SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
สื่อการสอนวิชาฟิสิกส์ 
เรื่อง ความร้อน สมบัติแก๊ส 
และทฤษฎีจลน์ 
โดย นายวิรุฬห์ พรมมากุล ครู คศ.1 
โรงเรียนโนนแดงวิทยาคม อ.บรบือ 
จังหวัดมหาสารคาม 
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา 26 
Thursday, August 28, 14 1
พลังงานความร้อน 
‣ความร้อนเป็นพลังงานรูปหนึ่งที่สามารถถ่ายเท 
จากวัตถุที่มีอุณหภูมิสูงไปต่ำ 
‣เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานรููปอื่น 
‣พลังงานความร้อนมีหน่วยเป็น จูล (J) ในระบบ SI 
‣ 1 cal = 4.185 J 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 2
อุณหภูมิ 
‣การวัดค่าเฉลี่ยของพลังงานจลน์ของอนุภาคใน 
สสารใดๆ ซึ่งสอดคล้องกับความร้อนหรือเย็นของ 
สสารนั้น 
‣เทอร์โมมิเตอร์ 
‣จุดเดือด 
‣จุดหลอมเหลว By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 3
ชนิดของเทอร์โมมิเตอร์ 
ชนิด สเกล จุดเยือกแข็ง จุดเดือด 
แบบเซลเซียส 100 0 ํC 100 ํC 
แบบฟาเรนไฮต์ 180 32 ํF 212 ํF 
แบบโรเมอร์ 80 0 ํR 80 ํR 
แบบเคลวิน 100 273 K 373 K 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 4
สูตร 
‣จำดีๆนะ 
‣ความจุความร้อน (C) 
‣ความจุความร้อนจำเพาะ (c) 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 5
ความร้อนแฝง 
‣ความร้อนแฝงจำเพาะ (L) 
‣การเปลี่ยนสถานะของสาร 
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส 
By : WIROON PROMMAKOON 
การระเหิด 
การตกสะสม 
การหลอมเหลว 
การแข็งตัว 
การกลายเป็นไอ 
การควบแน่น 
Thursday, August 28, 14 6
สมดุลทางความร้อน 
0 ํC 0 ํC 100 ํC 100 ํC 
น้ำแข็ง น้ำ น้ำ ไอน้ำ 
Q1 Q2 Q3 
ΣQ = Q1 + Q2 + Q3 
ΣQ = mLน้ำแข็ง + mcΔT + mLไอน้ำ 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 7
สมดุลทางความร้อน 
อุณหภูมิต่ำ อุณหภูมิสูง 
Tผสม Qเพิ่ม Qลด 
By : WIROON PROMMAKOON 
อุณหภูมิผสม 
Qลด = Qเพิ่ม 
Thursday, August 28, 14 8
ตัวอย่างที่ 1 
‣จงหาพลังงานความร้อนที่ทำให้เหล็กมวล 200 
กรัม ที่อุณหภูมิ 20 ํC สูงขึ้นเป็น 60 ํC กำหนดให้ 
ความจุความร้อนของเหล็ก = 450 J/kg.K 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 9
ตัวอย่างที่ 2 
‣ให้พลังงานความร้อนแก่ตะกั่ว 252 J ถ้าตะกั่วมี 
มวล 1 kg จะมีอุณหภูมิสูงขึ้นเท่าใด กำหนดให้ 
ความจุความร้อนจำเพาะตะกั่ว = 126 J/kg.K 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 10
ตัวอย่างที่ 3 
‣ให้พลังงานความร้อนขนาด 3,000 J กับท่อน 
เหล็กหนึ่ง ปรากฎว่าเหล็กมีอุณหภูมิสูงขึ้นจาก 
30 ํC เป็น 80 ํC จงหามวลของวัตถุก้อนนี้ 
กำหนดให้ความจุความร้อนจำเพาะ =0.5 J/kg.K 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 11
ตัวอย่างที่ 4 
‣ยิงกระสุนปืนทองแดงกระทบเป้าด้วยความเร็ว 
385 m/s กระสุนหยุดทันทีที่ชน ถ้า 3/4 ของ 
พลังงานจลน์เปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อน จงหา 
ว่ากระสุนมีอุณหภูมิเพิ่มเป็นเท่าใด กำหนดให้ค่า 
ความจุความร้อนจำเพาะ = 0.385 kJ/kg.K 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 12
ตัวอย่างที่ 5 
‣น้ำแข็งมวล 5 kg เปลี่ยนเป็นน้ำทั้งหมดที่ 0 ํC 
ต้องใช้พลังงานความร้อนเท่าใด กำหนดให้ความ 
ร้อนแฝงของการหลอมเหลว = 333 kJ/kg 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 13
ตัวอย่างที่ 6 
‣ถ้าจะทำให้น้ำ 100 ํC มวล 5 kg เปลี่ยนเป็นไอ 
น้ำหมดที่ 100 ํC ต้องใช้ความร้อนเท่าใด ความ 
ร้อนแฝงจำเพาะของการกลายเป็นไอน้ำ 2256 
kJ/kg 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 14
ตัวอย่างที่ 7 
‣ให้พลังงานความร้อนแก่น้ำแข็ง มวล 2 kg เป็น 
ปริมาณเท่าใด เพื่อทำให้น้ำกลายเป็นน้ำแข็ง 1.5 
kg ให้ความร้อนแฝงจำเพาะของน้ำแข็ง 336 kJ/ 
kg 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 15
ตัวอย่างที่ 8 
‣จงหาปริมาณความร้อนที่ทำให้น้ำแข็งมวล 100 
g อุณหภูมิ 0 ํC กลายเป็นน้ำมวล 100 g 
อุณหภูมิ 10 ํC กำหนดให้ความจุความร้อน 
จำเพาะของน้ำ 4,200 J/kg.K ความร้อนแฝงของ 
การหลอมเหลว 333 kJ/kg 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 16
สมบัติของแก๊ส 
‣แก๊สในอุดมคติ (Idea Gas) 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 17
กฎของแก๊สจากการทดลอง 
‣กฎของบอยล์ “เมื่ออุณหภูมิคงตัว ปริมาตรจะ 
แปรผกผันกับความดัน” 
‣ไ 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 18
กฎของแก๊สจากการทดลอง 
‣กฎของชาร์ล “เมื่อความดันคงตัว ปริมาตรจะ 
แปรผันตรงกับอุณหภูมิ 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 19
กฎของแก๊สจากการทดลอง 
‣กฎของเกย์-ลููสแซก “เมื่อปริมาตรคงตัว ความดัน 
จะแปรผันตรงกับอุณหภูมิ” 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 20
สูตรที่ใช้ในการคำนวณ 
การคำนวณแก๊สสภาวะเดียว 
การคำนวณแก๊สสองสภาวะ 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 21
สูตรที่ใช้ในการคำนวณ 
‣R = ค่านิจของแก๊ส 8.31 J/mol.K 
‣N0 = เลขอาโวกาโดร 6.02 x 10-23 โมเลกุล 
‣kb = ค่านิจของโบลต์ซมันน์ 1.38 x 10-23 J/K 
‣ที่สภาวะ SPT แก๊ส 1 mol มีปริมาตร 22.4 l 
มีอุณหภูมิ 0 ํC หรือ 273 K 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 22
ตัวอย่างที่ 9 
‣อากาศปริมาตร 2 ลบ.ฟุต อุณหภูมิ 17 ํC 
เคลื่อนผ่านพื้นผิวที่มีอุณหภูมิ 77 ํC ความดันไม่ 
เปลี่ยนแปลง ปริมาตรของอากาศจะกลายเป็นกี่ 
ลบ.ฟุต 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 23
การถ่ายเทความร้อน 
‣การนำความร้อน 
‣การพาความร้อน 
‣การแผ่รังสีความร้อน 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 24
ตัวอย่างที่ 10 
‣ลูกแซคเป็นเครื่องดนตรีชนิดหนึ่งที่ใช้เขย่าเป็น 
จังหวะ การเขย่าลูกเเซคอุณหภูมิภายในเป็น 
อย่างไร 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 25
ตัวอย่างที่ 11 
‣แท่งเหล็กมวล 5 kg และ 10 kg จะมีค่าความ 
ร้อนและค่าความจุความร้อนเท่ากันหรือไม่ 
อย่างไร 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 26
ตัวอย่างที่ 12 
‣ความดันในภาชนะปิดอันหนึ่งเป็น 8 x 105 N/ 
m2 ที่อุณหภูมิ 27 ํC ถ้าเพิ่มอุณหภูมิขึ้นอีก 
900 ํC ความดันในระบบจะเป็นเท่าใด 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 27
ตัวอย่างที่ 13 
‣แก๊สชนิดหนึ่งมีปริมาตร 1 x 103 m3 ที่ 27 ํC 
ความดัน 1 atm ขยายตัวจนมีปริมาตร 1.5 x 
10-3 m3 ความดันเป็น 1.1 atm จงหาอุณหภูมิ 
สุดท้ายของแก๊สว่าเป็นกี่ ํC 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 28
ตัวอย่างที่ 14 
‣ที่ 0 ํC ความดัน 1 atm อากาศ 1 ลิตร มีมวล 
1.29 g และที่อุณหภูมิ 27 ํC ความดัน 2 atm 
อากาศมวล 2.73 g จะมีปริมาตรกี่ลิตร 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 29
การผสมแก๊ส 
PรวมVรวม=P1V1+P2V2+... 
nรวมTรวม=n1T1+n2T2+... 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 30
ตัวอย่างที่ 15 
‣แก๊สฮีเลียมบรรจุในถังสองใบซึ่งเชื่อมต่อกันผ่าน 
วาล์ว ถังแรกมีความดัน 2 atm ปริมาตร 10 
ลิตร ถังที่สองมีความดัน 3 atm ปริมาตร 15 
ลิตร ถ้าเปิดวาล์วให้แก๊สรวมกัน โดยไม่มีการ 
ถ่ายเทความร้อนจากนอกระบบความดันของแก๊ส 
ผสมกี่บรรยากาศ 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 31
ตัวอย่างที่ 16 
‣ภาชนะ 2 ลิตร บรรจุแก๊ส CO2 มีความดัน 20.5 
atm ที่อุณหภูมิ -23 ํC มีกี่โมล 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 32
ตัวอย่างที่ 17 
‣แก๊ส A 1 mol กับแก๊ส B 1 mol บรรจุในกล่อง 
เดียวกันซึ่งมีปริมาตร 1 m3 โดยไม่ทำปฏิกิริยา 
กันที่ 27 ํC ความดันแก๊สในกล่องเป็นเท่าใด 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 33
ตัวอย่างที่ 18 
‣แก๊ส N2 จำนวน 4.8 x 1024 โมเลกุล บรรจุใน 
ภาชนะ 67.2 ลิตร ที่ 0 ํC มีความดันเท่าใด 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 34
ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส 
1. แก๊สประกอบด้วยโมเลกุลจำนวนมาก ทุก 
โมเลกุลมีลักษณะเป็นก้อนกลมที่มีขนาดเท่ากัน มี 
ความยืดหยุ่นสูง 
2. ถือว่าปริมาตรรวมของโมเลกุลทุกตัวน้อยมาก 
เมื่อเปรียบเทียบกับปริมาตรของแก๊สทั้งภาชนะ 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 35
ทฤฎีจลน์ของแก๊ส 
3. ไม่มีแรงใดๆ กระทำต่อโมเลกุลไม่ว่าจะเป็นแรง 
ผลักหรือแรงดึงดูด หรือแม้กระทั่งแรงโน้มถ่วงของ 
โลกที่กระทำต่อโมเลกุลด้วย 
4. การเคลื่อนที่ของโมเลกุลเป็นแบบสุ่ม ซึ่งหมาย 
ถึงว่าโมเลกุลสามารถเคลื่อนที่ได้สะดวกทุกทิศทาง 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 36
ตัวอย่างที่ 19 
‣เหตุใดแก๊สจึงฟุ้งกระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ และ 
สามารถบีบอัดให้มีปริมาตรน้อยลงกว่าเดิมได้มาก 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 37
ตัวอย่างที่ 20 
‣เมื่ออัดแก๊สให้มีปริมาตรลดลง ความดันแก๊สจะ 
เพิ่มขึ้นเพราะเหตุใด 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 38
อัตราเร็วในโมเลกุลแก๊ส 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 39
ตัวอย่างที่ 21 
‣จงหาอัตราเร็วของโมเลกุลแก๊สไฮโดรเจน H2 ที่ 
อุณหภูมิ 27 ํC 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 40
ตัวอย่างที่ 22 
‣จงหา Vrms ของโมเลกุลของแก๊สออกซิเจน O2 ที่ 
มีอุณหภูมิ 300 K 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 41
ตัวอย่างที่ 23 
‣อัตราเร็วเฉลี่ยของโมเลกุลไฮโดรเจนเท่ากับ 400 
m/s ที่ 27 ํC ถ้าอุณหภูมิเปลี่ยนเป็น 927 ํC 
อัตราเร็วจะเป็นเท่าใด 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 42
พลังงานจลน์โมเลกุลแก๊ส 
By : WIROON PROMMAKOON 
Ekรวม = NEk 
Thursday, August 28, 14 43
ตัวอย่างที่ 23 
‣บรรจุแก๊สในถังที่มีปริมาตร 0.2 m3 ที่ความดัน 
104 N/m2 ภายใต้ระบบภาวะนี้แก๊สมี 0.6 x 
1022 โมเลกุล อยากทราบว่าพลังงานจลน์เฉลี่ย 
ของแต่ละโมเลกุลแก๊สมีค่าเท่าใด 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 44
ตัวอย่างที่ 24 
‣พลังงานจลน์ของแก๊ส 1 mol ที่อุณหภูมิ 27 ํC 
มีค่ากี่จูล 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 45
ตัวอย่างที่ 25 
‣ณ อุณหภูมิ 37 ํC แก๊สชนิดหนึ่ง 2 mol จะมี 
พลังงานเท่าใด 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 46
ตัวอย่างที่ 26 
‣จงหาพลังงานจลน์เฉลี่ยที่อุณหภูมิ 30 ํC 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 47
พลังงานภายในระบบ 
‣ = งานเนื่องจากการขยายตัวของแก๊ส 
‣ = พลังงานภายในที่เพิ่มขึ้น 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 48
ตัวอย่างที่ 27 
‣จงหาพลังงานภายในระบบแก๊สไฮโดรเจน เมื่อ 
‣ปริมาณ 2 mol ที่ 27 ํC 
‣ปริมาตร 10 ลิตรความดัน 2 x 105 Pa 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 49
ตัวอย่างที่ 28 
‣พลังงานภายในของแก๊สฮีเลียม 10 mol จะ 
เปลี่ยนไปเท่าใด เมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป 20 ํC 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 50
ตัวอย่างที่ 29 
‣แก๊สในกระบอกสูบรับความร้อนจากภายนอก 
142 J ขณะที่แก๊สขยายตัวมันทำงานบนระบบ 
ภายนอก 160 J พลังงานจลน์ภายในของแก๊สนี้ 
เพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าใด และอุณหภูมิแก๊สเพิ่มขึ้น 
หรือลดลง 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 51
ตัวอย่างที่ 30 
‣อัดแก๊สในกระบอกสูบด้วยความดันคงที่ 1 x 105 
N/m2 ทำให้ปริมาตรลดลง 0.004 m3 ถ้า 
พลังงานภายในระบบของแก๊สคงที่ จงหาพลังงาน 
ความร้อนที่เกิดขึ้น 
By : WIROON PROMMAKOON 
Thursday, August 28, 14 52
จบเนื้อหา 
เรียนเรื่องต่อไปกันเลย 
Thursday, August 28, 14 53

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สChanthawan Suwanhitathorn
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทานkrupornpana55
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)Dr.Woravith Chansuvarn
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทานหน่วยย่อยที่ 4  แรงเสียดทาน
หน่วยย่อยที่ 4 แรงเสียดทาน
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 

Viewers also liked

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซพัน พัน
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 

Viewers also liked (6)

7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
7ทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ
 
แข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊สแข็ง เหลว แก๊ส
แข็ง เหลว แก๊ส
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 

10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส