SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1
รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย
เรื่อง การกลับมาของเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21
(The New Silk Road): ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใหม่ของยุโรป
โดย อ.ศิวพล ละอองสกุล
อาจารย์ประจําภาควิชารัฐศาสตร์วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน 2558เวลา 14.00 – 18.00 น.
ณ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพฯ
1. ตะวันตกเคลื่อนเข้าสู่คอเคซัสและเอเชียกลางหลังสภาพโซเวียตล่มสลาย
หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลาย ตะวันตกคือสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปก็เคลื่อนเข้าสู่
คอเคซัสและเอเชียกลาง เพื่อแผ่อิทธิพลเข้าแทนที่สหภาพโซเวียตและทําให้ดินแดนที่เคยอยู่ใต้อิทธิ
สหภาพโซเวียตนี้หันมาทางตะวันตกมากขึ้น สหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงรัฐบาลบิล
คลินตัน ได้ให้ความสําคัญมากกับภูมิภาคอเคซัส ตะวันตกประสบความสําเร็จไม่น้อยในการทําให้
ภูมิภาคคอเคซัสและเอเชียกลางมาอยู่กับตะวันตก สหรัฐนั้นเข้าไปช่วยแก้ไขความขัดแย้งระหว่าง
อาร์เมเนียกับอาเซอร์ไบจาน สหรัฐอเมริกา อาเซอร์ไบจานและตุรกีร่วมกันผลักดันโครงการท่อส่ง
นํ้ามันบากู-ทบิลิซี-เซฮาน และท่อส่งก๊าซบากู-ทบิลิซี-เออร์ซูรุม สําเร็จ ในขณะที่สหภาพยุโรปก็ทํา
นโยบาย “เพื่อนบ้านด้านตะวันออก” และทํา “หุ้นส่วนตะวันออก”(Eastern Partnership) เพื่อร่วมมือ
ทางเศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยวกับอาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย เบลารุส มอลโดวาและยูเครน เพื่อรุกเข้าสู่
คอเคซัสและเอเชียกลาง เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ การรุกเข้าสู่คอเคซัสและเอเชียกลาง
ของตะวันตกได้หยุดชะงักลง การหันไปให้ความสําคัญต่อตะวันออกกลางของสหรัฐ และความตกตํ่า
ทางเศรษฐกิจของยุโรป บวกกับการรุกรานจอร์เจียของรัสเซีย ทําให้ตะวันตก น่าจะเป็นสาเหตุสําคัญ
2. การกลับมาใหม่ของตะวันตก
เดิมนั้นยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรปต่อคอเคซัสและเอเชียกลางจะเน้นเรื่อง Soft Power เป็น
หลัก คือ เน้นเรื่อง สิทธิมนุษยชน การค้า การศึกษา สิ่งแวดล้อม หลักนิติรัฐ เป็นต้น แต่ตอนนี้
ยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรป เน้นที่ด้านความมั่นคงมากขึ้น
ขณะนี้ สหภาพยุโรป รวมทั้งสหรัฐกําลังกลับมาให้ความสําคัญกับคอเคซัสและเอเชียกลางอีก
ครั้ง ด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์ระหว่างประทศ ความมั่นคงและเศรษฐกิจ ในที่นี้จะกล่าวแต่เฉพาะ
2
สหภาพยุโรปเป็นหลัก ภูมิภาคที่สหภาพยุโรปให้ความสําคัญเป็นพิเศษคือ บริเวณคอเคซัสใต้ (South
Caucasus)
2.1 ความสําคัญของคอเคซัสใต้
คอเคซัสใต้ ประกอบด้วย จอร์เจีย อาร์เมเนียและอาเซอร์ไบจาน แม้จะมีขนาดเล็ก
ประชากรราว 16 ล้านคน แต่คอเคซัสใต้มีความสําคัญ ดังนี้
• ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เป็น intersection ระหว่างสามมหาอํานาจของยูเรเชีย คือ รัสเซีย อิหร่าน
และตุรกี
• คอเคซัสใต้เป็น crossing point ทั้งตะวันออก-ตะวันตก เหนือ-ใต้เป็น corridor ทางการค้า
และการคมนาคมขนส่ง ตั้งแต่อดีต คอเคซัสเป็นทั้งจุดเชื่อมและกันชน ระหว่างทะเลดํากับ
ทะเลแคสเปี้ ยน ยุโรปกับเอเชียกลาง ไปถึงจีน อินเดีย ยุโรปเหนือ รัสเซียและตะวันออก
กลาง เป็น bottleneck ของ east-west corridor ที่เชื่อมยุโรป เอเชีย เป็นเหมือนคลองสุเอซ
คลองปานามา ช่องแคบฮอร์มุซ และเหมือนช่องแคบมะละกา แต่เป็น Land Suez มากกว่า
• ในสถานการณ์ปัจจุบัน คอเคซัสใต้จะยิ่งมีความสําคัญต่อตะวันตกมากขึ้นไปอีก อัน
เนื่องมาจาก การแผ่อิทธิพลของรัสเซีย การเกิดขึ้นของขบวนการรับอิสลามในตะวันออก
กลาง การแผ่อิทธิพลเข้าสู่ตะวันออกลางจากซีเรียสู่เยเมนของอิหร่าน และการเปลี่ยนแปลง
ทางการเมืองในตุรกีที่ฝ่ายนิยมอิสลามที่ต่อต้านตะวันตกกําลังมีอํานาจมากขึ้นเรื่อยๆ
ดังนั้น ตะวันตก จะหันกลับมาให้ความสําคัญกับทั้งคอเคซัสใต้และเอเชียกลางอีกครั้ง ด้วย
เหตุผลทางยุทธศาสตร์ที่สําคัญสามประการ คือ
• ต้องการใช้คอเคซัสใต้และเอเชียกลาง เป็น pressure point ยันนโยบายขยายแบบก้าวร้าวของ
รัสเซีย
• คอเคซัสและเอเชียกลางเป็นดินแดนอิสลามแบบ secular ตะวันตกอาจจะใช้สองดินแดนนี้ เป็น
bulwark กั้นอิทธิพลของกระแสอิสลามหัวรุนแรง กล่าวตรงๆก็คือ ยุโรปและอเมริกาจะใช้คอเค
ซัสกับเอเชียกลางสกัดการขยายตัวของทั้งรัสเซียและขบวนการรัฐอิสลาม
• ยุโรปต้องการใช้คอเคซัส เชื่อมเข้าสู่เอเชียกลาง จีน และอินเดีย เพื่อสร้างเชื่อมค้าระหว่าง
ยุโรป-เอเชีย ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าทางบก ที่การขนส่งถูกกว่าและเร็วกว่าทางทะเล
3. ระเบียงการคมนาคม-ขนส่ง ยุโรป-คอเคซัส-เอเชีย (Transport Corridor Europe-Caucasus-Asia-
TRACECA)
3
ต่อไปนี้จะเรียก TRACECA TRACECA คือ ยุทธศาสตร์ที่สําคัญที่สุดของสหภาพยุโรปในการ
เชื่อมยุโรป คอเคซัส เอเชียกลาง และจีน หรือ อาจจะพูดได้ว่า TRACECA นี่แหละคือ ยุทธศาสตร์
เส้นทางสายไหมใหม่ของยุโรป TRACECA นั้นมีสถานะเป็น Intergovernmental Commission มี
ประเทศสมาชิก 14 ประเทศ คือ อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน บัลแกเรีย จอร์เจีย อิหร่าน คาซักสถาน คีร์กิซ
สถาน มอลโดวา โรมาเนีย ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสถาน ตุรกี ยูเครนและอุซเบกิสถาน TRACECA เริ่มมา
ตั้งแต่ปี 1993 หลังสหภาพโซเวียตล่มสลายไม่กี่ปี
TRACECA ต้องการเชื่อมยุโรปกับเอเชีย (ผ่านการบิน ทางรถไฟ ท่าเรือ ถนน) จะเริ่มจากยุโรป
ตะวันออก ที่โรมาเนีย บัลแกเรีย ยูเครน บวกกับตุรกี ผ่านทะเลดําเข้าสู่ท่าเรือใน Porti ของจอร์เจีย มา
เชื่อมเครือข่ายการคมนาคมขนส่งของคอเคซัสใต้และเส้นทางบกจากตุรกี จากนั้นจากท่าเรือของ
อาเซอร์ไบจาน ก็เชื่อมกับเครือข่ายรถไฟของเอเชียกลาง ไปถึงจีน และอัฟกานิสถาน
ตามยุทธศาสตร์นี้ ยุโรปมีแผนจะทําอะไรบ้าง? ในปี 2012 มีการเสนอโครงการสําคัญต่างๆ
เป็น priority project เช่น โครงการสร้างศูนย์โลจิสติกส์ที่เยเรวานของอาร์เมเนีย สร้างใกล้ๆกับ
สนามบิน Zvartnots International Airport เริ่มเมื่อปี 2012 จะแล้วเสร็จในปีนี้ คือ ปี 2015
โครงการปรับปรุงทางรถไฟในอาเซอร์ไบจาน จากบากู-อัลยัต-เบยุก-เคสิก บัลแกเรียกําลังทํา
โครงการพัฒนาเมือง Varna เมืองท่าชายฝั่งทะเลดําให้เป็นศูนย์กลางโลจิสติกเชื่อมคาบสมุทรบอลข่าน
และยุโรปตะวันออกเฉียงใต้กับเอเชียกลางและจีน
โครงการทํา container block train เชื่อมท่าเรือบากูของอาเซอร์ไบจาน (ทะเลแคสเปี้ ยน)กับ
ท่าเรือ Porti ของจอร์เจีย (ทะเลดํา) โครงการปรับปรุงถนนเชื่อมเมือง Shymkent ของคาซักสถานกับ
เมือง Tashkent ของอุซเบกิสถาน โครงการทําถนน bypass เชื่อมเมือง Slobazia ของโรมาเนียกับเมือง
Chisinau และ ท่าเรือ Giurgiulesti ของมอลโดวา ซึ่งเป็นเส้นทางที่เชื่อมแม่นํ้าดานูบกับทะเลดํา
โครงการพัฒนาท่าเรือ Ilyichevsky ของยูเครน ให้เป็น multi-modal complex เชื่อมไปถึงท่าเรือ
Klaipeda ของลิทัวเนียในทะเลบอลติก โครงการนี้จะเชื่อมทะเลบอลติก ทะเลดํา ทะเลอาซอฟและทะเล
แคสเปี้ ยนเข้าด้วยกัน
โครงการทําเส้นทางรถไฟจากบากูของอาเซอร์ไบจาน ผ่านทบิลิซีของจอร์เจีย มายังเมือง Kars
ของตุรกี ขณะนี้กําลังดําเนินการก่อสร้าง จะแล้วเสร็จในปีนี้ แต่จะเปิดให้บริการอย่างสมบูรณ์ในปี 2016

More Related Content

Viewers also liked

ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06Nopporn Thepsithar
 
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่CATC-ACM
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)Nicha Nichakorn
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยKorawan Sangkakorn
 

Viewers also liked (10)

20120301 sf-cmm
20120301 sf-cmm20120301 sf-cmm
20120301 sf-cmm
 
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
ร่างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของประเทศไทย 2556 - 2560 brief 2013-03-06
 
Company Profile - Chivalry Silk co.,ltd.
Company Profile - Chivalry Silk co.,ltd.Company Profile - Chivalry Silk co.,ltd.
Company Profile - Chivalry Silk co.,ltd.
 
สุพิชชา
สุพิชชาสุพิชชา
สุพิชชา
 
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
การขนส่งทางอากาศเพื่อรองรับการเข้าสู่
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
 
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
เรื่องผ้าไหมมัดหมี่(IS2)
 
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมกับวิถีไทย
 
Sericulture
Sericulture Sericulture
Sericulture
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยKlangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคKlangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยKlangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนKlangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsKlangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนKlangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationKlangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนKlangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfKlangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdfKlangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การกลับมาของเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 (The New Silk Road) : ยุท

  • 1. 1 รายงานความก้าวหน้าโครงการวิจัย เรื่อง การกลับมาของเส้นทางสายไหมในศตวรรษที่ 21 (The New Silk Road): ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหมใหม่ของยุโรป โดย อ.ศิวพล ละอองสกุล อาจารย์ประจําภาควิชารัฐศาสตร์วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วันจันทร์ที่ 15 มิถุนายน 2558เวลา 14.00 – 18.00 น. ณ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพฯ 1. ตะวันตกเคลื่อนเข้าสู่คอเคซัสและเอเชียกลางหลังสภาพโซเวียตล่มสลาย หลังจากสหภาพโซเวียตล่มสลาย ตะวันตกคือสหรัฐอเมริกาและสหภาพยุโรปก็เคลื่อนเข้าสู่ คอเคซัสและเอเชียกลาง เพื่อแผ่อิทธิพลเข้าแทนที่สหภาพโซเวียตและทําให้ดินแดนที่เคยอยู่ใต้อิทธิ สหภาพโซเวียตนี้หันมาทางตะวันตกมากขึ้น สหรัฐอเมริกา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงรัฐบาลบิล คลินตัน ได้ให้ความสําคัญมากกับภูมิภาคอเคซัส ตะวันตกประสบความสําเร็จไม่น้อยในการทําให้ ภูมิภาคคอเคซัสและเอเชียกลางมาอยู่กับตะวันตก สหรัฐนั้นเข้าไปช่วยแก้ไขความขัดแย้งระหว่าง อาร์เมเนียกับอาเซอร์ไบจาน สหรัฐอเมริกา อาเซอร์ไบจานและตุรกีร่วมกันผลักดันโครงการท่อส่ง นํ้ามันบากู-ทบิลิซี-เซฮาน และท่อส่งก๊าซบากู-ทบิลิซี-เออร์ซูรุม สําเร็จ ในขณะที่สหภาพยุโรปก็ทํา นโยบาย “เพื่อนบ้านด้านตะวันออก” และทํา “หุ้นส่วนตะวันออก”(Eastern Partnership) เพื่อร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ การค้า การท่องเที่ยวกับอาเซอร์ไบจาน จอร์เจีย เบลารุส มอลโดวาและยูเครน เพื่อรุกเข้าสู่ คอเคซัสและเอเชียกลาง เช่นกัน อย่างไรก็ตาม ในช่วงไม่กี่ปีมานี้ การรุกเข้าสู่คอเคซัสและเอเชียกลาง ของตะวันตกได้หยุดชะงักลง การหันไปให้ความสําคัญต่อตะวันออกกลางของสหรัฐ และความตกตํ่า ทางเศรษฐกิจของยุโรป บวกกับการรุกรานจอร์เจียของรัสเซีย ทําให้ตะวันตก น่าจะเป็นสาเหตุสําคัญ 2. การกลับมาใหม่ของตะวันตก เดิมนั้นยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรปต่อคอเคซัสและเอเชียกลางจะเน้นเรื่อง Soft Power เป็น หลัก คือ เน้นเรื่อง สิทธิมนุษยชน การค้า การศึกษา สิ่งแวดล้อม หลักนิติรัฐ เป็นต้น แต่ตอนนี้ ยุทธศาสตร์ของสหภาพยุโรป เน้นที่ด้านความมั่นคงมากขึ้น ขณะนี้ สหภาพยุโรป รวมทั้งสหรัฐกําลังกลับมาให้ความสําคัญกับคอเคซัสและเอเชียกลางอีก ครั้ง ด้วยเหตุผลทางยุทธศาสตร์ระหว่างประทศ ความมั่นคงและเศรษฐกิจ ในที่นี้จะกล่าวแต่เฉพาะ
  • 2. 2 สหภาพยุโรปเป็นหลัก ภูมิภาคที่สหภาพยุโรปให้ความสําคัญเป็นพิเศษคือ บริเวณคอเคซัสใต้ (South Caucasus) 2.1 ความสําคัญของคอเคซัสใต้ คอเคซัสใต้ ประกอบด้วย จอร์เจีย อาร์เมเนียและอาเซอร์ไบจาน แม้จะมีขนาดเล็ก ประชากรราว 16 ล้านคน แต่คอเคซัสใต้มีความสําคัญ ดังนี้ • ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ เป็น intersection ระหว่างสามมหาอํานาจของยูเรเชีย คือ รัสเซีย อิหร่าน และตุรกี • คอเคซัสใต้เป็น crossing point ทั้งตะวันออก-ตะวันตก เหนือ-ใต้เป็น corridor ทางการค้า และการคมนาคมขนส่ง ตั้งแต่อดีต คอเคซัสเป็นทั้งจุดเชื่อมและกันชน ระหว่างทะเลดํากับ ทะเลแคสเปี้ ยน ยุโรปกับเอเชียกลาง ไปถึงจีน อินเดีย ยุโรปเหนือ รัสเซียและตะวันออก กลาง เป็น bottleneck ของ east-west corridor ที่เชื่อมยุโรป เอเชีย เป็นเหมือนคลองสุเอซ คลองปานามา ช่องแคบฮอร์มุซ และเหมือนช่องแคบมะละกา แต่เป็น Land Suez มากกว่า • ในสถานการณ์ปัจจุบัน คอเคซัสใต้จะยิ่งมีความสําคัญต่อตะวันตกมากขึ้นไปอีก อัน เนื่องมาจาก การแผ่อิทธิพลของรัสเซีย การเกิดขึ้นของขบวนการรับอิสลามในตะวันออก กลาง การแผ่อิทธิพลเข้าสู่ตะวันออกลางจากซีเรียสู่เยเมนของอิหร่าน และการเปลี่ยนแปลง ทางการเมืองในตุรกีที่ฝ่ายนิยมอิสลามที่ต่อต้านตะวันตกกําลังมีอํานาจมากขึ้นเรื่อยๆ ดังนั้น ตะวันตก จะหันกลับมาให้ความสําคัญกับทั้งคอเคซัสใต้และเอเชียกลางอีกครั้ง ด้วย เหตุผลทางยุทธศาสตร์ที่สําคัญสามประการ คือ • ต้องการใช้คอเคซัสใต้และเอเชียกลาง เป็น pressure point ยันนโยบายขยายแบบก้าวร้าวของ รัสเซีย • คอเคซัสและเอเชียกลางเป็นดินแดนอิสลามแบบ secular ตะวันตกอาจจะใช้สองดินแดนนี้ เป็น bulwark กั้นอิทธิพลของกระแสอิสลามหัวรุนแรง กล่าวตรงๆก็คือ ยุโรปและอเมริกาจะใช้คอเค ซัสกับเอเชียกลางสกัดการขยายตัวของทั้งรัสเซียและขบวนการรัฐอิสลาม • ยุโรปต้องการใช้คอเคซัส เชื่อมเข้าสู่เอเชียกลาง จีน และอินเดีย เพื่อสร้างเชื่อมค้าระหว่าง ยุโรป-เอเชีย ซึ่งเป็นเส้นทางการค้าทางบก ที่การขนส่งถูกกว่าและเร็วกว่าทางทะเล 3. ระเบียงการคมนาคม-ขนส่ง ยุโรป-คอเคซัส-เอเชีย (Transport Corridor Europe-Caucasus-Asia- TRACECA)
  • 3. 3 ต่อไปนี้จะเรียก TRACECA TRACECA คือ ยุทธศาสตร์ที่สําคัญที่สุดของสหภาพยุโรปในการ เชื่อมยุโรป คอเคซัส เอเชียกลาง และจีน หรือ อาจจะพูดได้ว่า TRACECA นี่แหละคือ ยุทธศาสตร์ เส้นทางสายไหมใหม่ของยุโรป TRACECA นั้นมีสถานะเป็น Intergovernmental Commission มี ประเทศสมาชิก 14 ประเทศ คือ อาร์เมเนีย อาเซอร์ไบจาน บัลแกเรีย จอร์เจีย อิหร่าน คาซักสถาน คีร์กิซ สถาน มอลโดวา โรมาเนีย ทาจิกิสถาน เติร์กเมนิสถาน ตุรกี ยูเครนและอุซเบกิสถาน TRACECA เริ่มมา ตั้งแต่ปี 1993 หลังสหภาพโซเวียตล่มสลายไม่กี่ปี TRACECA ต้องการเชื่อมยุโรปกับเอเชีย (ผ่านการบิน ทางรถไฟ ท่าเรือ ถนน) จะเริ่มจากยุโรป ตะวันออก ที่โรมาเนีย บัลแกเรีย ยูเครน บวกกับตุรกี ผ่านทะเลดําเข้าสู่ท่าเรือใน Porti ของจอร์เจีย มา เชื่อมเครือข่ายการคมนาคมขนส่งของคอเคซัสใต้และเส้นทางบกจากตุรกี จากนั้นจากท่าเรือของ อาเซอร์ไบจาน ก็เชื่อมกับเครือข่ายรถไฟของเอเชียกลาง ไปถึงจีน และอัฟกานิสถาน ตามยุทธศาสตร์นี้ ยุโรปมีแผนจะทําอะไรบ้าง? ในปี 2012 มีการเสนอโครงการสําคัญต่างๆ เป็น priority project เช่น โครงการสร้างศูนย์โลจิสติกส์ที่เยเรวานของอาร์เมเนีย สร้างใกล้ๆกับ สนามบิน Zvartnots International Airport เริ่มเมื่อปี 2012 จะแล้วเสร็จในปีนี้ คือ ปี 2015 โครงการปรับปรุงทางรถไฟในอาเซอร์ไบจาน จากบากู-อัลยัต-เบยุก-เคสิก บัลแกเรียกําลังทํา โครงการพัฒนาเมือง Varna เมืองท่าชายฝั่งทะเลดําให้เป็นศูนย์กลางโลจิสติกเชื่อมคาบสมุทรบอลข่าน และยุโรปตะวันออกเฉียงใต้กับเอเชียกลางและจีน โครงการทํา container block train เชื่อมท่าเรือบากูของอาเซอร์ไบจาน (ทะเลแคสเปี้ ยน)กับ ท่าเรือ Porti ของจอร์เจีย (ทะเลดํา) โครงการปรับปรุงถนนเชื่อมเมือง Shymkent ของคาซักสถานกับ เมือง Tashkent ของอุซเบกิสถาน โครงการทําถนน bypass เชื่อมเมือง Slobazia ของโรมาเนียกับเมือง Chisinau และ ท่าเรือ Giurgiulesti ของมอลโดวา ซึ่งเป็นเส้นทางที่เชื่อมแม่นํ้าดานูบกับทะเลดํา โครงการพัฒนาท่าเรือ Ilyichevsky ของยูเครน ให้เป็น multi-modal complex เชื่อมไปถึงท่าเรือ Klaipeda ของลิทัวเนียในทะเลบอลติก โครงการนี้จะเชื่อมทะเลบอลติก ทะเลดํา ทะเลอาซอฟและทะเล แคสเปี้ ยนเข้าด้วยกัน โครงการทําเส้นทางรถไฟจากบากูของอาเซอร์ไบจาน ผ่านทบิลิซีของจอร์เจีย มายังเมือง Kars ของตุรกี ขณะนี้กําลังดําเนินการก่อสร้าง จะแล้วเสร็จในปีนี้ แต่จะเปิดให้บริการอย่างสมบูรณ์ในปี 2016