SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
การเฝ้าระวัง
ารภายหลังได้รับการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
se Events Following Immunization -
กฤษฎา คำามะยอมกฤษฎา คำามะยอม
นักวิชาการสาธารณสุขนักวิชาการสาธารณสุข
กลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลลำาพูนกลุ่มงานเวชกรรมสังคม โรงพยาบาลลำาพูน
การเฝ้าระวังผู้ป่วยอาการภายหลังได้
รับวัคซีน (AEFIs)
 การค้นหาผู้ป่วย
ผู้ป่วย AEFI เพื่อการรายงาน ให้ใช้นิยาม
ดังนี้ คือ
 การเสียชีวิตไม่ทราบสาเหตุ
 อาการแพ้อย่างรุนแรง
 อาการไข้สูง บวมแดงบริเวณที่ฉีด
มากกว่า 3 วันและหรือต้องรับการรักษา
ผู้ป่วย AEFI หมายถึง ผู้ป่วยที่มีอาการหรือมี
ความผิดปกติต่างๆ ที่เกิดขึ้นภายในระยะเวลา
4 สัปดาห์หลังได้รับวัคซีน
Social Medicine, Lamphun Hospital
เมื่อพบเมื่อพบ........ผู้มีอาการภายหลังผู้มีอาการภายหลัง
ได้รับได้รับ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
ท่านจะทำาอย่างไรท่านจะทำาอย่างไร ??
Social Medicine, Lamphun Hospital
การดำาเนินการเฝ้าระวังอาการการดำาเนินการเฝ้าระวังอาการ
ภายหลังได้รับภายหลังได้รับ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
44 ขั้นตอนขั้นตอน
1.1.การรายงานผู้ป่วยการรายงานผู้ป่วย
2.2.การเรียบเรียงข้อมูลการเรียบเรียงข้อมูล
3.3.การวิเคราะห์แปลการวิเคราะห์แปล
ผลผล
4.4.การเผยแพร่ข้อมูลการเผยแพร่ข้อมูลSocial Medicine, Lamphun Hospital
1.1. การรายงานผู้ป่วยการรายงานผู้ป่วย
1.รายงานทันทีภายใน 24 ชั่วโมง
- มีผู้ป่วยรายเดียวและมีอาการใน
กลุ่มดังนี้
- กลุ่มอาการเฉพาะที่
- กลุ่มอาการทางระบบประสาท
ส่วนกลาง
- กลุ่มอาการอื่นๆ
2.รายงานภายใน 1 สัปดาห์ เมื่อพบผู้
ป่วย
- มีผู้ป่วยรายเดียวและมีอาการใน
กลุ่มดังนี้
- กลุ่มอาการเฉพาะที่ Social Medicine, Lamphun Hospital
2.2. การเรียบเรียงข้อมูลการเรียบเรียงข้อมูล
บันทึกข้อมูลผู้ป่วยอาการ
ภายหลังการสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
โรคทุกรายลงในแบบ AEFI-E1
เพื่อใช้สรุปสถานการณ์ในพื้นที่
ของตนเอง
Social Medicine, Lamphun Hospital
3.3. การวิเคราะห์แปลผลการวิเคราะห์แปลผล
2 ลักษณะ
1.) การวิเคราะห์เพื่อค้นหาความ
ผิดปกติ
ผู้ป่วยกลุ่มอาการเดียวกัน ได้รับวัคซีนชนิดเดียวกัน
และ lot no. เดียวกัน
ตั้งแต่ 2 รายขึ้นไป ภายในระยะเวลา 30 วัน
สถานบริการ
เดียวกัน
ต่างสถานบริการ
มีความ
ผิดปกติ Social Medicine, Lamphun Hospital
3.3. การวิเคราะห์แปลผลการวิเคราะห์แปลผล ((ต่อต่อ))
2.) การวิเคราะห์เพื่อทราบสถานการณ์โดย
ภาพรวม
รวมและเรียบเรียงรวมและเรียบเรียง  หาอัตราการเกิดอาการต่อหาอัตราการเกิดอาการต่อ dosedose ของของ
รวมและเรียบเรียงรวมและเรียบเรียง หาร้อยละของสาเหตุที่ทำาให้เกิดอากาหาร้อยละของสาเหตุที่ทำาให้เกิดอากา
ยบเรียงยบเรียง  หาการกระจายการเกิดอาการตามบุคคลหาการกระจายการเกิดอาการตามบุคคล //ตามสตามส
Social Medicine, Lamphun Hospital
4.4. การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร
- จัดทำารายงานสถานการณ์เสนอ
ต่อที่ประชุมประจำาเดือน
- เผยแพร่ผ่านทางวารสาร
- รายงานประจำาเดือน
- รายงานประจำาปี
Social Medicine, Lamphun Hospital
การดำาเนินการเมื่อเกิดอาการภายหลังได้รับ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
รุนแรง
ลักษณะ
อาการ ไม่
รุนแรง
สถาน
บริการ
สสอ./ส
สจ.
1. ให้การรักษาหรือส่ง
ต่อ
2. อธิบายชี้แจงผู้
ปกครอง
3. แจ้ง/ประสานงาน
สสอ./สสจ.
4. ทบทวนวิธีการบริหาร
วัคซีน
5. เตรียมข้อมูลเอกสาร
และวัคซีนที่เหลือ
6. สอบสวนร่วมกับ
- ให้การรักษา
แนะนำา
- รายงานตาม
ระบบเฝ้าระ
วังฯ
รายงาน สสจ./สคร.
ดำาเนินการสอบสวน
พิจารณาระงับการให้
วัคซีนในอำาเภอ
จังหวัด
ประสานกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
รายงานผลการสอบสวน
และการดำาเนินการ
สคร
.
รายงานสำานักโรคติดต่อ
ทั่วไป
ให้คำาแนะนำา หรือร่วม
สอบสวนกับ สสจ.
พิจารณาระงับการให้
วัคซีนในเขต
รายงานผล เฝ้าระวังและ
การสอบสวน
สำานักระบาด
วิทยาSocial Medicine, Lamphun Hospital
สถานบริการ
(สอ./หน่วยปฐม
ภูมิ/รพช./รพท./รพศ.)
1. ให้การรักษาหรือส่งต่อ
2. อธิบายชี้แจงผู้ปกครอง
3. แจ้ง/ประสานงาน สสอ. /
สสจ.
4. เตรียมข้อมูลเอกสารและ
วัคซีนที่เหลือ
5. สอบสวนร่วมกับ สสอ./
สสจ./สคร.
6. พิจารณาระงับการให้วัคซีนSocial Medicine, Lamphun Hospital
สาธารณสุขอำาเภอ /
สาธารณสุขจังหวัด
1. รายงาน สสจ./สคร.
2. ดำาเนินการสอบสวน
3. พิจารณาระงับการให้วัคซีนใน
อำาเภอ / จังหวัด
4. ประสานกับหน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
Social Medicine, Lamphun Hospital
สำานักงานป้องกันควบคุมโรค
(สคร.)
1. รายงานสำานักโรคติดต่อทั่วไป
(แบบ AEFI 1,2,3) จากสสจ. และ
สอบสวนกรณีร้ายแรงตามที่จังหวัด
ร้องขอ
2. ให้คำาแนะนำา หรือร่วมสอบสวนกับ
สสจ.
3. พิจารณาระงับการให้วัคซีนในเขต
Social Medicine, Lamphun Hospital
เราจะทราบได้อย่างไรเราจะทราบได้อย่างไรว่าอาการที่ว่าอาการที่
เกิดภายหลังได้รับเกิดภายหลังได้รับ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีมี
สาเหตุจากอะไรสาเหตุจากอะไร ??
เราจะต้องเตรียมการอะไรบ้างเราจะต้องเตรียมการอะไรบ้างเพื่อเพื่อ
จะทราบได้ว่าจะทราบได้ว่า
อาการที่เกิดภายหลังได้รับการอาการที่เกิดภายหลังได้รับการ
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
เป็นผลมาจากได้รับเป็นผลมาจากได้รับวัคซีนวัคซีน ??
Social Medicine, Lamphun Hospital
สาเหตุ
1. เกิดขึ้นเนื่องจากปฏิกิริยาของวัคซีน
(Vaccine induced AEFIs)
2. เกิดขึ้นเนื่องจากความผิดพลาดด้าน
การบริหารจัดการวัคซีน (Program-
related AEFIs)
3. เกิดขึ้นจากเหตุการณ์พ้องโดยบังเอิญ
(Coincidental AEFIs)
Social Medicine, Lamphun Hospital
เกิดเนื่องจากปฏิกิริยาของวัคซีน
1. Antigen - Toxoid
- เชื้อตาย
- เชื้อเป็น
2. Adjuvant - Alum
3. Preservative - ปรอท
4. Diluent - ไม่
ปราศจากเชื้อ Social Medicine, Lamphun Hospital
งจากความผิดพลาดด้านการบริหารจัดกา
1. ไม่สะอาด
2. ผิดเทคนิค, ผิดจุด
3. ผสมผิด
4. ผิดขนาด
5. เก็บผิด
6. การฉีดวัคซีนใน
รายที่มีข้อห้าม
Social Medicine, Lamphun Hospital
อการเกิดอาการภายหลังได้รับการสร้างเสริม
1. ปัจจัยจากผู้รับการสร้างเสริม
ภูมิคุ้มกันโรค สถานะสุขภาพ
2. ปัจจัยจากตัวของวัคซีน ชนิด ขนาด
ความแรง ส่วนประกอบ
3. ปัจจัยจากการบริหารวัคซีน, เทคนิค
ในการให้วัคซีน
4. ปัจจัยของสภาพแวดล้อมใน
ครอบครัว ชุมชน สถานบริการSocial Medicine, Lamphun Hospital
ารให้บริการวัคซีน
ก่อนให้บริการ ตรวจร่างกาย ซัก
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน และ
อดีต และการได้รับวัคซีนครั้งที่ผ่าน
มา ว่ามี AEFI หรือไม่
สถานบริการต้องจัดทำาบันทึกรายชื่อ
ที่อยู่ ผู้มารับบริการ จำาแนกชนิด
และจำานวนครั้งของวัคซีนที่ให้
บริการ
Social Medicine, Lamphun Hospital
จัดเตรียมระบบการให้บริการวัคซีน
การจัดเตรียม
ทะเบียน/บัญชี
การเตรียมขวด
วัคซีน
Social Medicine, Lamphun Hospital
ารจัดเตรียมทะเบียน/บัญชี
บัญชีควบคุมการรับ/จ่าย (สต๊อก
การ์ด)
ทะเบียน/บัญชีผู้รับบริการงาน
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
Social Medicine, Lamphun Hospital
บัญชีควบคุมการรับ-จ่าย
วัคซีน (สต๊อกการ์ด)สต๊อกการ์ด
……………หมายเลข ..
…………วัคซีน . ………………หน่วยงาน
…………จังหวัด . บัญชีควบคุม
การรับ-จ่ายวัคซีน
วันเดือนปี รับ
( )โด๊ส
วันหมดอายุ
(Exp.date)
ใช้ก่อนวันที่ ผู้รับ/รับจากจ่ายให้ จ่าย
( )โด๊ส
คงเหลือ
( )โด๊ส
จำานวน เลขที่
วัคซีน
(Lotnumber)
Social Medicine, Lamphun Hospital
/บัญชีผู้รับบริการงานสร้างเสริมภูมิคุ้ม
ทะเบียนผู้รับบริการอนามัยเด็กและ
สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
(รบ.1ก 01/3)
ทะเบียนผู้รับบริการอนามัยมารดา (รบ.
1ก 01/2)
บัญชีรายชื่อผู้รับบริการฉีดวัคซีนสร้าง
เสริมภูมิคุ้มกันโรคในนักเรียน
การบันทึกรายชื่อผู้รับบริการ
วัคซีน
Social Medicine, Lamphun Hospital
ทะเบียนผู้รับบริการอนามัยเด็กและสร้าง
เสริมภูมิคุ้มกันโรค
…………………………ชื่อสถานบริการ ..ประจำา
………………เดือน พ.ศ. ………...
รบ.1 ก
01/3
ใหม่ เก่า
7ก่อนวัน
7วันขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
11/22ถึงปี
2ปีขึ้นไป
11/22ถึงปี
2ปีขึ้นไป
21/23ถึงปี
3ปีขึ้นไป
ประกัน
สุขภาพ
อื่นๆ
1ครั้งที่
.นนเด็กหลังคลอด
24.ภายในชม
2ครั้งที่
3ครั้งที่
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
2เข็มที่ 3เข็มที่
1กระตุ้นครั้งที่
2กระตุ้นครั้งที่
1เข็มที่ 2เข็มที่ 3เข็มที่ 1เข็มที่ 3ครั้งที่ 1เข็มที่
1กระตุ้นครั้งที่
2กระตุ้นครั้งที่
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
ลายือชื่อ
ผู้รับบริการ
/หัด
MMR
เจอีโอพีวี
2เข็มที่ 3เข็มที่
ค่าใช้จ่าย
( )บาท
เวชภัณฑ์
ที่จ่าย
1ครั้งที่ 2ครั้งที่
ดีทีพีตับอักเสบบีBCGดูแลทารก
ลำาดับ
ยอดยกมา
ยอดยกไป
วันที่ -ชื่อ สกุล
อายุ
( )ปี
ที่อยู่
เลขที่เฉพาะ
บริการ
Social Medicine, Lamphun Hospital
.ประเภทก
ยอดยกมา
หินนำ้าลาย
1ครั้งที่
หินนำ้าลาย
1ครั้งที่
ยอดยกไป
1เข็มที่
3ครบชุดเกินหรือ
5()ปีกระตุ้น
เหงือกอักเสบ
ที่อยู่ลำาดับ วันที่
เลขที่เฉพาะ
บริการ
-ชื่อ สกุล
.ประเภทค
.ประเภทข
ใหม่ เก่า
2เข็มที่
3เข็มที่
ครบชุดภายใน
35หรือปี
ทันตสุขศึกษาและ
ตรวจฟันครั้งแรก
()ฟันผุที่ยังไม่ได้อุดซี่
อายุ
ปี
หลังคลอดคลอดก่อนคลอด
3ครั้งที่
4ครั้งที่
2ครั้งที่
3ครั้งที่
ผู้ทำาคลอด
ผล
2ครั้งที่
ประกันสุขภาพ
ประกันสังคม
ค่าใช้จ่าย
( )บาท
ลายมือชื่อ
ผู้รับบริการ
สุขภาพปากและฟัน
เวชภัณฑ์ที่จ่าย
วัคซีนบาดทะยัก
ทะเบียนผู้รับบริการอนามัยมารดา
…………………………ชื่อสถานบริการ ..ประจำา
………………เดือน พ.ศ. ………...
รบ.1ก
01/2
ช่อง "ผู้ทำาคลอด" กรอก จ (เจ้าหน้าที่สาธารณสุข) บ (ผดุงครรภ์โบราณ)
หรือ อ (เอกชน)
ช่อง "ผล" กรอก ช (มีชีพ) ต (ตาย) ท (แท้ง) หรือ ก
Social Medicine, Lamphun Hospital
บัญชีรายชื่อผู้รับการฉีดวัคซีนสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
โรคในนักเรียน
(บีซีจี เอ็มเอ็มอาร์ ดีที โอพีวี )
…………………………ชื่อสำานักงาน . …………………ตำาบล
………………อำาเภอ . ……………จังหวัด ...
…………ประจำาเดือน ..……… พ.ศ. …………
………………………โรงเรียน .. ……ชั้นประถมศึกษาปีที่ วัน
………………ที่ ... .6ป
1เข็ม
2เข็ม
กระตุ้น
กระตุ้น
1ครั้งที่
2ครั้งที่
กระตุ้น
รวม
บีซีจีซำ้า
ดีที
.1ป
โปลิโอ
.1ป
เอ็ม เอ็ม
อาร์
.1ป
ลำาดับที่ -ชื่อ นามสกุล อายุ
Social Medicine, Lamphun Hospital
ทะเบียนผู้รับบริการอนามัยเด็กและสร้าง
เสริมภูมิคุ้มกันโรค
…………………………ชื่อสถานบริการ ..ประจำา
………………เดือน พ.ศ. ………...
รบ.1 ก
01/3
ใหม่ เก่า
7ก่อนวัน
7วันขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
11/22ถึงปี
2ปีขึ้นไป
11/22ถึงปี
2ปีขึ้นไป
21/23ถึงปี
3ปีขึ้นไป
ประกัน
สุขภาพ
อื่นๆ
1 15 .ดญพนารัตน์ ม่วงรัช2 .ด 13 .4 .ม ตในฝัน
2 .ดชก้อง รักเรียน 4ปี 7 .3 .ม ตในฝัน
3 .ดชสุรพล สุขมาก 9 .ด 10 .2 .ม ตในฝัน
4 .ดญดา ฝันดี 4 .ด 2 .3 .ม ตในฝัน
5 .ดญออม มาตรง 11/2ปี 28 .2 .ม ตในฝัน
6 .ดชแห้ว สมหวัง 2 .ด 34 .4 .ม ตในฝัน
ลำาดับ
ยอดยกมา
ยอดยกไป
วันที่ -ชื่อ สกุล
อายุ
( )ปี
ที่อยู่
เลขที่เฉพาะ
บริการ
ดีทีพีตับอักเสบบีBCGดูแลทารก
ลายือชื่อ
ผู้รับบริการ
/หัด
MMR
เจอีโอพีวี
2เข็มที่ 3เข็มที่
ค่าใช้จ่าย
( )บาท
เวชภัณฑ์
ที่จ่าย
1ครั้งที่ 2ครั้งที่ 1เข็มที่
1กระตุ้นครั้งที่
2กระตุ้นครั้งที่
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
3เข็มที่
1กระตุ้นครั้งที่
2กระตุ้นครั้งที่
1เข็มที่ 2เข็มที่ 3เข็มที่ 1เข็มที่ 3ครั้งที่
3ครั้งที่
1ตำ่ากว่าปี
1ปีขึ้นไป
2เข็มที่
1ครั้งที่
.นนเด็กหลังคลอด
24.ภายในชม
2ครั้งที่
L1006/10 L3410/1 L.A780
L.A780
L.8910
L.A780
L.A780L3410/1
L3410/1L1006/10 L.A780
L.465
L3410/1
L3410/1
Social Medicine, Lamphun Hospital
รจัดเตรียมขวดวัคซีน
DT
P
Lot no.
4318/2
Exp. Date
11/10/2003
1
DT
P
Lot no.
4318/2
Exp. Date
11/10/2003
2
DT
P
Lot no.
4412/1
Exp. Date
3
Social Medicine, Lamphun Hospital
วิธีการตรวจสอบ
สถานบริการที่เกิดเหตุการณ์
ตรวจสอบชนิดและ Lot ของวัคซีน
ที่ผู้ป่วย/เสียชีวิตได้รับ
ตรวจสอบทะเบียนผู้รับบริการราย
อื่นที่ได้รับวัคซีน ขวดเดียวกับผู้
ป่วย/เสียชีวิต
ตรวจสอบทะเบียนผู้รับบริการราย
อื่นที่ได้รับวัคซีน ต่างขวด แต่
Lot no. เดียวกับผู้ป่วย/เสียชีวิต
Social Medicine, Lamphun Hospital
สถานบริการอื่นๆ
* จนท. Cold chain สสจ
สสอ./CUP สถานบริการ
* สถานบริการตรวจสอบผู้รับบริการ
รายอื่นๆ ที่ได้รับวัคซีน Lot no.
เดียวกับผู้ป่วย/เสียชีวิต
* เยี่ยมติดต่อผู้ได้รับวัคซีน Lot no.
แจ้ง แจ้ง
Social Medicine, Lamphun Hospital
จสอบการได้รับวัคซีนชนิดเดียวกับผู้ป่วย
ภายหลังได้รับวัคซีน
ผลการ
ตรวจสอบ
การแปล
ผลขั้นต้น
การได้รับ
วัคซีน
?
Social Medicine, Lamphun Hospital
ผู้ได้รับ
วัคซีน
รายอื่น
ไม่มี AEFI ที่
รุนแรง
ไม่น่าเกิดจาก
การได้รับ
วัคซีน
ขวดเดียว ต่างขวด (Lot
เดียวกัน)
Social Medicine, Lamphun Hospital
ผู้ได้รับ
วัคซีน
รายอื่น
มี AEFI ที่
รุนแรง
อาจเกิดจาก
วิธีการได้รับวัคซีน
หรือ วัคซีน
ขวดเดียว ต่างขวด (Lot
เดียวกัน)
Social Medicine, Lamphun Hospital
ผู้ได้รับ
วัคซีน
รายอื่น
ไม่มี AEFI ที่
รุนแรง
อาจเกิดจาก
การได้รับ
วัคซีน
ขวดเดียว ต่างขวด (Lot
เดียวกัน)
รายอื่น
มี AEFI ที่
รุนแรง
Social Medicine, Lamphun Hospital
ผู้ได้รับ
วัคซีน
รายอื่น
มี AEFI ที่
รุนแรง
อาจเกิดจาก
วิธีการให้
วัคซีน
ขวดเดียว ต่างขวด (Lot
เดียวกัน)
รายอื่น
ไม่มี AEFI ที่
รุนแรง
Social Medicine, Lamphun Hospital
เมื่อมีผู้เสียชีวิต AEFI
แสดงความเห็นใจ ให้ความช่วยเหลือตาม
สมควร
สนับสนุนให้มีการชันสูตรพลิกศพ พร้อม
ทั้งการผ่าศพตรวจ
และสรุปสาเหตุการตาย
รายงานสอบสวนโรค ควรเพิ่มเติมราย
ละเอียดที่พบ ให้มากที่สุด
ตรวจสอบวิธีการบริหารวัคซีน การให้
บริการ
ตรวจสอบผู้รับวัคซีนขวดเดียวกัน และSocial Medicine, Lamphun Hospital
การรายงาน
ให้แจ้งผ่านระบบเฝ้าระวังทางระบาด
วิทยา ภายใน 24 ชั่วโมง
* สถานีอนามัย/รพ. ซักประวัติ ติดตาม
สอบสวนและบันทึกข้อมูลลงในระบบ
รายงาน 506 และแบบสอบสวนเฉพาะ
ราย AEFI ส่งให้ สำานักงานสาธารณสุข
อำาเภอ / สำานักงานสาธารณสุขจังหวัด
* สำานักงานสาธารณสุขจังหวัด รายงาน
506 และส่งรายงานการสอบสวนเฉพาะSocial Medicine, Lamphun Hospital
ขอบคุณ
สวัสดีครับ
แหล่งข้อมูล
http://203.157.15.6/ktext/manualAEFI/aefi_m6.htm
สำานักระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการเฝ้าระวัง
และสอบสวนอาการภายหลังได้รับ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค, 2551.
โรงพยาบาลลำาพูน : โรงพยาบาลคุณภาพ

More Related Content

Similar to การเฝ้าระวัง AEFI

Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-polyAimmary
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขThanakom Saena
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60Suthee Saritsiri
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERtaem
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์thaitrl
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to การเฝ้าระวัง AEFI (20)

50
5050
50
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis meningo-poly
Vis meningo-polyVis meningo-poly
Vis meningo-poly
 
Vis hpv
Vis hpvVis hpv
Vis hpv
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Vis hib
Vis hibVis hib
Vis hib
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
Service profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไขService profile dentแก้ไข
Service profile dentแก้ไข
 
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
ทันตกรรมกับความสมบูรณ์ของเวชระเบียน10กพ60
 
Japan
JapanJapan
Japan
 
TAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ERTAEM10:Risk Management in ER
TAEM10:Risk Management in ER
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์ผลการประชาพิจารณ์
ผลการประชาพิจารณ์
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
 

การเฝ้าระวัง AEFI