้านจิตรกรรม จิตกรแนวสัจนิยมไม่นิยมเขียนภาพ ด้วยจินตนาการเหมือนอย่างพวกโรแมนติก แต่จะเขียนภาพจาก สิ่งที่พบเห็น เช่น ภาพชีวิตของคนยากจนในเมืองใหญ่ การใช ้ ชีวิตหรูหราของชนชาติกลาง ต่อมาภาพวาดมีลักษณะให้ ความสาคัญกับแสง สี และเงามากกว่าเส้น นิยมวาดทิวทัศน์ตาม ธรรมชาติ เรียกว่า “ศิลปะแบบอิมเพรสชันนิสม์”
  • 35. บรรณานุกรม เว็ปไซต์http://www.ksv.ac.th/tb/cai/social/west_modern_data.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 12/9/2560 เวลา 19.54 น. ไม่ปรากฎชื่อผู้เขียน/ผู้แต่ง เว็บไซต์https://www.gotoknow.org/posts/587590 สืบค้นเมื่อวันที่ 12/9/2560 เวลา 20.31 น. เรียบเรียงโดย นายวาทิน ศานติ์สันติ เว็ปไซต์https://www.gotoknow.org/posts/247778 สืบค้นเมื่อวันที่ 12/9/2560 เวลา 20.55 น. เรียงเรียงโดยนายวาทิน ศานติ์สันติ