SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
พืชตัวอยางในสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนเตรียมอุดม
ตามโครงอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
นําเสนอครูผูสอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ
ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
งานนําเสนอขอมูลนี้เปนสวนหนึ่งของรายชีววิทยา 3 (ว 30243)
ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2562
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ
ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
*เรียงจากซ�ายไปขวา*
ครองขวัญ ชีวรุ่งนภากุล (2), ณัฐพร ชุติวณิชยกุล (7)
ธนัตถ์ภรณ์ ลักษสุภาวณิชย์ (10), พลอยพรรณ สาสนัส (15), พิมพ์นารา จงตระกูล (16)
2 7
10
15 16
คํานํา
รายงานฉบับนี�เป�นส่วนหนึ่งของ วิชาชีววิทยา ว30243 ชั�นมัธยมศึกษาปีที่5 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อ
ศึกษา ลักษณะทั่วไป ลักษณะทางพฤกษาศาสตร์ เเละลักษณะอื่นๆ รวมไปถึงประโยชน์หรือสรรพคุณในด้าน
ต่างๆของต้นพลู
คณะผู้จัดทําได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆของต้นพลู ทางอินเทอร์เน็ตเเละบทความต่างๆ เเล้วจึง
นํามารวบรวมเเละเรียบเรียงออกมาเป�นรายงานฉบับนี� ซึ่งคณะผู้จัดทําหวังเป�นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี�จะเป�น
ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจหรือผู้ที่ได้อ่านเป�นอย่างดี
ทางคณะผู้จัดทําขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนช่วยให้รายงานฉบับนี�สําเร็จมา ณ โอกาสนี�ด้วย หากมี
ข้อผิดพลาดหรือข้อเสนอเเนะประการใด คณะผู้จัดทําขอน้อมรับ เเละจะนําไปเเก้ไขพัฒนาให้ถูกต้องสมบูรณ์
ต่อไป
คณะผู้จัดทํา
สารบัญ
หน้าปก ...................................................... 1
ครูผู้สอน ...................................................... 2
ข้อมูลสมาชิก ...................................................... 3
คํานํา ...................................................... 4
สารบัญ ...................................................... 5
ลักษณะทั่วไป ...................................................... 6
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ...................................................... 7
ประโยชน์ ...................................................... 8
กิตติกรรมประกาศ ...................................................... 10
ภาคผนวก ...................................................... 11
ต้นพลู’s STORY
ชื่อสามัญ/ชื่อทั่วไป Betel Piper
ชื่อวงศ์ Piperaceae (วงศ์พริกไทย)
ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper betle Linn.
ชื่อท้องถิ่น พลู, พลูจีน, เปล้าอ้วน, ซีเก๊าะ (ใต้),
ซีเก๊ะ, ซีเก, เปล้ายวน, ปู, ดื่อเจี่ย
ลักษณะทั่วไป
- มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย
- มีหลายชนิด คือ พลูจีน พลูเหลือง พลูเขียว และพลูทองหลาง
- ในประเทศไทยปลูกมากในแถบจังหวัดภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักปลูกเพื่อ
การบริโภคในท้องถิ่น และปลูกเพื่อการค้า รวมถึงส่งออกต่างประเทศในบางส่วน (ส่งไปยังอินเดีย บังคลา
เทศ ปากีสถาน และกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง)
- เป�นพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย โดยเฉพาะที่ตลาดพลู ฝั่งธนบุรี เริ่มจากชาวอิสลามที่อาศัยอยู่ ณ ที่แห่งนี�
มาตั�งแต่ต้นยุครัตนโกสินทร์ จนกลายมาเป�นแหล่งค้าขายพลูแหล่งใหญ่ จนกระทั่งได้ขยายไปยังชาวไทย และ
ชาวจีนด้วย แม้ปัจจุบันความนิยมกินหมากและพลูจะลดน้อยลงไปตามกาลเวลา แต่ก็ยังคงมีพื�นที่ปลูกพลู
อยู่
ต้นพลู’s ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
เป�นไม้เลื�อย ลําต้นเป�นปล้อง และมีข้อ ขนาดลําต้น 2.5-5 ซม. ลําต้นมีลักษณะอวบนํ�า และมีร่องเล็กๆสี
นํ�าตาลอมแดงตามแนวยาวของลําต้น สันร่องมีสีเขียว โดยลําต้นส่วนปลายจะมีสีเขียว ส่วนลําต้นส่วนต้น
จะมีสีเขียวอมเทา
เป�นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีรูปไข่หรือรูปวงกลมแกมรูปไข่ ใบกว้าง 4-10 ซม. ยาว 5-18 ซม. ผิว
ใบเรียบ ผิวใบด้านบนมีสีเขียวเข้มมากกว่าด้านล่าง ใบเป�นร่องบุ๋มด้านใบ มีเส้นใบประมาณ 5-7 เส้น
เนื�อใบค่อนข้างหนา เป�นมัน และมีกลิ่นฉุน ใบด้านล่างมักมีขนาดใหญ่กว่าใบด้านบน
มีสีขาว ออกรวมกันเป�นช่อ มีช่อดอกแบ่งเพศกันอยู่คนละต้น ประกอบด้วยช่อดอกตัวเมีย และดอกตัวผู้ มีใบ
ประดับดอกขนาดเล็กรูปวงกลม ช่อดอกตัวผู้ยาว 2-12 ซม. ก้านช่อดอกยาว 1.5-3 ซม. ประกอบด้วยเกสร
ตัวผู้ 2 อัน มีขนาดสั�นมาก ส่วนช่อดอกตัวเมียมีความยาวเท่ากับช่อดอกตัวผู้ แต่มีก้านช่อดอกยาวกว่า
ดอกมักบานไม่พร้อมกัน จึงทําให้ไม่ค่อยพบเห็นผลของพลู เพราะมีโอกาสผสมเกสรน้อย
ผลของพลูมีลักษณะอัดแน่นที่เกิดจากดอกในช่อดอก ผลของพลูมีลักษณะค่อนข้างนุ่ม ด้านในประกอบด้วย 1
เมล็ด เมล็ดมีลักษณะกลม ขนาดยาวประมาณ 2.25-2.6 มม. กว้างประมาณ 2 มม.
ประโยชน์
รักษาอาการไอเจ็บคอ
เหงือกและฟันแข็งแรง ช่วยดับกลิ่นปาก แก้ปวดท้อง ช่วยขับเสมหะ
เป�นยากระตุ้นนํ�าลาย ขับเหงื่อ แก้ปวดท้องเพราะพยาธิ
ใช�เป�นยาฆ่าเชื�อ รักษาอาการชํ�าบวม
ประโยชน์
รักษาผื่นคันจากลมพิษ รักษาโรคผิวหนัง ใช�เป�นยาระบาย
ช่วยลดไข้ แก้ปวดศีรษะ ไหลเวียนโลหิตดีขึ�น
กิตติกรรมประกาศ
ชิ�นงานนี�สําเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ประจําวิชา
ชีววิทยา ซึ่งได้ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆมาโดยตลอด จนชิ�นงานนี�เสร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทํา
จึงขอกราบขอบพระคุณเป�นอย่างสูง
ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครอง ที่ได้ให้คําปรึกษาในเรื่องราวต่างๆ
รวมทั�งเป�นกําลังใจที่ดีเสมอมา
ขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คําแนะนําดีๆเกี่ยวกับขั�นตอนการปฏิบัติงาน รวมถึงการให้กําลังใจใน
การทําชิ�นงานนี�จนสําเร็จลุล่วง
น.ส.ครองขวัญ ชีวรุ่งนภากุล
น.ส.ณัฐพร ชุติวณิชยกุล
น.ส.ธนัตภรณ์ ลักษณสุภาวณิชย์
น.ส.พลอยพรรณ สาสนัส
น.ส.พิมพ์นารา จงตระกูล
ภาคผนวก
เตรียมวัสดุอุปกรณ์
เก็บตัวอย่างพรรณไม้จากบริเวณหน้าอาคาร 60 ปี
เก็บรักษาตัวอย่างพรรณไม้
การส่งตรวจครั�งที่ 1
THANK YOU

More Related Content

What's hot (20)

834 pre7
834 pre7834 pre7
834 pre7
 
652 pre11
652 pre11652 pre11
652 pre11
 
931 pre4
931 pre4931 pre4
931 pre4
 
656 pre12
656 pre12656 pre12
656 pre12
 
N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5N sdis 143_60_5
N sdis 143_60_5
 
656 pre5
656 pre5656 pre5
656 pre5
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
931 pre2
931 pre2931 pre2
931 pre2
 
Pwp herbarium 343 plumeria
Pwp herbarium 343 plumeriaPwp herbarium 343 plumeria
Pwp herbarium 343 plumeria
 
Hebarium กลุ่ม9/333
Hebarium กลุ่ม9/333Hebarium กลุ่ม9/333
Hebarium กลุ่ม9/333
 
Herbarium Presentation - G8 334 TU82
Herbarium Presentation - G8 334 TU82Herbarium Presentation - G8 334 TU82
Herbarium Presentation - G8 334 TU82
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
652 pre7
652 pre7652 pre7
652 pre7
 
833 กลุ่ม 7
833 กลุ่ม 7833 กลุ่ม 7
833 กลุ่ม 7
 
931 pre7
931 pre7931 pre7
931 pre7
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Herbarium กลุ่ม4 342
Herbarium กลุ่ม4 342Herbarium กลุ่ม4 342
Herbarium กลุ่ม4 342
 
652 pre9
652 pre9652 pre9
652 pre9
 
342 pre6(1)
342 pre6(1)342 pre6(1)
342 pre6(1)
 
656 pre9
656 pre9656 pre9
656 pre9
 

Similar to Herbarium group1 343 (20)

Tonkhem 341 Group 7
Tonkhem 341 Group 7Tonkhem 341 Group 7
Tonkhem 341 Group 7
 
Herbarium Group2 Room825
Herbarium Group2 Room825Herbarium Group2 Room825
Herbarium Group2 Room825
 
Herbarium room 332 group 5
Herbarium room 332 group 5Herbarium room 332 group 5
Herbarium room 332 group 5
 
341 pre2
341 pre2 341 pre2
341 pre2
 
Herbarium 332 6
Herbarium 332 6Herbarium 332 6
Herbarium 332 6
 
333 herbarium
333  herbarium 333  herbarium
333 herbarium
 
Herbarium ห้อง 343 กลุ่ม 11
Herbarium ห้อง 343 กลุ่ม 11Herbarium ห้อง 343 กลุ่ม 11
Herbarium ห้อง 343 กลุ่ม 11
 
Herbarium group 1 333
Herbarium group 1 333Herbarium group 1 333
Herbarium group 1 333
 
ต้นมะกรูด_กลุ่ม9/825
ต้นมะกรูด_กลุ่ม9/825ต้นมะกรูด_กลุ่ม9/825
ต้นมะกรูด_กลุ่ม9/825
 
Herbarium g8 825
Herbarium g8 825Herbarium g8 825
Herbarium g8 825
 
Herbarium Group 5 343
Herbarium Group 5 343Herbarium Group 5 343
Herbarium Group 5 343
 
Herbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruitHerbarium g8 825 starfruit
Herbarium g8 825 starfruit
 
652 pre5
652 pre5652 pre5
652 pre5
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
Slide herbarium group 1 833
Slide herbarium group 1 833Slide herbarium group 1 833
Slide herbarium group 1 833
 
Herbarium 343 group 9
Herbarium 343 group 9Herbarium 343 group 9
Herbarium 343 group 9
 
Herbarium 343 group 9
Herbarium 343 group 9Herbarium 343 group 9
Herbarium 343 group 9
 
Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333Hibiscus herbarium group7 room333
Hibiscus herbarium group7 room333
 
Frog embryo development
Frog embryo developmentFrog embryo development
Frog embryo development
 
652 pre4
652 pre4652 pre4
652 pre4
 

Herbarium group1 343

  • 1. พืชตัวอยางในสวนพฤกษศาสตรโรงเรียนเตรียมอุดม ตามโครงอนุรักษพันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี นําเสนอครูผูสอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร งานนําเสนอขอมูลนี้เปนสวนหนึ่งของรายชีววิทยา 3 (ว 30243) ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2562
  • 2. นายวิชัย ลิขิตพรรักษ ครู ค.ศ.1 สาขาชีววิทยา กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
  • 3. *เรียงจากซ�ายไปขวา* ครองขวัญ ชีวรุ่งนภากุล (2), ณัฐพร ชุติวณิชยกุล (7) ธนัตถ์ภรณ์ ลักษสุภาวณิชย์ (10), พลอยพรรณ สาสนัส (15), พิมพ์นารา จงตระกูล (16) 2 7 10 15 16
  • 4. คํานํา รายงานฉบับนี�เป�นส่วนหนึ่งของ วิชาชีววิทยา ว30243 ชั�นมัธยมศึกษาปีที่5 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อ ศึกษา ลักษณะทั่วไป ลักษณะทางพฤกษาศาสตร์ เเละลักษณะอื่นๆ รวมไปถึงประโยชน์หรือสรรพคุณในด้าน ต่างๆของต้นพลู คณะผู้จัดทําได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่างๆของต้นพลู ทางอินเทอร์เน็ตเเละบทความต่างๆ เเล้วจึง นํามารวบรวมเเละเรียบเรียงออกมาเป�นรายงานฉบับนี� ซึ่งคณะผู้จัดทําหวังเป�นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี�จะเป�น ประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจหรือผู้ที่ได้อ่านเป�นอย่างดี ทางคณะผู้จัดทําขอขอบคุณผู้ที่มีส่วนช่วยให้รายงานฉบับนี�สําเร็จมา ณ โอกาสนี�ด้วย หากมี ข้อผิดพลาดหรือข้อเสนอเเนะประการใด คณะผู้จัดทําขอน้อมรับ เเละจะนําไปเเก้ไขพัฒนาให้ถูกต้องสมบูรณ์ ต่อไป คณะผู้จัดทํา
  • 5. สารบัญ หน้าปก ...................................................... 1 ครูผู้สอน ...................................................... 2 ข้อมูลสมาชิก ...................................................... 3 คํานํา ...................................................... 4 สารบัญ ...................................................... 5 ลักษณะทั่วไป ...................................................... 6 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ...................................................... 7 ประโยชน์ ...................................................... 8 กิตติกรรมประกาศ ...................................................... 10 ภาคผนวก ...................................................... 11
  • 6. ต้นพลู’s STORY ชื่อสามัญ/ชื่อทั่วไป Betel Piper ชื่อวงศ์ Piperaceae (วงศ์พริกไทย) ชื่อวิทยาศาสตร์ Piper betle Linn. ชื่อท้องถิ่น พลู, พลูจีน, เปล้าอ้วน, ซีเก๊าะ (ใต้), ซีเก๊ะ, ซีเก, เปล้ายวน, ปู, ดื่อเจี่ย ลักษณะทั่วไป - มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย - มีหลายชนิด คือ พลูจีน พลูเหลือง พลูเขียว และพลูทองหลาง - ในประเทศไทยปลูกมากในแถบจังหวัดภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มักปลูกเพื่อ การบริโภคในท้องถิ่น และปลูกเพื่อการค้า รวมถึงส่งออกต่างประเทศในบางส่วน (ส่งไปยังอินเดีย บังคลา เทศ ปากีสถาน และกลุ่มประเทศตะวันออกกลาง) - เป�นพืชเศรษฐกิจในประเทศไทย โดยเฉพาะที่ตลาดพลู ฝั่งธนบุรี เริ่มจากชาวอิสลามที่อาศัยอยู่ ณ ที่แห่งนี� มาตั�งแต่ต้นยุครัตนโกสินทร์ จนกลายมาเป�นแหล่งค้าขายพลูแหล่งใหญ่ จนกระทั่งได้ขยายไปยังชาวไทย และ ชาวจีนด้วย แม้ปัจจุบันความนิยมกินหมากและพลูจะลดน้อยลงไปตามกาลเวลา แต่ก็ยังคงมีพื�นที่ปลูกพลู อยู่
  • 7. ต้นพลู’s ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ เป�นไม้เลื�อย ลําต้นเป�นปล้อง และมีข้อ ขนาดลําต้น 2.5-5 ซม. ลําต้นมีลักษณะอวบนํ�า และมีร่องเล็กๆสี นํ�าตาลอมแดงตามแนวยาวของลําต้น สันร่องมีสีเขียว โดยลําต้นส่วนปลายจะมีสีเขียว ส่วนลําต้นส่วนต้น จะมีสีเขียวอมเทา เป�นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ใบมีรูปไข่หรือรูปวงกลมแกมรูปไข่ ใบกว้าง 4-10 ซม. ยาว 5-18 ซม. ผิว ใบเรียบ ผิวใบด้านบนมีสีเขียวเข้มมากกว่าด้านล่าง ใบเป�นร่องบุ๋มด้านใบ มีเส้นใบประมาณ 5-7 เส้น เนื�อใบค่อนข้างหนา เป�นมัน และมีกลิ่นฉุน ใบด้านล่างมักมีขนาดใหญ่กว่าใบด้านบน มีสีขาว ออกรวมกันเป�นช่อ มีช่อดอกแบ่งเพศกันอยู่คนละต้น ประกอบด้วยช่อดอกตัวเมีย และดอกตัวผู้ มีใบ ประดับดอกขนาดเล็กรูปวงกลม ช่อดอกตัวผู้ยาว 2-12 ซม. ก้านช่อดอกยาว 1.5-3 ซม. ประกอบด้วยเกสร ตัวผู้ 2 อัน มีขนาดสั�นมาก ส่วนช่อดอกตัวเมียมีความยาวเท่ากับช่อดอกตัวผู้ แต่มีก้านช่อดอกยาวกว่า ดอกมักบานไม่พร้อมกัน จึงทําให้ไม่ค่อยพบเห็นผลของพลู เพราะมีโอกาสผสมเกสรน้อย ผลของพลูมีลักษณะอัดแน่นที่เกิดจากดอกในช่อดอก ผลของพลูมีลักษณะค่อนข้างนุ่ม ด้านในประกอบด้วย 1 เมล็ด เมล็ดมีลักษณะกลม ขนาดยาวประมาณ 2.25-2.6 มม. กว้างประมาณ 2 มม.
  • 8. ประโยชน์ รักษาอาการไอเจ็บคอ เหงือกและฟันแข็งแรง ช่วยดับกลิ่นปาก แก้ปวดท้อง ช่วยขับเสมหะ เป�นยากระตุ้นนํ�าลาย ขับเหงื่อ แก้ปวดท้องเพราะพยาธิ ใช�เป�นยาฆ่าเชื�อ รักษาอาการชํ�าบวม
  • 10. กิตติกรรมประกาศ ชิ�นงานนี�สําเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ประจําวิชา ชีววิทยา ซึ่งได้ให้คําปรึกษาและข้อเสนอแนะต่างๆมาโดยตลอด จนชิ�นงานนี�เสร็จสมบูรณ์ คณะผู้จัดทํา จึงขอกราบขอบพระคุณเป�นอย่างสูง ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครอง ที่ได้ให้คําปรึกษาในเรื่องราวต่างๆ รวมทั�งเป�นกําลังใจที่ดีเสมอมา ขอบคุณเพื่อนๆที่ช่วยให้คําแนะนําดีๆเกี่ยวกับขั�นตอนการปฏิบัติงาน รวมถึงการให้กําลังใจใน การทําชิ�นงานนี�จนสําเร็จลุล่วง น.ส.ครองขวัญ ชีวรุ่งนภากุล น.ส.ณัฐพร ชุติวณิชยกุล น.ส.ธนัตภรณ์ ลักษณสุภาวณิชย์ น.ส.พลอยพรรณ สาสนัส น.ส.พิมพ์นารา จงตระกูล
  • 16.