SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
Information and Communication Technology for Education.
เกรียงไกร พละสนธิ.
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
เครื่องมือการวิจัย หมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้
เป็นสื่อสําหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตามตัวแปร
ในการวิจัยที่กําหนดไว้ ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งข้อมูล
เชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ เครื่องมือการวิจัยนับเป็น
ส่วนหนึ่งของการวิจัยทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาเฉพาะ
กรณี การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงทดลอง
เครื่องมือวิจัย.
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
* ใช้ในการรวบรวมข้อมูล
* เป็นตัวเชื่อม
* ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลให้กระชับ ตรงประเด็น
* ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น
-
ความสำคัญของเครื่องมือวิจัย.
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
ความสําคัญของเครื่องมือการวิจัย ได้แก่
1.ใช้ในการรวบรวมข้อมูลซึ่งเป็นส่วนประกอบสําคัญของการวัดการประเมินตัวแปรในการวิจัย
2.เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ และสมมุติฐานในการวิจัยกับข้อมูลที่จะนํามาใช้เป็นหลักฐาน
3.ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรงประเด็น ต่อเนื่องเป็นขั้นตอนซึ่งจะช่วยลดความผิดพลาดของการรวบรวมข้อมูล
4.ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น เช่น การจัดหมวดหมู่ข้อมูล การสร้างรหัสข้อมูลและคู่มือลงรหัส และการวางแผนการใช้
สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
Information and Communication Technology for Education.
ประเภทของของเครื่องมือการวิจัย
เครื่องมือในการทดลอง
มักเป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
ได้แก่ : แบบสอบถาม,แบบสัมภาษณ์,แบบทดสอบ/แบบวัดความรู้,
แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึก การสังเกต,แบบตรวจสอบ/
บันทึกรายการ
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
เครื่องมือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ
1. เคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น
• เคร่ืองช่ัง ตวง วัด
• เคร่ืองทดสอบร่างกาย
• วิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
• แบบประเมิน ความเส่ียงเฉพาะโรค หรือกลุ่มอาการ
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
เครื่องมือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ต่อ)
2. เครื่องมือทางสังคมศาสตร์และศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
• แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์
• แบบทดสอบ/แบบวัดความรู้
• แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึกการสังเกต
• แบบตรวจสอบรายการ
• ผู้วิจัย
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
การสร้างเครื่องมือวิจัย เป็นกระบวนการที่ผู้วิจัยจะต้อง
พิถีพิถันสร้างให้ตรงกับความต้องการ ข้อมูลของผู้วิจัย
ต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบเพราะถ้าสร้างเครื่องมือ
ที่ไม่เหมาะสมจะทำให้ได้ข้อมูลที่ผิดพลาด คลาดเคลื่อน
และจะนำไปสู่ผลการวิจัยที่ผิดตามมา
”
“
การสร้างเครื่องมือวิจัย.
(อรุณี,2554)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
การสร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
การสร้างเครื่องมือการวิจัยในการรวบรวมข้อมูลทุก
ประเภท ไม่ว่าจะเป็น แบบสังเกต แบบสอบถาม หรือ
แบบ สัมภาษณ์ จะมีกระบวนการสร้างเหมือนกัน จะแตก
ต่างเฉพาะเนื้อหาที่จะทำการวิเคราะห์ซ่ึงความแตกต่างที่
เห็นได้ชัดเจน คือ การเขียนคำถาม และการวางรูปแบบ
ของเครื่องมือเนื่องจาก เครื่องมือแต่ละประเภทมีเทคนิค
และวิธีการรวบรวมข้อมูลแตกต่างกัน
“
”(อรุณี,2554)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย
1. วิเคราะห์ปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมุติฐานและกรอบ
แนวคิดในการวิจัย
- เพื่อให้ทราบว่ามีตัวแปรใดบ้างที่ต้องรวบรวมข้อมูล
- เพื่อใช้อธิบาย/อภิปรายผลการวิจัย
2. ศึกษาค้นความแนวคิด ทฤษฎีและรายงานการวิจัย
- จะทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดประเด็นย่อยของตัวแปรการวิจัย
(อรุณี,2554)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ)
3. วิเคราะห์นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย
- เพ่ือกำหนดประเด็นย่อยของตัวแปรที่จะต้องรวบรวมข้อมูล
- เพื่อปรับปรุงนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัยให้สมบูรณ์
ชัดเจนยิ่งขึ้น
4.กำหนดกรอบตัวแปรของเครื่องมือการวิจัย
- เพื่อจัดระเบียบหมวดหมู่ตัวแปรแต่ละตัว
- สามารถใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหา
(อรุณี,2554)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ)
5. การเขียนคำถามและวางรูปแบบเคร่ืองมือ การวิจัย
- เป็นการเขียนคำถาม คำตอบ หรือส่ิงที่ต้องการ
รวบรวมข้อมูลจากกรอบตัวแปร
- จัดพิมพ์เป็นเครื่องมือการวิจัยฉบับร่าง
6.ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย โดยนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ
- ด้านความเข้าใจในภาษาที่ใช้
- ด้านความตรง
(อรุณี,2554)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
7. ปรับปรุงเคร่ืองมือการวิจัย
- ปรับปรุงเคร่ืองมือที่ ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว
8. ทดสอบเครื่องมือวิจัย
- ทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างที่มีความใกล้เคียงกับกลุ่มศึกษามาก
ที่สุด
- พิจารณาการกระจายของกล่มุตัวอย่างเพราะอาจส่งผลให้เกิด
ความแปรปรวน
กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ)
(อรุณี,2554)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
9. ตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพของเครื่องมือวิจัย
- ตรวจสอบเครื่องมือในด้านความเท่ียงและอำนาจจำแนก
10. พิจารณากล่มุคำถามและความต่อเนื่องของคำถาม
- เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มาสะดวกในการวิเคราะห์
- ควรกำหนดรหัสและคู่มือลงรหัสไปพร้อมกัน
กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ)
(อรุณี,2554)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
ความตรงของเครื่องมือ
การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย
เป็นการตรวจสอบเบื้องต้นเพื่อพิจารณาความสอดคล้องของ
ประเด็นต่างๆที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลของเครื่องมือกับตัวแปร
การวิจัย
“ ”
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
เช่น ถ้าเป็นแบบสอบถามจะเป็นการตรวจสอบความ สอดคล้องของคำถามคำตอบกับตัวแปรการวิจัยในกรอบ ตัวแปร ซ่ึงถ้าไม่มีการสร้างกรอบตัวแปร ก็ต้องนําไป ตรวจสอบกับปัญหา วัตถุประสงค์ และสมมุติฐาน
ถ้า สอดคล้องกันแสดงว่าเคร่ืองมือน้ันมีความตรงเชิงเนื้อหา
Information and Communication Technology for Education.
ความตรงของเครื่องมือ(ต่อ)
การตรวจสอบความตรงโดยผู้เช่ียวชาญเฉพาะเรื่อง
โดยต้องคัดเลือกผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 ท่านซึ่ง ประกอบด้วย
- ผู้ที่รู้เร่ืองเนื้อหาสาระที่จะทำวิจัย
- ผู้ที่รู้ทฤษฎที่ช้ในการทำวิจัย
- ผู้ที่รู้เร่ืองการสร้างเคร่ืองมือหรือนักวัดและประเมินผล
“ ”
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
การตรวจสอบความตรงโดยวิธีอื่นๆ
โดยส่วนใหญ่ จะใช้วิธีทางสถิติ เช่น
การหาค่าสหสัมพันธ์ภายในของเคร่ืองมือ(Internal
Consistency หรือ Item Correlation) โดยการหาความ
สอดคล้องระหว่างคะแนนของคำถามแต่ละข้อ กับคะแนนของ
ข้อคำถามทั้งหมดถ้าข้อคำถามใดที่มีค่าสหสัมพันธ์กับคะแนน
รวมสูง แสดงว่ามีความตรงสูง
ความตรงของเครื่องมือ(ต่อ)
“ ”
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
ความเที่ยงของเครื่องมือ
เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่แสดงให้ทราบว่า เคร่ือง
มือน้ันให้ผลคงที่เพียงใด ซ่ึงแสดงในรูปของ ค่าสัมประสิทธ์ิ
สหสัมพันธ์ หรือเรียกว่า
ค่าสัมประสิทธ์ิของ ความเที่ยง (Reliability Coefficient)
ซ่ึงมีค่าระหว่าง 0 -1
0 หมายถึง เคร่ืองมือน้ันไม่มีความเที่ยง
1 หมายถึง เคร่ืองมือน้ันมีความเที่ยงสูง
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
โดยปกติแล้วเคร่ืองมือการวิจัยควรมีค่าความเที่ยง ไม่น้อยกว่า 0.65แต่ที่ดีควรจะ
มีค่ามากกว่า 0.75
Information and Communication Technology for Education.
อำนาจจำแนกของเครื่องมือรายข้อ
เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถจำแนกกลุ่มตัวอย่างที่
มีคุณสมบัติต่างกันออกจากกันได้ค่าอำนาจ จำแนกจะมีค่า
ระหว่าง -1 ถึง +1
- ข้อคาํถามที่มีอำนาจจำแนกเป็น + และเข้าใกล้1 แสดงว่า
เป็นข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนก
- ข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนกเป็น 0 แสดงว่าเป็นข้อคำถาม
ท่ีไม่มีอำนาจจำแนก
(อดุลย์เดช,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ
แบบทดสอบ
แบบสังเกต
Monday, October 5, 15
ผลงานวิจัยเชิงบรรยาย งานวิจัยเชิงเปรียบเทียบ งานวิจัยเชิงหาความสัมพันธ หรืองานวิจัยเชิงหาสาเหตุ งานวิจัยเหลานี้ มักนิยมใชเครื่องมือในการวิจัย เพียง 4 ชนิด คือ
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(เกียรติสุดา,2546)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
การเก็บรวบรวมข้อมูล
เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการทางสถิติที่มีความสำคัญ เพื่อ
ให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับ
กรอบแนวความคิด สมมุติฐาน เทคนิคการวัด และการวิเคราะห์
ข้อมูล ซึ่งหมายรวมทั้ง การเก็บข้อมูล (Data Collection) คือ
การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการรวบรวมข้อมูล (Data
Compilation) ซึ่งหมายถึง การนำเอาข้อมูลต่างๆที่ผู้อื่นได้เก็บ
ไว้แล้ว หรือรายงานไว้ในเอกสารต่างๆ มาทำการศึกษวิเคราะห์
ต่อ
(บุญธรรม,2542)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
ประเภทของข้อมูล
1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ
ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือนำมาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนำ
ไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้
          2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ
ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะนำไป
วิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความหรือข้อสนเทศ
(บุญธรรม,2542)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
แหล่งที่มาของข้อมูล
แหล่งข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ บุคคล เช่น ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้
กรอกแบบสอบถาม บุคคลที่ถูกสังเกต เอกสารทุกประเภท
และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึง ภาพถ่าย แผนที่
แผนภูมิ หรือแม้แต่วัตถุ สิ่งของ ก็ถือเป็นแหล่งข้อมูลได้ทั้ง
สิ้น โดยทั่วไปสามารถจัดประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาได้
2 ประเภท
(บุญธรรม,2542)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
ข้อมูลปฐมภูมิ
(Primary Dat)
คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์
การวิจัยในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ การเลือกใช้ข้อมูลแบบปฐม
ภูมิ ผู้วิจัยจะสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ตรงตามความต้องการ
และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตลอดจนเทคนิคการวิเคราะห์
แต่มีข้อเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย และอาจมีคุณภาพ
ไม่ดีพอ หากเกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลภาคสนาม.
(บุญธรรม,2542)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
ข้อมูลทุติยภูมิ
(Secondary Data)
คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่นัก
วิจัยนำข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่ เช่น ข้อมูลสำมะโน
ประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุกประเภท ช่วยให้ผู้
วิจัยประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บข้อมูลใหม่
และสามารถศึกษาย้อนหลังได้ ทำให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลง
และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่ศึกษา แต่จะมี
ข้อจำกัดในเรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์.
(บุญธรรม,2542)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
การใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
(ภัทรธิดา,2555)
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
บรรณานุกรม
เกียรติสุดา ศรีสุข. (2546). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชา 055400 เรื่อง การ
วัดและประเมินผลทางการศึกษา. เชียงใหม. คณะศึกษาศาสตร
อดุลยเดช ไศทบาท. (2555). เครื่องมือการวิจัย. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http://
hsmi.psu.ac.th/upload/forum/research_tools_by_adundech.pdf .(วันที่สืบคนขอมูล 3
ตุลาคม 2558)
ภัทรธิดา ผลงาม. (2555). การเลือกใชสถิติในการวิเคราะหขอมูล. (ออนไลน). เขาถึงได
จาก http://www.tuct.ac.th/km/article/stat_1.pdf.(วันที่สืบคนขอมูล 3 ตุลาคม 2558)
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ. เทคนิคการสรางเครื่องมือรวบรวมขอมูลสำหรับการวิจัย.
กรุงเทพฯ:B&B Publishing, 2542...... อานตอไดที่: https://www.gotoknow.org/posts/
203303
Monday, October 5, 15
Information and Communication Technology for Education.
ขอบคุณครับ
Monday, October 5, 15

More Related Content

Viewers also liked

6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูลpatmalya
 
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือpatmalya
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ Naracha Nong
 
แก้ไข2 สถิติปี2556
แก้ไข2 สถิติปี2556แก้ไข2 สถิติปี2556
แก้ไข2 สถิติปี2556jutatip pairuangsom
 
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังอลงกรณ์ อารามกูล
 
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพรแกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพรtopcat3708
 
ทบทวนงบการเงิน
ทบทวนงบการเงินทบทวนงบการเงิน
ทบทวนงบการเงินtumetr1
 
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการเทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการPrachyanun Nilsook
 
การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]
การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]
การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]Fon Slowlife
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคีPrachyanun Nilsook
 
ธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพ
ธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพ
ธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพThanom Ketem
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษChantana Papattha
 

Viewers also liked (18)

6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
6 1-ความรู้เกี่ยวกับข้อมูล
 
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
6 2-2-การออกแบบเครื่องมือ
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
Analytical thinking3
Analytical thinking3Analytical thinking3
Analytical thinking3
 
แก้ไข2 สถิติปี2556
แก้ไข2 สถิติปี2556แก้ไข2 สถิติปี2556
แก้ไข2 สถิติปี2556
 
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลังLPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
LPA ด้าน 3 การบริหารงานการเงินและการคลัง
 
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพรแกะเงื่อนงบการเงิน   ดร.ภาพร เอกอรรถพร
แกะเงื่อนงบการเงิน ดร.ภาพร เอกอรรถพร
 
ทบทวนงบการเงิน
ทบทวนงบการเงินทบทวนงบการเงิน
ทบทวนงบการเงิน
 
entrepreneur
entrepreneur entrepreneur
entrepreneur
 
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการเทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
เทคนิคการขอตำแหน่งทางวิชาการ
 
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการLPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
LPA ด้าน 1 การบริหารจัดการ
 
การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]
การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]
การเขียนรายงานและภาคนิพนธ์ 1 อ.ฝน [โหมดความเข้ากันได้]
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
3.การจัดการเรียนการสอนทวิภาคี
 
ทำ Mind mapping
ทำ Mind mappingทำ Mind mapping
ทำ Mind mapping
 
ธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพ
ธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพ
ธุรกิจที่ดี "ต้องมี" อะไร : การบริหารจัดการ SMEs อย่างมีประสิทธิภาพ
 
Ebook004
Ebook004Ebook004
Ebook004
 
นักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษนักศึกษาในศตวรรษ
นักศึกษาในศตวรรษ
 

PPT tools research kriangkrai1

  • 1. Information and Communication Technology for Education. เกรียงไกร พละสนธิ. Monday, October 5, 15
  • 2. Information and Communication Technology for Education. Monday, October 5, 15
  • 3. Information and Communication Technology for Education. เครื่องมือการวิจัย หมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ์ หรือสิ่งที่ใช้ เป็นสื่อสําหรับนักวิจัย ใช้ในการรวบรวมข้อมูลตามตัวแปร ในการวิจัยที่กําหนดไว้ ข้อมูลดังกล่าวอาจเป็นได้ทั้งข้อมูล เชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ เครื่องมือการวิจัยนับเป็น ส่วนหนึ่งของการวิจัยทุกชนิด ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาเฉพาะ กรณี การวิจัยเชิงสํารวจ การวิจัยเชิงทดลอง เครื่องมือวิจัย. (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15
  • 4. Information and Communication Technology for Education. * ใช้ในการรวบรวมข้อมูล * เป็นตัวเชื่อม * ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลให้กระชับ ตรงประเด็น * ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น - ความสำคัญของเครื่องมือวิจัย. (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15 ความสําคัญของเครื่องมือการวิจัย ได้แก่ 1.ใช้ในการรวบรวมข้อมูลซึ่งเป็นส่วนประกอบสําคัญของการวัดการประเมินตัวแปรในการวิจัย 2.เป็นตัวเชื่อมระหว่างปัญหา วัตถุประสงค์ และสมมุติฐานในการวิจัยกับข้อมูลที่จะนํามาใช้เป็นหลักฐาน 3.ช่วยให้การรวบรวมข้อมูลกระชับ ตรงประเด็น ต่อเนื่องเป็นขั้นตอนซึ่งจะช่วยลดความผิดพลาดของการรวบรวมข้อมูล 4.ช่วยในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อให้การวิเคราะห์ง่ายขึ้น เช่น การจัดหมวดหมู่ข้อมูล การสร้างรหัสข้อมูลและคู่มือลงรหัส และการวางแผนการใช้ สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล
  • 5. Information and Communication Technology for Education. ประเภทของของเครื่องมือการวิจัย เครื่องมือในการทดลอง มักเป็นอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์ที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ : แบบสอบถาม,แบบสัมภาษณ์,แบบทดสอบ/แบบวัดความรู้, แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึก การสังเกต,แบบตรวจสอบ/ บันทึกรายการ (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15
  • 6. Information and Communication Technology for Education. เครื่องมือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 1. เคร่ืองมือทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เช่น • เคร่ืองช่ัง ตวง วัด • เคร่ืองทดสอบร่างกาย • วิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • แบบประเมิน ความเส่ียงเฉพาะโรค หรือกลุ่มอาการ (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15
  • 7. Information and Communication Technology for Education. เครื่องมือการวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ (ต่อ) 2. เครื่องมือทางสังคมศาสตร์และศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ • แบบสอบถาม/แบบสัมภาษณ์ • แบบทดสอบ/แบบวัดความรู้ • แบบบันทึกข้อมูล/แบบบันทึกการสังเกต • แบบตรวจสอบรายการ • ผู้วิจัย (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15
  • 8. Information and Communication Technology for Education. การสร้างเครื่องมือวิจัย เป็นกระบวนการที่ผู้วิจัยจะต้อง พิถีพิถันสร้างให้ตรงกับความต้องการ ข้อมูลของผู้วิจัย ต้องมีการวางแผนอย่างรอบคอบเพราะถ้าสร้างเครื่องมือ ที่ไม่เหมาะสมจะทำให้ได้ข้อมูลที่ผิดพลาด คลาดเคลื่อน และจะนำไปสู่ผลการวิจัยที่ผิดตามมา ” “ การสร้างเครื่องมือวิจัย. (อรุณี,2554) Monday, October 5, 15
  • 9. Information and Communication Technology for Education. การสร้างเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล การสร้างเครื่องมือการวิจัยในการรวบรวมข้อมูลทุก ประเภท ไม่ว่าจะเป็น แบบสังเกต แบบสอบถาม หรือ แบบ สัมภาษณ์ จะมีกระบวนการสร้างเหมือนกัน จะแตก ต่างเฉพาะเนื้อหาที่จะทำการวิเคราะห์ซ่ึงความแตกต่างที่ เห็นได้ชัดเจน คือ การเขียนคำถาม และการวางรูปแบบ ของเครื่องมือเนื่องจาก เครื่องมือแต่ละประเภทมีเทคนิค และวิธีการรวบรวมข้อมูลแตกต่างกัน “ ”(อรุณี,2554) Monday, October 5, 15
  • 10. Information and Communication Technology for Education. กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย 1. วิเคราะห์ปัญหา วัตถุประสงค์ของการวิจัย สมมุติฐานและกรอบ แนวคิดในการวิจัย - เพื่อให้ทราบว่ามีตัวแปรใดบ้างที่ต้องรวบรวมข้อมูล - เพื่อใช้อธิบาย/อภิปรายผลการวิจัย 2. ศึกษาค้นความแนวคิด ทฤษฎีและรายงานการวิจัย - จะทำให้ได้ข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดประเด็นย่อยของตัวแปรการวิจัย (อรุณี,2554) Monday, October 5, 15
  • 11. Information and Communication Technology for Education. กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ) 3. วิเคราะห์นิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัย - เพ่ือกำหนดประเด็นย่อยของตัวแปรที่จะต้องรวบรวมข้อมูล - เพื่อปรับปรุงนิยามเชิงปฏิบัติการของตัวแปรการวิจัยให้สมบูรณ์ ชัดเจนยิ่งขึ้น 4.กำหนดกรอบตัวแปรของเครื่องมือการวิจัย - เพื่อจัดระเบียบหมวดหมู่ตัวแปรแต่ละตัว - สามารถใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัญหา (อรุณี,2554) Monday, October 5, 15
  • 12. Information and Communication Technology for Education. กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ) 5. การเขียนคำถามและวางรูปแบบเคร่ืองมือ การวิจัย - เป็นการเขียนคำถาม คำตอบ หรือส่ิงที่ต้องการ รวบรวมข้อมูลจากกรอบตัวแปร - จัดพิมพ์เป็นเครื่องมือการวิจัยฉบับร่าง 6.ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย โดยนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญ - ด้านความเข้าใจในภาษาที่ใช้ - ด้านความตรง (อรุณี,2554) Monday, October 5, 15
  • 13. Information and Communication Technology for Education. 7. ปรับปรุงเคร่ืองมือการวิจัย - ปรับปรุงเคร่ืองมือที่ ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญแล้ว 8. ทดสอบเครื่องมือวิจัย - ทดสอบกับกลุ่มตัวอย่างที่มีความใกล้เคียงกับกลุ่มศึกษามาก ที่สุด - พิจารณาการกระจายของกล่มุตัวอย่างเพราะอาจส่งผลให้เกิด ความแปรปรวน กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ) (อรุณี,2554) Monday, October 5, 15
  • 14. Information and Communication Technology for Education. 9. ตรวจสอบและปรับปรุงคุณภาพของเครื่องมือวิจัย - ตรวจสอบเครื่องมือในด้านความเท่ียงและอำนาจจำแนก 10. พิจารณากล่มุคำถามและความต่อเนื่องของคำถาม - เพื่อให้ข้อมูลที่ได้มาสะดวกในการวิเคราะห์ - ควรกำหนดรหัสและคู่มือลงรหัสไปพร้อมกัน กระบวนการสร้างเครื่องมือการวิจัย (ต่อ) (อรุณี,2554) Monday, October 5, 15
  • 15. Information and Communication Technology for Education. ความตรงของเครื่องมือ การตรวจสอบความตรงโดยนักวิจัย เป็นการตรวจสอบเบื้องต้นเพื่อพิจารณาความสอดคล้องของ ประเด็นต่างๆที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลของเครื่องมือกับตัวแปร การวิจัย “ ” (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15 เช่น ถ้าเป็นแบบสอบถามจะเป็นการตรวจสอบความ สอดคล้องของคำถามคำตอบกับตัวแปรการวิจัยในกรอบ ตัวแปร ซ่ึงถ้าไม่มีการสร้างกรอบตัวแปร ก็ต้องนําไป ตรวจสอบกับปัญหา วัตถุประสงค์ และสมมุติฐาน ถ้า สอดคล้องกันแสดงว่าเคร่ืองมือน้ันมีความตรงเชิงเนื้อหา
  • 16. Information and Communication Technology for Education. ความตรงของเครื่องมือ(ต่อ) การตรวจสอบความตรงโดยผู้เช่ียวชาญเฉพาะเรื่อง โดยต้องคัดเลือกผู้เชี่ยวชาญอย่างน้อย 3 ท่านซึ่ง ประกอบด้วย - ผู้ที่รู้เร่ืองเนื้อหาสาระที่จะทำวิจัย - ผู้ที่รู้ทฤษฎที่ช้ในการทำวิจัย - ผู้ที่รู้เร่ืองการสร้างเคร่ืองมือหรือนักวัดและประเมินผล “ ” (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15
  • 17. Information and Communication Technology for Education. การตรวจสอบความตรงโดยวิธีอื่นๆ โดยส่วนใหญ่ จะใช้วิธีทางสถิติ เช่น การหาค่าสหสัมพันธ์ภายในของเคร่ืองมือ(Internal Consistency หรือ Item Correlation) โดยการหาความ สอดคล้องระหว่างคะแนนของคำถามแต่ละข้อ กับคะแนนของ ข้อคำถามทั้งหมดถ้าข้อคำถามใดที่มีค่าสหสัมพันธ์กับคะแนน รวมสูง แสดงว่ามีความตรงสูง ความตรงของเครื่องมือ(ต่อ) “ ” (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15
  • 18. Information and Communication Technology for Education. ความเที่ยงของเครื่องมือ เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่แสดงให้ทราบว่า เคร่ือง มือน้ันให้ผลคงที่เพียงใด ซ่ึงแสดงในรูปของ ค่าสัมประสิทธ์ิ สหสัมพันธ์ หรือเรียกว่า ค่าสัมประสิทธ์ิของ ความเที่ยง (Reliability Coefficient) ซ่ึงมีค่าระหว่าง 0 -1 0 หมายถึง เคร่ืองมือน้ันไม่มีความเที่ยง 1 หมายถึง เคร่ืองมือน้ันมีความเที่ยงสูง (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15 โดยปกติแล้วเคร่ืองมือการวิจัยควรมีค่าความเที่ยง ไม่น้อยกว่า 0.65แต่ที่ดีควรจะ มีค่ามากกว่า 0.75
  • 19. Information and Communication Technology for Education. อำนาจจำแนกของเครื่องมือรายข้อ เป็นคุณสมบัติของเครื่องมือที่สามารถจำแนกกลุ่มตัวอย่างที่ มีคุณสมบัติต่างกันออกจากกันได้ค่าอำนาจ จำแนกจะมีค่า ระหว่าง -1 ถึง +1 - ข้อคาํถามที่มีอำนาจจำแนกเป็น + และเข้าใกล้1 แสดงว่า เป็นข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนก - ข้อคำถามที่มีอำนาจจำแนกเป็น 0 แสดงว่าเป็นข้อคำถาม ท่ีไม่มีอำนาจจำแนก (อดุลย์เดช,2555) Monday, October 5, 15
  • 20. Information and Communication Technology for Education. แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ แบบทดสอบ แบบสังเกต Monday, October 5, 15 ผลงานวิจัยเชิงบรรยาย งานวิจัยเชิงเปรียบเทียบ งานวิจัยเชิงหาความสัมพันธ หรืองานวิจัยเชิงหาสาเหตุ งานวิจัยเหลานี้ มักนิยมใชเครื่องมือในการวิจัย เพียง 4 ชนิด คือ
  • 21. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 22. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 23. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 24. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 25. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 26. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 27. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 28. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 29. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 30. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 31. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 32. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 33. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 34. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 35. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 36. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 37. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 38. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 39. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 40. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 41. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 42. Information and Communication Technology for Education. (เกียรติสุดา,2546) Monday, October 5, 15
  • 43. Information and Communication Technology for Education. Monday, October 5, 15
  • 44. Information and Communication Technology for Education. การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการทางสถิติที่มีความสำคัญ เพื่อ ให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่ตอบสนองวัตถุประสงค์ และสอดคล้องกับ กรอบแนวความคิด สมมุติฐาน เทคนิคการวัด และการวิเคราะห์ ข้อมูล ซึ่งหมายรวมทั้ง การเก็บข้อมูล (Data Collection) คือ การเก็บข้อมูลขึ้นมาใหม่ และการรวบรวมข้อมูล (Data Compilation) ซึ่งหมายถึง การนำเอาข้อมูลต่างๆที่ผู้อื่นได้เก็บ ไว้แล้ว หรือรายงานไว้ในเอกสารต่างๆ มาทำการศึกษวิเคราะห์ ต่อ (บุญธรรม,2542) Monday, October 5, 15
  • 45. Information and Communication Technology for Education. ประเภทของข้อมูล 1) ข้อมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) คือ ข้อมูลที่เป็นตัวเลขหรือนำมาให้รหัสเป็นตัวเลข ซึ่งสามารถนำ ไปใช้วิเคราะห์ทางสถิติได้           2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) คือ ข้อมูลที่ไม่ใช่ตัวเลข ไม่ได้มีการให้รหัสตัวเลขที่จะนำไป วิเคราะห์ทางสถิติ แต่เป็นข้อความหรือข้อสนเทศ (บุญธรรม,2542) Monday, October 5, 15
  • 46. Information and Communication Technology for Education. แหล่งที่มาของข้อมูล แหล่งข้อมูลที่สำคัญ ได้แก่ บุคคล เช่น ผู้ให้สัมภาษณ์ ผู้ กรอกแบบสอบถาม บุคคลที่ถูกสังเกต เอกสารทุกประเภท และข้อมูลสถิติจากหน่วยงาน รวมไปถึง ภาพถ่าย แผนที่ แผนภูมิ หรือแม้แต่วัตถุ สิ่งของ ก็ถือเป็นแหล่งข้อมูลได้ทั้ง สิ้น โดยทั่วไปสามารถจัดประเภทข้อมูลตามแหล่งที่มาได้ 2 ประเภท (บุญธรรม,2542) Monday, October 5, 15
  • 47. Information and Communication Technology for Education. ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Dat) คือ ข้อมูลที่ผู้วิจัยเก็บขึ้นมาใหม่เพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์ การวิจัยในเรื่องนั้นๆ โดยเฉพาะ การเลือกใช้ข้อมูลแบบปฐม ภูมิ ผู้วิจัยจะสามารถเลือกเก็บข้อมูลได้ตรงตามความต้องการ และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ตลอดจนเทคนิคการวิเคราะห์ แต่มีข้อเสียตรงที่สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่าย และอาจมีคุณภาพ ไม่ดีพอ หากเกิดความผิดพลาดในการเก็บข้อมูลภาคสนาม. (บุญธรรม,2542) Monday, October 5, 15
  • 48. Information and Communication Technology for Education. ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) คือ ข้อมูลต่างๆ ที่มีผู้เก็บหรือรวบรวมไว้ก่อนแล้ว เพียงแต่นัก วิจัยนำข้อมูลเหล่านั้นมาศึกษาใหม่ เช่น ข้อมูลสำมะโน ประชากร สถิติจากหน่วยงาน และเอกสารทุกประเภท ช่วยให้ผู้ วิจัยประหยัดค่าใช้จ่าย ไม่ต้องเสียเวลากับการเก็บข้อมูลใหม่ และสามารถศึกษาย้อนหลังได้ ทำให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลง และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของปรากฏการณ์ที่ศึกษา แต่จะมี ข้อจำกัดในเรื่องความครบถ้วนสมบูรณ์. (บุญธรรม,2542) Monday, October 5, 15
  • 49. Information and Communication Technology for Education. Monday, October 5, 15
  • 50. Information and Communication Technology for Education. การใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 51. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 52. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 53. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 54. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 55. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 56. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 57. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 58. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 59. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 60. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 61. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 62. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 63. Information and Communication Technology for Education. (ภัทรธิดา,2555) Monday, October 5, 15
  • 64. Information and Communication Technology for Education. บรรณานุกรม เกียรติสุดา ศรีสุข. (2546). เอกสารประกอบการบรรยายกระบวนวิชา 055400 เรื่อง การ วัดและประเมินผลทางการศึกษา. เชียงใหม. คณะศึกษาศาสตร อดุลยเดช ไศทบาท. (2555). เครื่องมือการวิจัย. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก http:// hsmi.psu.ac.th/upload/forum/research_tools_by_adundech.pdf .(วันที่สืบคนขอมูล 3 ตุลาคม 2558) ภัทรธิดา ผลงาม. (2555). การเลือกใชสถิติในการวิเคราะหขอมูล. (ออนไลน). เขาถึงได จาก http://www.tuct.ac.th/km/article/stat_1.pdf.(วันที่สืบคนขอมูล 3 ตุลาคม 2558) บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธ. เทคนิคการสรางเครื่องมือรวบรวมขอมูลสำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ:B&B Publishing, 2542...... อานตอไดที่: https://www.gotoknow.org/posts/ 203303 Monday, October 5, 15
  • 65. Information and Communication Technology for Education. ขอบคุณครับ Monday, October 5, 15