SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
รายงานวิจัย
เรื่อง
ความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ประจาปีการศึกษา 2555
ผู้วิจัย
นางสาวนิรชรา ไชยแสง
นางสาวศศิธร ดลปัดชา
ฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2556
ก
คำนำ
รายงานวิจัย เรื่องความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2555 เป็นการวิจัยเชิงสารวจเกี่ยวกับความพึงพอใจของบุคลากร
ต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ผู้บริหารและ
คณาจารย์ของคณะ สามารถนาผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของคณะฯ และ
เป็นแนวทางสาหรับการตัดสินใจของผู้บริหารในการสร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้บุคลากรมีความสนใจงาน
ด้านวิจัยเพื่อพัฒนางานของตนเอง และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
คณะผู้วิจัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานวิจัยฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนและปรับปรุงปัจจัย
สนับสนุนการวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์ ให้บุคลากรสามารถพัฒนางานวิจัยให้มีคุณภาพต่อไป
ฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กรกฎาคม 2556
ข
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2555 เป็นการศึกษาเชิงสารวจความคิดเห็นของ
นักศึกษาและบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ เกี่ยวกับปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คือด้านนโยบายและการบริหาร
งานวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์ ด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของผู้ตอบแบบสารวจ ด้านแหล่ง
ค้นคว้าข้อมูล ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย ด้านทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อส่งเสริม
การวิจัย ด้านเวลาสาหรับการวิจัย ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย ซึ่งข้อมูลดังกล่าว ผู้บริหาร
คณาจารย์ และบุคลากรของคณะสามารถนาผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของ
คณะฯ และเป็นแนวทางสาหรับการตัดสินใจของผู้บริหารในการสร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้บุคลากรมีความ
สนใจงานด้านวิจัยเพื่อพัฒนางาน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น โดยกลุ่ม
ประชากรประกอบด้วยนักศึกษาและบุคลากร จานวนทั้งสิ้น 120 คน และได้รับแบบประเมินกลับคืนทั้งหมด
63 ชุด คิดเป็นร้อยละ 52.5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบประเมิน มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ
เติมข้อความในช่องว่าง และแบบมาตราส่วนประมาณค่า การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS
for Windows Version 16.0 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่า
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่าระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย โดยภาพรวม มีระดับ
ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.84 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.52 สามารถจาแนกระดับความพึง
พอใจตามรายด้าน ได้ดังต่อไปนี้
1) ด้ำนนโยบำยและกำรบริหำรงำนวิจัยของคณะศึกษำศำสตร์ ภาพรวม มีระดับความ
คิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.58 พบว่าด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุด คือ
คณะศึกษาศาสตร์มีนโยบายสนับสนุนการทาวิจัยของบุคลากรอย่างชัดเจน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ
มาก ค่าเฉลี่ย 4.41 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.61 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะศึกษาศาสตร์จัด
โครงการพัฒนาศักยภาพทางการวิจัยแก่บุคลากรอย่างสม่าเสมอ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย
4.12 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.63
2) ด้ำนควำมรู้และประสบกำรณ์ด้ำนกำรวิจัยของท่ำน ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.55 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.77 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ คณะ
ศึกษาศาสตร์มีกิจกรรมวิชาการสาหรับการทาวิจัย เช่น จัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัด
ให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะ หรือศาสตราจารย์รับเชิญ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย
3.92 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.88 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือมีความรู้ด้านระเบียบวิธีการวิจัย
มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.34 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.98
3) ด้ำนแหล่งค้นคว้ำข้อมูล ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.15 มี
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.78 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ คณะศึกษาศาสตร์ของท่านมีระบบ
ฐานข้อมูลพร้อมที่จะนามาใช้ในการวิจัย มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย4.01 มีค่าเบี่ยงเบน
มาตรฐานอยู่ที่ 0.79 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะศึกษาศาสตร์มีห้องสมุด หรือแหล่งค้นคว้าข้อมูล
สนับสนุนการวิจัย มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.77 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.73
ค
4) ด้ำนเงินทุนและงบประมำณด้ำนกำรวิจัย ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน
กลางค่าเฉลี่ย 3.70 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.64 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุด คือมีการแต่งตั้ง
คณะกรรมการจัดหาทุนอุดหนุนการทาวิจัยจากบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ
ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.80 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.82 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะ
ศึกษาศาสตร์จัดสรรงบประมาณด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างเพียงพอ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ
ปานกลางค่าเฉลี่ย 3.59 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.83
5) ด้ำนทรัพยำกรและสิ่งอำนวยควำมสะดวกเพื่อส่งเสริมกำรวิจัย ภาพรวม มีระดับความ
คิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.72 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.79 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจ
สูงสุดคือ คณะศึกษาศาสตร์มีมาตรการรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย มีระดับความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับปานกลางค่าเฉลี่ย 3.80 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.67 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะ
ศึกษาศาสตร์มีหน่วยงานให้การช่วยเหลือ ปรึกษาการทาวิจัย (คลินิกวิจัย) มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน
กลาง ค่าเฉลี่ย 3.62 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.81
6) ด้ำนเวลำสำหรับกำรวิจัย ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.76
มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.72 ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุด คือคณะศึกษาศาสตร์ได้จัดเวลาให้บุคลากรทาวิจัย
อย่างเหมาะสม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.88 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.85
ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือภาระงานสอนหรืองานอื่นๆ ทาให้ท่านมีเวลาในการทาวิจัยน้อยลง มีระดับ
ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.68 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.79
7) ด้ำนผลตอบแทนที่ได้รับจำกกำรทำวิจัย ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
ค่าเฉลี่ย 3.83 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.68 พบว่าด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ คณะศึกษาศาสตร์ให้
รางวัลหรือประกาศเกียรติคุณแก่ผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.96
มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.74 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะศึกษาศาสตร์ใช้ผลงานวิจัย
ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหน่ง มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.90 มีค่า
เบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.79
นอกจากนั้นยังมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทาง ในการปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของ
คณะฯ คือ อยากให้คณะฯมีการจัดกิจกรรมเสริมความรู้ด้านการทาวิจัยให้มากขึ้น เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์
และทักษะจากการทาวิจัยอย่างสม่าเสมอ ควรมีการสนับสนุนด้านงบประมาณให้มากขึ้น เพราะบุคลากรจะได้
มีแรงจูงใจในการทาวิจัยมากขึ้น อยากให้บุคลากรสายสนับสนุนมีโอกาสได้เผยแพร่งานวิจัยในที่ประชุม
ระดับชาติ และนานาชาติ ปัญหาของการทาวิจัยอย่างหนึ่งคือ จานวนคาบสอนมาก ทาให้อาจารย์มีเวลาในการ
ทาวิจัยน้อยลง ควรมีการจัดกลุ่มย่อยด้านวิจัยในกลุ่มบุคลากรสายสนับสนุนให้สม่าเสมอ มีผู้เชี่ยวชาญสอนด้วย
กระตุ้นให้บุคลากรสายสนับสนุนทาวิจัยเพื่อพัฒนางานอย่างสม่าเสมอ ควรมีวิทยากรให้ความรู้ และพี่เลี้ยงดูแล
แต่ทุกคนมีภาระงานประจามาก ทั้งวิทยากรและผู้ทาวิจัย งานนี้คงยาก งานสอนมีความสาคัญ จึงไม่ใช่ภาระ
ควรมีการประชาสัมพันธ์ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย และด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย
ให้มากขึ้น
ง
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
บทสรุปสำหรับผู้บริหำร ก
คำนำ ข
สำรบัญ ง
สำรบัญตำรำง ฉ
สำรบัญรูปภำพ ช
บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2
1.3 ขอบเขตการศึกษา 2
1.4 ข้อจากัดในการศึกษา 2
1.5 นิยามศัพท์ในการศึกษา 2
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฏี เอกสำร และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4
2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 4
2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย 7
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 19
บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ 21
3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 21
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 21
3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 22
3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 22
บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล 24
4.1 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะ
ศึกษาศาสตร์
24
4.1.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน 24
4.1.2 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการ
วิจัย คณะศึกษาศาสตร์ โดยภาพรวม
27
4.1.3 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการ
วิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ในแต่ละด้าน
31
จ
สำรบัญ (ต่อ)
เรื่อง หน้ำ
บทที่ 5 สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ 39
5.1 สรุปผลการวิจัย 39
5.2 อภิปรายผล 40
5.3 ข้อเสนอแนะ 41
บรรณำนุกรม 42
ภำคผนวก 43
ฉ
สำรบัญตำรำง
เรื่อง หน้ำ
ตำรำงที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมิน จาแนกตามเพศ อายุ
สถานภาพ ตาแหน่งทางวิชาการกรณีเป็นบุคลากรสายผู้สอน และประเภทกรณีเป็น
บุคลากรสายสนับสนุน
24
ตำรำงที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อ
ปัจจัยสนับสนุนการวิจัย ในภาพรวม
27
ตำรำงที่ 3 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน
การวิจัย ด้านนโยบายและการบริหารงานวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์
31
ตำรำงที่ 4 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน
การวิจัย ด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของท่าน
32
ตำรำงที่ 5 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน
การวิจัย ด้านแหล่งค้นคว้าข้อมูล
33
ตำรำงที่ 6 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน
การวิจัย ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย
34
ตำรำงที่ 7 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน
การวิจัย ด้านทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อส่งเสริมการวิจัย
35
ตำรำงที่ 8 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน
การวิจัย ด้านเวลาสาหรับการวิจัย
36
ตำรำงที่ 9 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน
การวิจัย ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย
37
ช
สำรบัญรูปภำพ
เรื่อง หน้ำ
ภำพที่ 1 ขั้นตอนของกระบวนการวิจัย 16
ภำพที่ 2 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามเพศ 25
ภำพที่ 3 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามอายุ 26
ภำพที่ 4 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามสถานภาพ 26
ภำพที่ 5 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามตาแหน่งทางวิชาการกรณีเป็น
บุคลากรสายผู้สอน
26
ภำพที่ 6 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามประเภทกรณีเป็น
บุคลากรสายสนับสนุน
27
ภำพที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อ
ปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ในภาพรวม
31
ภำพที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย
สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านนโยบายและการบริหารงานวิจัยของคณะ
ศึกษาศาสตร์
32
ภำพที่ 9 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย
สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของ
ท่าน
33
ภำพที่ 10 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย
สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านแหล่งค้นคว้าข้อมูล
34
ภำพที่ 11 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย
สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย
35
ภำพที่ 12 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย
สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อ
ส่งเสริม
การวิจัย
36
ภำพที่ 13 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย
สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านเวลาสาหรับการวิจัย
37
ภำพที่ 14 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย
สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย
38
บทที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยในสถาบันอุดมศึกษา ไว้หลายมาตรา เช่น มาตรา 28 ระบุว่า หลักสูตร
การศึกษาระดับอุดมศึกษามีความมุ่งหมายเฉพาะที่จะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการค้นคว้า
วิจัย เพื่อพัฒนาองค์กรความรู้และพัฒนาสังคม และมาตรา 30 ได้ระบุว่า ให้สถานศึกษาพัฒนา
กระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการ
เรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา (ราชกิจจานุเบกษา, 2542) สาระที่ปรากฏใน
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้สะท้อนให้เห็นถึงเจตนารมณ์ที่มุ่งเน้นความสาคัญ
ของการวิจัยที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ ดังนั้นบุคลากร คณาจารย์ นักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา
ต้องทางานวิจัย โดยถือเป็นหน้าที่หลักที่ต้องกระทาอย่างจริงจัง เพื่อจะได้มีส่วนค้นคว้าหาคาตอบใน
การแก้ไขปัญหาและสร้างสรรค์สังคม นอกจากนี้ควรเป็นผู้นาผลการวิจัยและความรู้ใหม่มา
ประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในยุคปฏิรูปทางการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง และเน้นการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการนาผลการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน
จะช่วยฝึกทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณได้เป็นอย่างดี นอกเหนือจากการเรียนการสอน
ปัจจุบัน สถาบันอุดมศึกษาได้นาการวิจัยมาใช้ในการดาเนินงานหรือการบริการงานเพื่อก่อให้เกิด
ประสิทธิภาพสูง เช่นการรับฟังความคิดเห็นของประชาคม การทาประชาพิจารณ์ก่อนการปรับเปลี่ยน
โครงสร้างการบริหารหรือการดาเนินงาน โดยใช้ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของประชาคมเป็น
ข้อมูลพื้นฐานในการปรับเปลี่ยน การสารวจ การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ด้านจุดอ่อนจุดแข็งของ
สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ก่อนการจัดทาแผนกลยุทธ์ เพื่อจัดการให้การดาเนินงาน
บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เหล่านี้ล้วนต้องใช้กระบวนการวิจัยทั้งสิ้น (สุกัญญา โฆวิไลกูล,
2543 อ้างถึงใน พงษ์ชรินทร์ พุธวัฒนะ, 2545)
คณะศึกษาศาสตร์เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 4 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการศึกษาในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการผลิตครูระดับปริญญา และ
ระดับอนุปริญญาสาขาวิชาต่างๆ ที่จะสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อผลิตโสตทัศนูปกรณ์ ตาราและเอกสารการศึกษา อันจะส่งเสริมในการ
เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และการศึกษาได้ผลมากขึ้น อีกทั้งยังมีวัตถุประสงค์ทั่วไปเพื่อจะพัฒนา
การศึกษาในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือเพื่อ
ทดลองวิจัยวิธีการสอน การจัดการเรียนการสอน และหลักสูตรประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมในการ
เตรียมครู โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูที่สอนในชนบท เพื่อมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชนบท โดย
ปฏิบัติงานร่วมกับโรงเรียนชุมชน สถานศึกษาต่างๆ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่และ
ให้บริการด้านการศึกษา การอบรมแก่ชุมชนและครูประจาการในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อวิจัย
ปัญหาต่างๆ ด้านการศึกษาและจิตวิทยา อันจะช่วยให้เข้าใจสภาพบุคคล และสภาพแวดล้อมของภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือให้ดียิ่งขึ้น อันจะช่วยเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป
กระบวนการหนึ่งที่ช่วยให้คณะศึกษาศาสตร์ สามารถบริหารจัดการคณะให้มีประสิทธิภาพ
และผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ได้ คือการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษา บุคลากรสายผู้สอนและ
สายสนับสนุนของคณะฯ มีความรู้ ความเข้าใจด้านการวิจัย ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่มีประโยชน์ต่อการ
พัฒนางานของบุคลากรสายสนับสนุน และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนของ
2
คณาจารย์ เพราะการวิจัยเป็นกระบวนการหนึ่งของการเรียนรู้ที่สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ และได้
องค์ความรู้ที่มีเหตุมีผลจากการศึกษาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ สามารถนาความรู้นั้นมาประยุกต์ใช้ได้
อย่างมั่นใจ ในการกาหนดนโยบายและในระดับปฏิบัติ (คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2542) เป็น
วิธีการสร้างฐานความรู้ เพื่อดาเนินการสอน หรือการเผยแพร่วิทยาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคม
ปัจจุบัน ซึ่งได้รับผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี องค์ความรู้
มีความสาคัญเพิ่มขึ้นอย่างมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเราเริ่มเข้าสู่ยุคการจัดการองค์ความรู้ นั่นคือ แทนที่
เราจัดการข่าวสารที่ผ่านมาในยุคนี้ เราต้องรู้จักจัดการองค์ความรู้ต่างๆ และเนื่องจากการวิจัยเป็น
กระบวนการสร้างองค์ความรู้ จึงนับว่าการวิจัยเป็นพื้นฐานที่จาเป็นอย่างยิ่งในการจัดการองค์ความรู้
การวิจัยเป็นวิถีชีวิตวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งประกอบกิจการเกี่ยวกับ
ความรู้ โดยการบุกเบิก แสวงหา ทานุบารุงรักษา ถ่ายทอดและใช้ประโยชน์จากความรู้ครบทั้งวงจร
การวิจัยนอกจากเป็นส่วนหนึ่งในภารกิจแล้ว ยังมีบทบาทในการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมภารกิจหลัก
อื่นของสถาบัน (พงษ์พัชรินทร์ พุธวัฒนะ, 2545) การที่บุคลากรภายในคณะจะสามารถทางานวิจัย
ของตนเองได้อย่างมีคุณภาพได้นั้น มีหลายปัจจัยที่เอื้อและสนับสนุนต่อการทางานวิจัย เช่น ปัจจัย
ด้านนโยบายและการบริหารงานวิจัยของคณะฯ ปัจจัยด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของ
บุคลากร ปัจจัยด้านแหล่งค้นคว้าข้อมูล ปัจจัยด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย ปัจจัยด้าน
ทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อส่งเสริมการวิจัย ปัจจัยด้านเวลาสาหรับการวิจัย และปัจจัย
ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย ปัจจัยเหล่านี้ มีความสาคัญเป็นอย่างมากที่จะช่วยให้การ
ทางานวิจัยของผู้วิจัยประสบผลสาเร็จ
ดังนั้น การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัยนั้น จึงมีความสาคัญ
เป็นอย่างยิ่ง เพราะจะทาให้ทราบว่า มีปัจจัยที่สาคัญอะไรบ้างที่ทาให้บุคลากรในคณะศึกษาศาสตร์
เกิดความพึงพอใจ และมีปัจจัยอะไรบ้าง ที่คณะฯควรสนับสนุนให้บุคลากรสามารถทางานวิจัยได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และยังเป็นแนวทางสาหรับการตัดสินใจของผู้บริหารในการสร้างแรงจูงใจและ
ส่งเสริมให้บุคลากรมีความสนใจงานด้านวิจัยเพื่อพัฒนางาน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้
มากยิ่งขึ้น
1.2 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.3 ขอบเขตกำรศึกษำ
กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสารวจคือ นักศึกษาและบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2555
1.4 ข้อจำกัดในกำรศึกษำ
ในการศึกษาครั้งนี้เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ นักศึกษาและบุคลากรคณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.5 นิยำมศัพท์ในกำรศึกษำ
1) ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจที่มีต่อการบริการมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการ
ทาให้เป็นไปตามความคาดหวัง หรือการไม่เป็นไปตามความคาดหวังของผู้บริโภค
3
2) เจตคติต่อการวิจัย หมายถึง ความคิดเห็น ความเชื่อ และความรู้สึกของบุคคลที่มีอารมณ์
เป็นส่วนประกอบ หรือความโน้มเอียงที่จะแสดงออกต่อกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริง โดยมี
จุดมุ่งหมายที่แน่นอนและใช้ระเบียบวิธีที่มีหลักเกณฑ์เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ที่เชื่อถือได้
3) ปัจจัยที่เอื้อต่อการทาวิจัย หมายถึง ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทาวิจัย ได้แก่
นโยบาย การบริหารงานวิจัย ความรู้และประสบการณ์ด้านการทาวิจัย แหล่งค้นคว้าข้อมูล เงินทุน
และงบประมาณด้านการวิจัย ทรัพยากรเพื่อการวิจัย เวลาสาหรับการวิจัย และผลตอบแทนที่ได้รับ
จากการทาวิจัย
4) บุคลากร หมายถึง นักศึกษา บุคลากรสายผู้สอน และบุคลากรสายสนับสนุน คณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1.6 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1) เป็นสารสนเทศในการปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของคณะ
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2) เป็นแนวทางสาหรับวางแผนและสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ในการส่งเสริมและ
พัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
4
บทที่ 2
แนวคิด ทฤษฏี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษา เรื่องความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2555 ผู้ศึกษาได้ทาการรวบรวมเอกสารด้านแนวคิดและ
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยแบ่งเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้
2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
2.1.1 นิยามของความพึงพอใจ
2.1.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย
2.2.1 นิยามของการวิจัย
2.2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ
2.1.1 นิยามของความพึงพอใจ
ความพึงพอใจได้มีนักวิชาการให้ความหมายไว้จานวนมาก ดังเช่น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต (2537) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า หมายถึง
ชอบ,ชอบใจ, พึงใจ, สมใจ, จุใจ
กิตติมา ปรีดีดิลก (2529) กล่าวว่า ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกชอบหรือ พอใจที่มี
องค์ประกอบและจูงใจด้านต่างๆเมื่อได้รับการตอบสนอง
ความพึงพอใจ คือ การชอบหรือไม่ชอบของบุคคลที่มีต่องาน (Davis, 1987)
พฤติกรรมเกี่ยวกับความพึงพอใจของมนุษย์คือความพยายามที่จะขจัดความตึงเครียด หรือ
ความกระวนกระวาย หรือภาวะไม่ได้ดุลยภาพในร่างกาย ซึ่งเมื่อมนุษย์สามารถขจัดสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าว
ได้แล้ว มนุษย์ย่อมได้รับความพึงพอใจในสิ่งที่ตนต้องการ (เศกสิทธิ์, 2544)
อุทัยพรรณ สุดใจ (2545) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อ
สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยอาจจะเป็นไปในเชิงประเมินค่า ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้นเป็นไปใน
ทางบวกหรือทางลบ
สุพล (2540) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็นในลักษณะเชิงบวก
ของบุคคลเมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการหรือได้รับสิ่งตอบแทนที่คาดหวังไว้
สุภาลักษณ์ ชัยอนันต์ (2540) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจเป็น
ความรู้สึกส่วนตัวที่รู้สึกเป็นสุขหรือยินดีที่ได้รับการตอบสนองความต้องการในสิ่งที่ขาดหายไป หรือสิ่ง
ที่ทาให้เกิดความไม่สมดุล ความพึงพอใจเป็นสิ่งที่กาหนดพฤติกรรมที่จะแสดงออกของบุคคล ซึ่งมีผล
ต่อการเลือกที่จะปฏิบัติในกิจกรรมใดๆ นั้น
อรรถพร (2546) ได้สรุปว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติหรือระดับความพึงพอใจของ
บุคคลต่อกิจกรรมต่างๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้นๆ โดยเกิดจากพื้นฐานของ
การรับรู้ ค่านิยมและประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้รับ ระดับของความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อกิจกรรม
นั้นๆ สามารถตอบสนองความต้องการแก่บุคคลนั้นได้
5
สายจิตร (2546) ได้สรุปว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ทั้ง
ทางบวกและทางลบ แต่ถ้าเมื่อใดที่สิ่งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการหรือทาให้บรรลุจุดมุ่งหมาย
ได้ ก็จะเกิดความรู้สึกทางบวกแต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าสิ่งใดสร้างความรู้สึกผิดหวังไม่บรรลุ
จุดมุ่งหมาย ก็จะทาให้เกิดความรู้สึกทางลบเป็นความรู้สึกไม่พึงพอใจ
จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องของนิยามความพึงพอใจ สามารถสังเคราะห์ได้ว่า
ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งเมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการ
ทาให้บุคคลมีความรู้สึกในทางบวก เป็นลักษณะอย่างหนึ่งที่เป็นนามธรรม และเป็นสิ่งที่กาหนด
พฤติกรรมในการแสดงออกของบุคคลที่มีผลต่อการเลือกปฏิบัติในกิจกรรมนั้น
2.1.2 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ
คณิต ดวงหัสดี (2537) ได้สรุปแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจว่า หมายถึง ความรู้สึกชอบ
หรือพอใจของบุคคลที่มีต่อการทางานและองค์ประกอบหรือสิ่งจูงใจอื่น ๆ ถ้างานที่ทาหรือ
องค์ประกอบเหล่านั้นตอบสนองความต้องการของบุคคลได้บุคคลนั้นจะเกิดความพึงพอใจในงานขึ้น
จะอุทิศเวลา แรงกาย แรงใจ รวมทั้งสติปัญญาให้แก่งานของตนให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีคุณภาพ
สิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องมือกระตุ้นให้บุคคลเกิดความพึงพอใจจากการศึกษา รวบรวมและ
สรุป มีดังนี้
1. สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ (material inducement) ได้แก่ เงิน สิ่งของหรือสภาวะทางกายที่
ให้แก่ผู้ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ
2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (desirable physical condition) คือ สิ่งแวดล้อมในการ
ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งอันก่อให้เกิดความสุขทางกาย
3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่สนอง ความ
ต้องการของบุคคล
4. ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) คือ ความสัมพันธ์ฉันท์มิตรกับผู้
ร่วมกิจกรรม อันจะทาให้เกิดความผูกพันความพึงพอใจและสภาพการเป็นอยู่ร่วมกัน เป็นความพึง
พอใจของบุคคลในด้านสังคมหรือความมั่นคงในสังคม ซึ่งจะทาให้รู้สึกมีหลักประกันและมีความมั่นคง
ในการประกอบกิจกรรม
Maslow (1970) ทฤษฎีที่มีชื่อเสียงที่สุดของความพึงพอใจ คือ ทฤษฎีจูงใจ( motivation
theory) หรือที่เรียกว่า ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจูงใจ (Maslow’s general theory of human
motivation) ซึ่งมาสโลว์ได้ตั้งสมมุติฐานสิ่งจูงใจจากความต้องการของมนุษย์ไว้ว่า มนุษย์มีความ
ต้องการอยู่เสมอ ความต้องการใดได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่เป็นสิ่งจูงใจอีกต่อไป แต่ความ
ต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองนั้นจะเป็นสิ่งจูงใจแทน และมาสโลว์ได้ลาดับขั้นความต้องการของ
มนุษย์จากระดับต่าถึงระดับสูง โดยแบ่งออกเป็น 5ขั้น ดังนี้
1. ความต้องการด้านร่างกาย ( physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อ
ความอยู่รอดของชีวิต เช่น ความต้องการอาหาร อากาศ ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และความต้องการ
ทางเพศ
2. ความต้องการทางด้านความปลอดภัย ( safety needs) ได้แก่ ความต้องการความ
ปลอดภัยทางด้านร่างกาย เช่น ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ อันตรายต่างๆ และความมั่นคงในอาชีพ
3. ความต้องการที่จะเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ( belonging needs) ได้แก่ความต้องการที่
จะเข้าร่วม และได้รับการยอมรับในสังคม ความเป็นมิตร และความรักจากเพื่อนร่วมงาน
6
4. ความต้องการจะเห็นคุณค่าของตนเอง (esteem needs) ได้แก่ ความต้องการอยาก
เด่นในสังคม เป็นที่ยอมรับ เป็นที่ยกย่องสรรเสริญของบุคคลอื่น
5. ความต้องการที่จะได้รับความสาเร็จตามความนึกคิดของตนเอง ( self- actualization)
เป็นความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์ ที่คนส่วนมากอยากจะเป็นอยากจะได้
สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง (2542) กล่าวว่า
1. ความพึงพอใจเป็นผลรวมของความรู้สึกของบุคคลเกี่ยวกับระดับความชอบหรือไม่ชอบ
ต่อสภาพต่าง ๆ
2. ความพึงพอใจเป็นผลของทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบต่าง ๆ
3. ความพึงพอใจในการทางานเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานที่ดี และสาเร็จจนเกิดเป็นความ
ภูมิใจ และได้ผลตอบแทนในรูปแบบต่าง ๆ ตามที่หวังไว้
หทัยรัตน์ ประทุมสูตร (2542) กล่าวว่า การวัดความพึงพอใจ เป็นเรื่องที่ เปรียบเทียบได้กับ
ความเข้าใจทั่ว ๆ ไป ซึ่งปกติจะวัดได้โดยการสอบถามจากบุคคลที่ต้องการจะถาม มีเครื่องมือที่
ต้องการจะใช้ในการวิจัยหลาย ๆ อย่าง อย่างไรก็ดีถึงแม้ว่าจะมีการวัดอยู่หลายแนวทางแต่การศึกษา
ความพึงพอใจอาจแยกตามแนวทางวัด ได้สองแนวคิดตามความคิดเห็นของ ซาลีซนิคค์ คริสเทนส์
กล่าวคือ
1. วัดจากสภาพทั้งหมดของแต่ละบุคคล เช่น ที่ทางาน ที่บ้านและทุก ๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับ
ชีวิต การศึกษาตามแนวทางนี้จะได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ แต่ทาให้เกิดความยุ่งยากกับการที่จะวัดและ
เปรียบเทียบ
2. วัดได้โดยแยกออกเป็นองค์ประกอบ เช่น องค์ประกอบที่เกี่ยวกับงาน การนิเทศงาน
เกี่ยวกับนายจ้าง
Oskamps (1984, อ้างถึงใน ประภาภรณ์ สุรปภา 2544) ได้กล่าวไว้ว่า ความพึงพอใจมี
ความหมายอยู่ 3 นัย คือ
1. ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพการณ์ที่ผลการปฏิบัติจริงได้เป็นไปตามที่บุคคลคาดหวัง
ไว้
2. ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับของความสาเร็จที่เป็นไปตามความต้องการ
3. ความพึงพอใจ หมายถึง งานที่ได้ตอบสนองต่อคุณค่าของบุคคล
จากความหมายที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึงความรู้สึกที่เป็น
การยอมรับ ความรู้สึกชอบ ความรู้สึกที่ยินดีกับการปฏิบัติงาน ทั้งการให้บริการและการรับบริการ
ในทุกสถานการณ์ ทุกสถานที่
โคร์ แมน (Korman, A.K., 1977 อ้างอิงในสมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542) ได้
จาแนกทฤษฎีความพึงพอใจในงานออกเป็น 2 กลุ่มคือ
1. ทฤษฎีการสนองความต้องการ กลุ่มนี้ถือว่าความพึงพอใจในงานเกิดจากความต้องการ
ส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ต่อผลที่ได้รับจากงาน กับการประสบความสาเร็จตามเป้าหมายส่วนบุคคล
2. ทฤษฎีการอ้างอิงกลุ่ม ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับคุณลักษณะของ
งานตามความปรารถนา ของกลุ่ม ซึ่งสมาชิกให้กลุ่มเป็นแนวทางในการประเมินผลการทางาน
มัม ฟอร์ด (Manford, E., 1972 อ้างถึงใน สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542 ) ได้
จาแนกความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจจากผลการวิจัยออกเป็น 5 กลุ่มดังนี้
7
1. กลุ่มความต้องการทางด้านจิตวิทยา กลุ่มนี้ได้แก่ Maslow, A.H., Herzberg. F และ
Likert R.โดยมองความพึงพอใจงานเกิดจากความต้องการของบุคคลที่ต้องการความสาเร็จของ งาน
และความต้องการการยอมรับจากบุคคลอื่น
2. กลุ่มภาวะผู้นามองความพึงพอใจงานจากรูปแบบและการปฏิบัติของนาที่มีต่อ
ผู้ใต้บังคับบัญชา กลุ่มนี้ได้แก่ Blake R.R., Mouton J.S. และ Fiedler R.R.
3. กลุ่มความพยายามต่อรองรางวัล เป็นกลุ่มที่มองความพึงพอใจจากรายได้ เงินเดือน และ
ผลตอบแทนอื่น ๆ กลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มบริหารธุรกิจของมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ (Manchester
Business School)
4. กลุ่มอุดมการณ์ทางการจัดการมองความพึงพอใจจากพฤติกรรมการบริหารงานขององค์กร
ได้แก่ Crogier M. และ Coulder G.M.
5. กลุ่มเนื้อหาของงานและการออกแบบงาน ความพึงพอใจงานเกิดจากเนื้อหาของตัวงาน
กลุ่มแนวคิดนี้มาจากสถาบันทาวิสตอค (Tavistock Institute) มหาวิทยาลัยลอนดอน
Millet (1954,p.13) กล่าวว่า เป้าหมายสาคัญของการบริการ คือ การสร้างความพึงพอใจใน
การให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน โดยมีหลักและแนวทาง คือ การให้บริการอย่างเสมอภาค
หมายถึง ความยุติธรรมในการบริหารงานภาครัฐที่มีฐานคติที่ว่า คนทุกคนเท่าเทียมกัน ดังนั้น
ประชาชนทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันในแง่มุมของกฎหมาย ไม่มีการแบ่งแยกกีดกันใน
การให้บริการประชาชน จะได้รับการปฏิบัติในฐานะที่เป็นปัจเจกบุคคลที่ใช้มาตรฐานในการให้บริการ
เดียวกัน การให้บริการที่ตรงเวลา หมายถึง ในการบริการจะต้องมองว่า การให้บริการสาธารณะ
จะต้องตรงต่อเวลา ผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ จะถือว่าไม่มีประสิทธิผลเลยถ้าไม่มีการ
ตรงต่อเวลา ซึ่งเป็นการสร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชน การให้บริการอย่างเพียงพอ หมายถึง การ
ให้บริการสาธารณะต้องมีลักษณะ มีจานวนการให้บริการและสถานที่ให้บริการอย่างเหมาะสม Millet
เห็นว่า ความเสมอภาคหรือการตรงต่อเวลาจะไม่มีความหมายเลย ถ้ามีจานวนการให้บริการไม่
เพียงพอและสถานที่ตั้งที่ให้บริการสร้างความไม่ยุติธรรมให้เกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการ การให้บริการอย่าง
ต่อเนื่อง หมายถึง การให้บริการสาธารณะที่เป็นไปอย่างสม่าเสมอ โดยยึดประโยชน์ของสาธารณะ
เป็นหลัก ไม่ใช่ยึดความพอใจของหน่วยงานที่ให้บริการว่า จะให้บริการหรือหยุดบริการเมื่อใดก็ได้และ
การให้บริการอย่างก้าวหน้า (progressive service) หมายถึง การให้บริการสาธารณะที่มีการ
ปรับปรุงคุณภาพ และผลการปฏิบัติงาน กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ การเพิ่มประสิทธิภาพหรือสามารถที่จะ
ทาหน้าที่ได้มากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรเท่าเดิม
2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย
2.2.1 นิยามของการวิจัย
คาว่า วิจัย ตรงกับคาว่า Research ซึ่งในพจนานุกรมฉบับ Webster ได้ให้ความหมายของ
คาว่า Research ว่าประกอบด้วยคาสองคา คือ Re ซึ่งแปลว่า ซ้า กับคาว่า Search ซึ่งแปลว่า ค้นหา
ดังนั้นเมื่อรวมกันแล้วแปลตามรากศัพท์ได้ว่า การค้นคว้าซ้า หรือการค้นคว้าอีก ซึ่งหมายความได้ว่า
เป็นการค้นหาหรือตรวจสอบอย่างละเอียดถี่ถ้วนหรือการค้นคว้าทดลองโดยมีเป้าหมายเพื่อการ
ค้นคว้าพบข้อเท็จจริงใหม่ๆและการแปลความหมายของข้อเท็จจริงเหล่านั้นอย่างถูกต้อง หรือเพื่อการ
ปรับแก้ข้อสรุป ทฤษฏีตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ยอมรับกันแต่เดิมให้ถูกต้องยิ่งขึ้นโดยอาศัย
ข้อเท็จจริงใหม่ๆ ที่ค้นพบเพิ่มเติมเหล่านี้ หรือเพื่อการประยุกต์ใช้ข้อสรุป ทฤษฏีและกฎเกณฑ์ใหม่ๆ
ที่ได้ค้นพบหรือปรับแก้แล้วนั้น (ลักษมี คงลาภและคณะ, 2548)
8
Pan Pacific Science Congress (1961 อ้างถึงใน วัลลภ ลาพาย, 2549) ได้ให้ความหมาย
ของแต่ละตัวอักษรของคาว่า “RESEARCH” ไว้ดังนี้
R = Recruitment and Relationships หมายถึง การฝึกคนให้มีความรู้ รวมทั้งรวบรวมผู้มี
ความรู้และปฏิบัติงานร่วมกัน ติดต่อสัมพันธ์และประสานงานกัน
E = Education and Efficiency หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องมีการศึกษา มีความรู้และ
สมรรถภาพสูงในการวิจัย
S = Science and stimulation หมายถึง การวิจัยเป็นศาสตร์ ที่ต้องแสวงหาความรู้จริง
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และผู้วิจัยจะต้องมีความคิดริเริ่ม และมีความกระตือรือร้นที่จะ
ศึกษาวิจัย
E = Evaluation and Environment หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องรู้จักการประเมินผลงานวิจัยว่า
มีประโยชน์มีสาระเหมาะสมที่จะทาต่อไปหรือไม่ และต้องรู้จักใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ ในการวิจัย
A = Aim and Attitude หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องมีจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายในการวิจัยที่
แน่นอนและมีเจคติที่ดีต่อการวิจัยนั้น
R = Result หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องยอมรับผลการวิจัยนั้น เพราะเป็นผลที่ได้จากการค้นคว้า
อย่างมีระบบ
C = Curiosity หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องมีความอยากรู้อยากเห็น มีความสนใจและเอาใจใส่ที่
จะศึกษาอยู่ตลอดเวลา แม้วาความอยากรู้นั้นจะเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อยก็ตาม
H = Horizon หมายถึง เมื่อผลการวิจัยปรากฏแล้ว ย่อมทาให้ทราบและเข้าใจในปัญหา
เหล่านั้นได้เหมือนกับเกิดแสงสว่างขึ้น ถ้าหากการวิจัยนั้นไม่บรรลุผล ผู้วิจัยจะต้องหาทางศึกษา
ค้นคว้าต่อไปจนกว่าจะพบแสงสว่างหรือแก้ปัญหาได้นั่นเอง
Best (1978 อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ให้คานิยามไว้ว่า การวิจัย คือ การ
วิเคราะห์และบันทึกการสังเกตภายใต้การควบคุมอย่างเป็นระบบและเป็นปรนัย ซึ่งอาจนาไปสู่การ
สร้างทฤษฏี หลักการหรือการวางนัยทั่วไป(Generalization)
Kerlinger (1986 อ้างถึงใน บุญใจ ศรีสถิตนรากูร, 2547) การวิจัย หมายถึง การศึกษา
ปรากฏการณ์ต่างๆ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในทุกขั้นตอนของ
กระบวนการวิจัย มีการทดสอบสมมติฐาน และมีแนวคิดหรือทฤษฏีสนับสนุนสมมติฐานที่ทดสอบ
David B. Grualnik (1986 อ้างถึงใน วัลลภ ลาพาย, 2549) ให้คาจากัดความของการวิจัยว่า
หมายถึงการศึกษา ค้นคว้า หรือสารวจตรวจสอบอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสารวจ
ตรวจสอบหรือการทดลองที่มุ่งจะค้นคว้าและแปลความหมายของ (1) ข้อเท็จจริงในปรากฏการณ์
ต่างๆ หรือ (2) การปรับปรุงกฤษฎี หรือกฎเกณฑ์เมื่อได้ข้อเท็จจริงใหม่ๆ หรือ (3) การนาทฤษฏี
กฎเกณฑ์ใหม่ หรือปรับปรุงแล้วไปประยุกต์ใช้
ในส่วนของแวดวงนักวิชาการไทย มีผู้ให้ความหมายการวิจัยที่สาคัญๆ ไว้ดังนี้
ราชบัณฑิตยสถาน (2546) ได้ให้ความหมายของการวิจัยว่า หมายถึง การค้นคว้าเพื่อหา
ข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา
สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธุ์ (2538) ให้คานิยาม ว่าการวิจัย หมายถึงกระบวนการต่างๆที่ดาเนิน
ไปอย่างมีระเบียบและกฎเกณฑ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระเบียบงานข้อมูล การวิเคราะห์
และการตีความหมายข้อมูล ทั้งหมดนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบอันถูกต้องต่อปัญหาหรือคาถามที่ได้ตั้งไว้
อุทุมพร จามรมาน (2536) การวิจัย หมายถึงการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ วิธีแก้ปัญหาแบบ
ใหม่ คาตอบแบบใหม่ โดยใช้กระบวนการที่เชื่อถือได้ หรือกระบวนการที่ยอมรับในศาสตร์นั้นๆ
9
เทียนฉาย กีระนันท์ (2537) ให้ความหมายของการวิจัยว่า การวิจัย หมายถึงการศึกษา
ค้นคว้าเพื่อพิสูจน์หรือหาคาตอบ หรือหาข้อเท็จจริงอะไรบางอย่างที่อาจจะยังไม่มีการค้นพบในเรื่อง
นั้นๆ มาก่อน หรืออาจจะมีการค้นพบมาแล้ว แต่เมื่อเวลาเปลี่ยนไปก็ต้องการค้นหาใหม่อีกครั้งหนึ่งก็
ได้
บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2543) ได้ให้คาจากัดความของการวิจัยว่า การวิจัย หมายถึง
กระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริง หรือปรากฏการณ์ตามธรรมชาติอย่างมีระเบียบ และมีจุดมุ่งหมาย
ที่แน่นอนเพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได้นั้นคือ การวิจัยประกอบด้วย 3 ประการ ประการแรก เป็นการ
ค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ ประการที่สอง เป็นกระบวนการหรือการกระทา
อย่างมีระเบียบ ประการสุดท้าย เป็นการกระทาที่มีจุดมุ่งหมายแน่นอน
วิจารณ์ พานิช (2546) ได้ให้ความหมายการวิจัยว่า เป็นการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วน
ตามหลักวิชา ซึ่งเจตนาของการวิจัยควรมุ่งพัฒนาองค์ความรู้ของมนุษยชาติ ของสังคมหรือของ
ท้องถิ่น เป็นความรู้ที่มีความถูกต้องแม่นยา สามารถตรวจสอบได้โดยควรมีแรงบันดาลใจจากฉันทะ
มากกว่าโลภะ การทางานวิจัยควรมีแรงผลักดันมาจากความกระหายใคร่รู้ มุ่งแสวงหามิตรสหายใน
วงการวิจัย มุ่งสร้างสรรค์ประชาคมวิจัยให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นและมุ่งสร้างผลงานวิจัยที่นาไปใช้ประโยชน์
แก่สังคมได้
จากนิยามต่างๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การวิจัย หมายถึง กระบวนการ
ค้นคว้าหาความรู้ที่มีระบบ แบบแผนโดยมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน ชัดเจน เพื่อแสวงหาคาตอบหรือ
ความจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งภายใต้วิธีการที่มีหลักเหตุผลเชื่อถือได้
2.2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย
2.2.2.1 ลักษณะของการวิจัย
การวิจัยที่ดีควรมีลักษณะสาคัญ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)
1. การวิจัยเป็นการค้นคว้าที่ต้องอาศัยความรู้ ความชานาญ และความมีระบบ
2. การวิจัยเป็นงานที่มีเหตุและมีเป้าหมาย
3. การวิจัยจะต้องมีเครื่องมือ หรือเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความ
เที่ยงตรงเชื่อถือได้
4. การวิจัยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลใหม่และได้ความรู้ใหม่ กรณีใช้ข้อมูลเดิม
จุดประสงค์จะต้องแตกต่างไปจากจุดประสงค์เดิม ความรู้ที่ได้อาจเป็นความรู้เดิมได้ในกรณีที่มุ่งวิจัย
เพื่อตรวจสอบซ้า
5. การวิจัยมักเป็นการศึกษาค้นคว้าที่มุ่งหาข้อเท็จจริงเพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์
หรือพัฒนากฎเกณฑ์ทฤษฏี หรือตรวจสอบทฤษฏี หรือเพื่อพยากรณ์ปรากฏการณ์ต่างๆ หรือเพื่อวาง
นัยทั่วไป (Generalization) หรือเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ
6. การวิจัยต้องอาศัยความเพียรพยายาม ความซื่อสัตย์ กล้าหาญ บางครั้งจะต้อง
เฝ้าติดตามผลบันทึกอย่างละเอียด ใช้เวลานาน บางครั้งผลวิจัยขัดแย้งกับความเชื่อของบุคคลอื่นอัน
อาจทาให้ได้รับการโจมตี ผู้วิจัยจาเป็นต้องใช้ความกล้าหาญเสนอผลการวิจัยตามความจริงที่ค้นพบ
7. การวิจัยจะต้องมีการบันทึก และเขียนรายงานการวิจัยอย่างระมัดระวัง
10
2.2.2.2 ลักษณะที่ไม่ใช่การวิจัย
ลักษณะบางประการที่ไม่ใช้การวิจัย ได้แก่ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545)
1. การที่นิสิตนักศึกษา ไปศึกษาบางเรื่องจากเอกสาร ตารา วารสาร แล้วนาเอา
ข้อความต่างๆ มาตัดต่อกัน
2. การค้นพบ (Discovery) โดยทั่วไป เช่น นั่งคิดแล้วได้คาตอบไม่ใช้การวิจัย เพราะ
การค้นพบไม่มีระบบและวิธีที่ถูกต้อง อาจเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ
3. การรวบรวมข้อมูล นามาจัดเข้าตารางซึ่งอาจเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ แต่
ไม่ใช่การวิจัย
4. การทดลองปฏิบัติการ ตามคู่มือที่แนะนาไว้ไม่ใช่การวิจัย
2.2.2.3 ประเภทของการวิจัย
การแบ่งประเภทของการวิจัย สามารถแบ่งได้หลายลักษณะต่างๆ กัน ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ซึ่ง
มีหลายเกณฑ์ ดังนี้ (ลักษมี คงลาภ และคณะ, 2548)
1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล
เมื่อแบ่งตามลักษณะของข้อมูล สามารถแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ประเภท คือ
1) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่มุ่งเน้นที่จะได้ข้อมูลที่อยู่
ในลักษณะของตัวเลข และต้องใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อลงสรุปผลและส่วนใหญ่
เป็นการใช้สถิติอนุมาน เช่น การวิจัยเกี่ยวกับผลการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น
2) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจัยที่ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นข้อมูล
เชิงคุณลักษณะไม่สามารถจัดกระทาในรูปปริมาณได้ การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทาได้หลายวิธี เช่น
อาจใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ การจดบันทึก การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิพากษ์วิจารณ์แสดงความ
คิดเห็นแล้วสรุปอธิบาย หรือบรรยายด้วยถ้อยคา อาจใช้สถิติบ้างแต่เป็นขั้นพื้นฐาน เช่น การหา
ค่าความถี่ ค่าร้อยละ เป็นต้น
2. แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย
เมื่อแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย สามารถแบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้
1) การวิจัยมูลฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic or Pure Research) หมายถึง การวิจัยที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อสนองความอยากรู้ของมนุษย์ หรือเพื่อเพิ่มพูนความรู้ของมนุษย์ มิได้มีวัตถุประสงค์
เพื่อใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยนั้น การวิจัยดังกล่าวนี้จะทาให้ได้ความรู้หรือข้อเท็จจริงที่เป็นทฤษฏี
พื้นฐานของศาสตร์ต่างๆ หรือได้ความรู้เพื่อขยายขอบเขตของศาสตร์ต่างๆให้กว้างขวางออกไปไม่มีที่
สิ้นสุด
2) การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หมายถึง การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลที่ได้
ไปทาประโยชน์ให้แก่มนุษย์ เพื่อทาให้ชีวิตของมนุษย์มีความสุข และสะดวกสบายยิ่งขึ้นตัวอย่างของ
การวิจัยประเภทนี้ได้แก่ การวิจัยในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เช่น แพทย์ศาสตร์ เกษตรศาสตร์
และการวิจัยในสาขาสังคมศาสตร์ เช่น ศึกษาศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น
3) การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Research) หมายถึง การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลการ
ที่ได้ไปปรับปรุงงานเฉพาะหน้าที่หรือในหน้าที่ของตนเองหรือของทั้งหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งไม่มุ่ง
ที่จะนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีทั่วๆไป ตัวอย่างของงานวิจัยเชิงปฏิบัติ เช่น การวิจัยเกี่ยวกับ
การเรียนการสอนที่กระทาโดยครูซึ่งสอนวิชานั้นๆ เพื่อจะได้นาผลการวิจัยไปใช้ปรับปรุงการเรียนการ
สอนที่ตนรับผิดชอบอยู่ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย
งานวิจัย

More Related Content

What's hot

สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
supap6259
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
Dhanee Chant
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
พัน พัน
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
thkitiya
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
KiiKz Krittiya
 

What's hot (20)

แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
แนวข้อสอบ  100  ข้อแนวข้อสอบ  100  ข้อ
แนวข้อสอบ 100 ข้อ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 okรายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
รายงานผลกิจกรรมบัณฑิตน้อย เครือข่าย15 ok
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้านวิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
วิจัยในชั้นเรียนไม่ส่งการบ้าน
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 

Similar to งานวิจัย

15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
Pochchara Tiamwong
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
jeabjeabloei
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
neungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
neungzaba
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
neungzaba
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
omsnooo
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
Wes Yod
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
Aonaon Krubpom
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 

Similar to งานวิจัย (20)

การประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษาการประเมินสถานศึกษา
การประเมินสถานศึกษา
 
Wanchai s
Wanchai sWanchai s
Wanchai s
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วนการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด แก้ด่วน
 
9บทที่5
9บทที่5 9บทที่5
9บทที่5
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 

งานวิจัย

  • 2. ก คำนำ รายงานวิจัย เรื่องความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2555 เป็นการวิจัยเชิงสารวจเกี่ยวกับความพึงพอใจของบุคลากร ต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ผู้บริหารและ คณาจารย์ของคณะ สามารถนาผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของคณะฯ และ เป็นแนวทางสาหรับการตัดสินใจของผู้บริหารในการสร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้บุคลากรมีความสนใจงาน ด้านวิจัยเพื่อพัฒนางานของตนเอง และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น คณะผู้วิจัย หวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานวิจัยฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อการวางแผนและปรับปรุงปัจจัย สนับสนุนการวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์ ให้บุคลากรสามารถพัฒนางานวิจัยให้มีคุณภาพต่อไป ฝ่ายวางแผนและประกันคุณภาพ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กรกฎาคม 2556
  • 3. ข บทคัดย่อ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2555 เป็นการศึกษาเชิงสารวจความคิดเห็นของ นักศึกษาและบุคลากร คณะศึกษาศาสตร์ เกี่ยวกับปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คือด้านนโยบายและการบริหาร งานวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์ ด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของผู้ตอบแบบสารวจ ด้านแหล่ง ค้นคว้าข้อมูล ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย ด้านทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อส่งเสริม การวิจัย ด้านเวลาสาหรับการวิจัย ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย ซึ่งข้อมูลดังกล่าว ผู้บริหาร คณาจารย์ และบุคลากรของคณะสามารถนาผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของ คณะฯ และเป็นแนวทางสาหรับการตัดสินใจของผู้บริหารในการสร้างแรงจูงใจและส่งเสริมให้บุคลากรมีความ สนใจงานด้านวิจัยเพื่อพัฒนางาน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น โดยกลุ่ม ประชากรประกอบด้วยนักศึกษาและบุคลากร จานวนทั้งสิ้น 120 คน และได้รับแบบประเมินกลับคืนทั้งหมด 63 ชุด คิดเป็นร้อยละ 52.5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบประเมิน มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ เติมข้อความในช่องว่าง และแบบมาตราส่วนประมาณค่า การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูป SPSS for Windows Version 16.0 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และค่า ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่าระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย โดยภาพรวม มีระดับ ความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.84 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.52 สามารถจาแนกระดับความพึง พอใจตามรายด้าน ได้ดังต่อไปนี้ 1) ด้ำนนโยบำยและกำรบริหำรงำนวิจัยของคณะศึกษำศำสตร์ ภาพรวม มีระดับความ คิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.28 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.58 พบว่าด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุด คือ คณะศึกษาศาสตร์มีนโยบายสนับสนุนการทาวิจัยของบุคลากรอย่างชัดเจน มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ มาก ค่าเฉลี่ย 4.41 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.61 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะศึกษาศาสตร์จัด โครงการพัฒนาศักยภาพทางการวิจัยแก่บุคลากรอย่างสม่าเสมอ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.12 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.63 2) ด้ำนควำมรู้และประสบกำรณ์ด้ำนกำรวิจัยของท่ำน ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ใน ระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.55 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.77 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ คณะ ศึกษาศาสตร์มีกิจกรรมวิชาการสาหรับการทาวิจัย เช่น จัดประชุมวิชาการ การจัดแสดงงานสร้างสรรค์ การจัด ให้มีศาสตราจารย์อาคันตุกะ หรือศาสตราจารย์รับเชิญ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.92 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.88 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือมีความรู้ด้านระเบียบวิธีการวิจัย มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.34 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.98 3) ด้ำนแหล่งค้นคว้ำข้อมูล ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.15 มี ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.78 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ คณะศึกษาศาสตร์ของท่านมีระบบ ฐานข้อมูลพร้อมที่จะนามาใช้ในการวิจัย มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย4.01 มีค่าเบี่ยงเบน มาตรฐานอยู่ที่ 0.79 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะศึกษาศาสตร์มีห้องสมุด หรือแหล่งค้นคว้าข้อมูล สนับสนุนการวิจัย มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.77 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.73
  • 4. ค 4) ด้ำนเงินทุนและงบประมำณด้ำนกำรวิจัย ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน กลางค่าเฉลี่ย 3.70 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.64 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุด คือมีการแต่งตั้ง คณะกรรมการจัดหาทุนอุดหนุนการทาวิจัยจากบุคคลหรือหน่วยงานภายนอก มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.80 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.82 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะ ศึกษาศาสตร์จัดสรรงบประมาณด้านการวิจัยหรืองานสร้างสรรค์อย่างเพียงพอ มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับ ปานกลางค่าเฉลี่ย 3.59 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.83 5) ด้ำนทรัพยำกรและสิ่งอำนวยควำมสะดวกเพื่อส่งเสริมกำรวิจัย ภาพรวม มีระดับความ คิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.72 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.79 พบว่า ด้านที่มีความพึงพอใจ สูงสุดคือ คณะศึกษาศาสตร์มีมาตรการรักษาความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการวิจัย มีระดับความคิดเห็นอยู่ใน ระดับปานกลางค่าเฉลี่ย 3.80 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.67 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะ ศึกษาศาสตร์มีหน่วยงานให้การช่วยเหลือ ปรึกษาการทาวิจัย (คลินิกวิจัย) มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปาน กลาง ค่าเฉลี่ย 3.62 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.81 6) ด้ำนเวลำสำหรับกำรวิจัย ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.76 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.72 ด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุด คือคณะศึกษาศาสตร์ได้จัดเวลาให้บุคลากรทาวิจัย อย่างเหมาะสม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.88 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.85 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือภาระงานสอนหรืองานอื่นๆ ทาให้ท่านมีเวลาในการทาวิจัยน้อยลง มีระดับ ความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.68 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.79 7) ด้ำนผลตอบแทนที่ได้รับจำกกำรทำวิจัย ภาพรวม มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 3.83 มีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.68 พบว่าด้านที่มีความพึงพอใจสูงสุดคือ คณะศึกษาศาสตร์ให้ รางวัลหรือประกาศเกียรติคุณแก่ผู้มีผลงานวิจัยดีเด่น มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.96 มีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.74 ส่วนด้านที่มีความพึงพอใจต่าสุด คือคณะศึกษาศาสตร์ใช้ผลงานวิจัย ประกอบการพิจารณาเลื่อนขั้นเลื่อนตาแหน่ง มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง ค่าเฉลี่ย 3.90 มีค่า เบี่ยงเบนมาตรฐานอยู่ที่ 0.79 นอกจากนั้นยังมีข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทาง ในการปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของ คณะฯ คือ อยากให้คณะฯมีการจัดกิจกรรมเสริมความรู้ด้านการทาวิจัยให้มากขึ้น เพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์ และทักษะจากการทาวิจัยอย่างสม่าเสมอ ควรมีการสนับสนุนด้านงบประมาณให้มากขึ้น เพราะบุคลากรจะได้ มีแรงจูงใจในการทาวิจัยมากขึ้น อยากให้บุคลากรสายสนับสนุนมีโอกาสได้เผยแพร่งานวิจัยในที่ประชุม ระดับชาติ และนานาชาติ ปัญหาของการทาวิจัยอย่างหนึ่งคือ จานวนคาบสอนมาก ทาให้อาจารย์มีเวลาในการ ทาวิจัยน้อยลง ควรมีการจัดกลุ่มย่อยด้านวิจัยในกลุ่มบุคลากรสายสนับสนุนให้สม่าเสมอ มีผู้เชี่ยวชาญสอนด้วย กระตุ้นให้บุคลากรสายสนับสนุนทาวิจัยเพื่อพัฒนางานอย่างสม่าเสมอ ควรมีวิทยากรให้ความรู้ และพี่เลี้ยงดูแล แต่ทุกคนมีภาระงานประจามาก ทั้งวิทยากรและผู้ทาวิจัย งานนี้คงยาก งานสอนมีความสาคัญ จึงไม่ใช่ภาระ ควรมีการประชาสัมพันธ์ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย และด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย ให้มากขึ้น
  • 5. ง สำรบัญ เรื่อง หน้ำ บทสรุปสำหรับผู้บริหำร ก คำนำ ข สำรบัญ ง สำรบัญตำรำง ฉ สำรบัญรูปภำพ ช บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 1 1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 1.3 ขอบเขตการศึกษา 2 1.4 ข้อจากัดในการศึกษา 2 1.5 นิยามศัพท์ในการศึกษา 2 1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฏี เอกสำร และงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง 4 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 4 2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย 7 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 19 บทที่ 3 วิธีดำเนินกำรศึกษำ 21 3.1 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 21 3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 21 3.3 การเก็บรวบรวมข้อมูล 22 3.4 การวิเคราะห์ข้อมูล 22 บทที่ 4 ผลกำรวิเครำะห์ข้อมูล 24 4.1 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะ ศึกษาศาสตร์ 24 4.1.1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบประเมิน 24 4.1.2 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการ วิจัย คณะศึกษาศาสตร์ โดยภาพรวม 27 4.1.3 ผลการวิเคราะห์ระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการ วิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ในแต่ละด้าน 31
  • 6. จ สำรบัญ (ต่อ) เรื่อง หน้ำ บทที่ 5 สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ 39 5.1 สรุปผลการวิจัย 39 5.2 อภิปรายผล 40 5.3 ข้อเสนอแนะ 41 บรรณำนุกรม 42 ภำคผนวก 43
  • 7. ฉ สำรบัญตำรำง เรื่อง หน้ำ ตำรำงที่ 1 แสดงจานวนและร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมิน จาแนกตามเพศ อายุ สถานภาพ ตาแหน่งทางวิชาการกรณีเป็นบุคลากรสายผู้สอน และประเภทกรณีเป็น บุคลากรสายสนับสนุน 24 ตำรำงที่ 2 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อ ปัจจัยสนับสนุนการวิจัย ในภาพรวม 27 ตำรำงที่ 3 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน การวิจัย ด้านนโยบายและการบริหารงานวิจัยของคณะศึกษาศาสตร์ 31 ตำรำงที่ 4 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน การวิจัย ด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของท่าน 32 ตำรำงที่ 5 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน การวิจัย ด้านแหล่งค้นคว้าข้อมูล 33 ตำรำงที่ 6 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน การวิจัย ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย 34 ตำรำงที่ 7 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน การวิจัย ด้านทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อส่งเสริมการวิจัย 35 ตำรำงที่ 8 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน การวิจัย ด้านเวลาสาหรับการวิจัย 36 ตำรำงที่ 9 ร้อยละของบุคลากรที่ตอบแบบประเมินและค่าเฉลี่ยของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุน การวิจัย ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย 37
  • 8. ช สำรบัญรูปภำพ เรื่อง หน้ำ ภำพที่ 1 ขั้นตอนของกระบวนการวิจัย 16 ภำพที่ 2 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามเพศ 25 ภำพที่ 3 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามอายุ 26 ภำพที่ 4 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามสถานภาพ 26 ภำพที่ 5 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามตาแหน่งทางวิชาการกรณีเป็น บุคลากรสายผู้สอน 26 ภำพที่ 6 แสดงร้อยละของผู้ตอบแบบประเมิน จาแนกตามประเภทกรณีเป็น บุคลากรสายสนับสนุน 27 ภำพที่ 7 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อ ปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ในภาพรวม 31 ภำพที่ 8 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านนโยบายและการบริหารงานวิจัยของคณะ ศึกษาศาสตร์ 32 ภำพที่ 9 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของ ท่าน 33 ภำพที่ 10 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านแหล่งค้นคว้าข้อมูล 34 ภำพที่ 11 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย 35 ภำพที่ 12 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อ ส่งเสริม การวิจัย 36 ภำพที่ 13 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านเวลาสาหรับการวิจัย 37 ภำพที่ 14 แสดงค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานระดับความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัย สนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย 38
  • 9. บทที่ 1 บทนำ 1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยในสถาบันอุดมศึกษา ไว้หลายมาตรา เช่น มาตรา 28 ระบุว่า หลักสูตร การศึกษาระดับอุดมศึกษามีความมุ่งหมายเฉพาะที่จะพัฒนาวิชาการ วิชาชีพชั้นสูงและการค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาองค์กรความรู้และพัฒนาสังคม และมาตรา 30 ได้ระบุว่า ให้สถานศึกษาพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพื่อพัฒนาการ เรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา (ราชกิจจานุเบกษา, 2542) สาระที่ปรากฏใน พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้สะท้อนให้เห็นถึงเจตนารมณ์ที่มุ่งเน้นความสาคัญ ของการวิจัยที่มีต่อกระบวนการเรียนรู้ ดังนั้นบุคลากร คณาจารย์ นักวิชาการในสถาบันอุดมศึกษา ต้องทางานวิจัย โดยถือเป็นหน้าที่หลักที่ต้องกระทาอย่างจริงจัง เพื่อจะได้มีส่วนค้นคว้าหาคาตอบใน การแก้ไขปัญหาและสร้างสรรค์สังคม นอกจากนี้ควรเป็นผู้นาผลการวิจัยและความรู้ใหม่มา ประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในยุคปฏิรูปทางการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง และเน้นการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการนาผลการวิจัยมาใช้ในการเรียนการสอน จะช่วยฝึกทักษะกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณได้เป็นอย่างดี นอกเหนือจากการเรียนการสอน ปัจจุบัน สถาบันอุดมศึกษาได้นาการวิจัยมาใช้ในการดาเนินงานหรือการบริการงานเพื่อก่อให้เกิด ประสิทธิภาพสูง เช่นการรับฟังความคิดเห็นของประชาคม การทาประชาพิจารณ์ก่อนการปรับเปลี่ยน โครงสร้างการบริหารหรือการดาเนินงาน โดยใช้ความคิดเห็น และข้อเสนอแนะของประชาคมเป็น ข้อมูลพื้นฐานในการปรับเปลี่ยน การสารวจ การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ด้านจุดอ่อนจุดแข็งของ สิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถาบัน ก่อนการจัดทาแผนกลยุทธ์ เพื่อจัดการให้การดาเนินงาน บรรลุเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพ เหล่านี้ล้วนต้องใช้กระบวนการวิจัยทั้งสิ้น (สุกัญญา โฆวิไลกูล, 2543 อ้างถึงใน พงษ์ชรินทร์ พุธวัฒนะ, 2545) คณะศึกษาศาสตร์เป็นคณะวิชาที่จัดตั้งขึ้นเป็นอันดับที่ 4 ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการศึกษาในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยการผลิตครูระดับปริญญา และ ระดับอนุปริญญาสาขาวิชาต่างๆ ที่จะสอนในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อผลิตโสตทัศนูปกรณ์ ตาราและเอกสารการศึกษา อันจะส่งเสริมในการ เรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น และการศึกษาได้ผลมากขึ้น อีกทั้งยังมีวัตถุประสงค์ทั่วไปเพื่อจะพัฒนา การศึกษาในภูมิภาคตะวันออกเฉียงเหนือตามนโยบายของรัฐบาล โดยมีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือเพื่อ ทดลองวิจัยวิธีการสอน การจัดการเรียนการสอน และหลักสูตรประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมในการ เตรียมครู โดยเฉพาะอย่างยิ่งครูที่สอนในชนบท เพื่อมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาชนบท โดย ปฏิบัติงานร่วมกับโรงเรียนชุมชน สถานศึกษาต่างๆ และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อเผยแพร่และ ให้บริการด้านการศึกษา การอบรมแก่ชุมชนและครูประจาการในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อวิจัย ปัญหาต่างๆ ด้านการศึกษาและจิตวิทยา อันจะช่วยให้เข้าใจสภาพบุคคล และสภาพแวดล้อมของภาค ตะวันออกเฉียงเหนือให้ดียิ่งขึ้น อันจะช่วยเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป กระบวนการหนึ่งที่ช่วยให้คณะศึกษาศาสตร์ สามารถบริหารจัดการคณะให้มีประสิทธิภาพ และผลิตบัณฑิตที่พึงประสงค์ได้ คือการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักศึกษา บุคลากรสายผู้สอนและ สายสนับสนุนของคณะฯ มีความรู้ ความเข้าใจด้านการวิจัย ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่มีประโยชน์ต่อการ พัฒนางานของบุคลากรสายสนับสนุน และช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนของ
  • 10. 2 คณาจารย์ เพราะการวิจัยเป็นกระบวนการหนึ่งของการเรียนรู้ที่สามารถสร้างองค์ความรู้ใหม่ และได้ องค์ความรู้ที่มีเหตุมีผลจากการศึกษาวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ สามารถนาความรู้นั้นมาประยุกต์ใช้ได้ อย่างมั่นใจ ในการกาหนดนโยบายและในระดับปฏิบัติ (คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2542) เป็น วิธีการสร้างฐานความรู้ เพื่อดาเนินการสอน หรือการเผยแพร่วิทยาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคม ปัจจุบัน ซึ่งได้รับผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี องค์ความรู้ มีความสาคัญเพิ่มขึ้นอย่างมาก จนอาจกล่าวได้ว่าเราเริ่มเข้าสู่ยุคการจัดการองค์ความรู้ นั่นคือ แทนที่ เราจัดการข่าวสารที่ผ่านมาในยุคนี้ เราต้องรู้จักจัดการองค์ความรู้ต่างๆ และเนื่องจากการวิจัยเป็น กระบวนการสร้างองค์ความรู้ จึงนับว่าการวิจัยเป็นพื้นฐานที่จาเป็นอย่างยิ่งในการจัดการองค์ความรู้ การวิจัยเป็นวิถีชีวิตวิชาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสถาบันอุดมศึกษา ซึ่งประกอบกิจการเกี่ยวกับ ความรู้ โดยการบุกเบิก แสวงหา ทานุบารุงรักษา ถ่ายทอดและใช้ประโยชน์จากความรู้ครบทั้งวงจร การวิจัยนอกจากเป็นส่วนหนึ่งในภารกิจแล้ว ยังมีบทบาทในการสร้างความรู้เพื่อส่งเสริมภารกิจหลัก อื่นของสถาบัน (พงษ์พัชรินทร์ พุธวัฒนะ, 2545) การที่บุคลากรภายในคณะจะสามารถทางานวิจัย ของตนเองได้อย่างมีคุณภาพได้นั้น มีหลายปัจจัยที่เอื้อและสนับสนุนต่อการทางานวิจัย เช่น ปัจจัย ด้านนโยบายและการบริหารงานวิจัยของคณะฯ ปัจจัยด้านความรู้และประสบการณ์ด้านการวิจัยของ บุคลากร ปัจจัยด้านแหล่งค้นคว้าข้อมูล ปัจจัยด้านเงินทุนและงบประมาณด้านการวิจัย ปัจจัยด้าน ทรัพยากรและสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อส่งเสริมการวิจัย ปัจจัยด้านเวลาสาหรับการวิจัย และปัจจัย ด้านผลตอบแทนที่ได้รับจากการทาวิจัย ปัจจัยเหล่านี้ มีความสาคัญเป็นอย่างมากที่จะช่วยให้การ ทางานวิจัยของผู้วิจัยประสบผลสาเร็จ ดังนั้น การศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัยนั้น จึงมีความสาคัญ เป็นอย่างยิ่ง เพราะจะทาให้ทราบว่า มีปัจจัยที่สาคัญอะไรบ้างที่ทาให้บุคลากรในคณะศึกษาศาสตร์ เกิดความพึงพอใจ และมีปัจจัยอะไรบ้าง ที่คณะฯควรสนับสนุนให้บุคลากรสามารถทางานวิจัยได้ อย่างมีประสิทธิภาพ และยังเป็นแนวทางสาหรับการตัดสินใจของผู้บริหารในการสร้างแรงจูงใจและ ส่งเสริมให้บุคลากรมีความสนใจงานด้านวิจัยเพื่อพัฒนางาน และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้ มากยิ่งขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1.3 ขอบเขตกำรศึกษำ กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสารวจคือ นักศึกษาและบุคลากรคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีการศึกษา 2555 1.4 ข้อจำกัดในกำรศึกษำ ในการศึกษาครั้งนี้เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง คือ นักศึกษาและบุคลากรคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1.5 นิยำมศัพท์ในกำรศึกษำ 1) ความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจที่มีต่อการบริการมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการ ทาให้เป็นไปตามความคาดหวัง หรือการไม่เป็นไปตามความคาดหวังของผู้บริโภค
  • 11. 3 2) เจตคติต่อการวิจัย หมายถึง ความคิดเห็น ความเชื่อ และความรู้สึกของบุคคลที่มีอารมณ์ เป็นส่วนประกอบ หรือความโน้มเอียงที่จะแสดงออกต่อกระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริง โดยมี จุดมุ่งหมายที่แน่นอนและใช้ระเบียบวิธีที่มีหลักเกณฑ์เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ที่เชื่อถือได้ 3) ปัจจัยที่เอื้อต่อการทาวิจัย หมายถึง ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการทาวิจัย ได้แก่ นโยบาย การบริหารงานวิจัย ความรู้และประสบการณ์ด้านการทาวิจัย แหล่งค้นคว้าข้อมูล เงินทุน และงบประมาณด้านการวิจัย ทรัพยากรเพื่อการวิจัย เวลาสาหรับการวิจัย และผลตอบแทนที่ได้รับ จากการทาวิจัย 4) บุคลากร หมายถึง นักศึกษา บุคลากรสายผู้สอน และบุคลากรสายสนับสนุน คณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 1.6 ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1) เป็นสารสนเทศในการปรับปรุงและพัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัยของคณะ ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2) เป็นแนวทางสาหรับวางแผนและสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร ในการส่งเสริมและ พัฒนาปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 12. 4 บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฏี เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษา เรื่องความพึงพอใจของบุคลากรต่อปัจจัยสนับสนุนการวิจัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจาปีการศึกษา 2555 ผู้ศึกษาได้ทาการรวบรวมเอกสารด้านแนวคิดและ ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องโดยแบ่งเป็นหัวข้อดังต่อไปนี้ 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.1.1 นิยามของความพึงพอใจ 2.1.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย 2.2.1 นิยามของการวิจัย 2.2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย 2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.1.1 นิยามของความพึงพอใจ ความพึงพอใจได้มีนักวิชาการให้ความหมายไว้จานวนมาก ดังเช่น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิต (2537) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจว่า หมายถึง ชอบ,ชอบใจ, พึงใจ, สมใจ, จุใจ กิตติมา ปรีดีดิลก (2529) กล่าวว่า ความพึงพอใจหมายถึง ความรู้สึกชอบหรือ พอใจที่มี องค์ประกอบและจูงใจด้านต่างๆเมื่อได้รับการตอบสนอง ความพึงพอใจ คือ การชอบหรือไม่ชอบของบุคคลที่มีต่องาน (Davis, 1987) พฤติกรรมเกี่ยวกับความพึงพอใจของมนุษย์คือความพยายามที่จะขจัดความตึงเครียด หรือ ความกระวนกระวาย หรือภาวะไม่ได้ดุลยภาพในร่างกาย ซึ่งเมื่อมนุษย์สามารถขจัดสิ่งต่าง ๆ ดังกล่าว ได้แล้ว มนุษย์ย่อมได้รับความพึงพอใจในสิ่งที่ตนต้องการ (เศกสิทธิ์, 2544) อุทัยพรรณ สุดใจ (2545) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อ สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยอาจจะเป็นไปในเชิงประเมินค่า ว่าความรู้สึกหรือทัศนคติต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้นเป็นไปใน ทางบวกหรือทางลบ สุพล (2540) กล่าวว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึก ความคิดเห็นในลักษณะเชิงบวก ของบุคคลเมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการหรือได้รับสิ่งตอบแทนที่คาดหวังไว้ สุภาลักษณ์ ชัยอนันต์ (2540) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจเป็น ความรู้สึกส่วนตัวที่รู้สึกเป็นสุขหรือยินดีที่ได้รับการตอบสนองความต้องการในสิ่งที่ขาดหายไป หรือสิ่ง ที่ทาให้เกิดความไม่สมดุล ความพึงพอใจเป็นสิ่งที่กาหนดพฤติกรรมที่จะแสดงออกของบุคคล ซึ่งมีผล ต่อการเลือกที่จะปฏิบัติในกิจกรรมใดๆ นั้น อรรถพร (2546) ได้สรุปว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ทัศนคติหรือระดับความพึงพอใจของ บุคคลต่อกิจกรรมต่างๆ ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงประสิทธิภาพของกิจกรรมนั้นๆ โดยเกิดจากพื้นฐานของ การรับรู้ ค่านิยมและประสบการณ์ที่แต่ละบุคคลได้รับ ระดับของความพึงพอใจจะเกิดขึ้นเมื่อกิจกรรม นั้นๆ สามารถตอบสนองความต้องการแก่บุคคลนั้นได้
  • 13. 5 สายจิตร (2546) ได้สรุปว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกที่มีต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ซึ่งเป็นไปได้ทั้ง ทางบวกและทางลบ แต่ถ้าเมื่อใดที่สิ่งนั้นสามารถตอบสนองความต้องการหรือทาให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ได้ ก็จะเกิดความรู้สึกทางบวกแต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าสิ่งใดสร้างความรู้สึกผิดหวังไม่บรรลุ จุดมุ่งหมาย ก็จะทาให้เกิดความรู้สึกทางลบเป็นความรู้สึกไม่พึงพอใจ จากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องของนิยามความพึงพอใจ สามารถสังเคราะห์ได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งเมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการ ทาให้บุคคลมีความรู้สึกในทางบวก เป็นลักษณะอย่างหนึ่งที่เป็นนามธรรม และเป็นสิ่งที่กาหนด พฤติกรรมในการแสดงออกของบุคคลที่มีผลต่อการเลือกปฏิบัติในกิจกรรมนั้น 2.1.2 แนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ คณิต ดวงหัสดี (2537) ได้สรุปแนวคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจว่า หมายถึง ความรู้สึกชอบ หรือพอใจของบุคคลที่มีต่อการทางานและองค์ประกอบหรือสิ่งจูงใจอื่น ๆ ถ้างานที่ทาหรือ องค์ประกอบเหล่านั้นตอบสนองความต้องการของบุคคลได้บุคคลนั้นจะเกิดความพึงพอใจในงานขึ้น จะอุทิศเวลา แรงกาย แรงใจ รวมทั้งสติปัญญาให้แก่งานของตนให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีคุณภาพ สิ่งจูงใจที่ใช้เป็นเครื่องมือกระตุ้นให้บุคคลเกิดความพึงพอใจจากการศึกษา รวบรวมและ สรุป มีดังนี้ 1. สิ่งจูงใจที่เป็นวัตถุ (material inducement) ได้แก่ เงิน สิ่งของหรือสภาวะทางกายที่ ให้แก่ผู้ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ 2. สภาพทางกายที่พึงปรารถนา (desirable physical condition) คือ สิ่งแวดล้อมในการ ประกอบกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญอย่างหนึ่งอันก่อให้เกิดความสุขทางกาย 3. ผลประโยชน์ทางอุดมคติ (ideal benefaction) หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่สนอง ความ ต้องการของบุคคล 4. ผลประโยชน์ทางสังคม (association attractiveness) คือ ความสัมพันธ์ฉันท์มิตรกับผู้ ร่วมกิจกรรม อันจะทาให้เกิดความผูกพันความพึงพอใจและสภาพการเป็นอยู่ร่วมกัน เป็นความพึง พอใจของบุคคลในด้านสังคมหรือความมั่นคงในสังคม ซึ่งจะทาให้รู้สึกมีหลักประกันและมีความมั่นคง ในการประกอบกิจกรรม Maslow (1970) ทฤษฎีที่มีชื่อเสียงที่สุดของความพึงพอใจ คือ ทฤษฎีจูงใจ( motivation theory) หรือที่เรียกว่า ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจูงใจ (Maslow’s general theory of human motivation) ซึ่งมาสโลว์ได้ตั้งสมมุติฐานสิ่งจูงใจจากความต้องการของมนุษย์ไว้ว่า มนุษย์มีความ ต้องการอยู่เสมอ ความต้องการใดได้รับการตอบสนองแล้วจะไม่เป็นสิ่งจูงใจอีกต่อไป แต่ความ ต้องการที่ยังไม่ได้รับการตอบสนองนั้นจะเป็นสิ่งจูงใจแทน และมาสโลว์ได้ลาดับขั้นความต้องการของ มนุษย์จากระดับต่าถึงระดับสูง โดยแบ่งออกเป็น 5ขั้น ดังนี้ 1. ความต้องการด้านร่างกาย ( physiological needs) เป็นความต้องการพื้นฐานเพื่อ ความอยู่รอดของชีวิต เช่น ความต้องการอาหาร อากาศ ที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค และความต้องการ ทางเพศ 2. ความต้องการทางด้านความปลอดภัย ( safety needs) ได้แก่ ความต้องการความ ปลอดภัยทางด้านร่างกาย เช่น ความปลอดภัยจากอุบัติเหตุ อันตรายต่างๆ และความมั่นคงในอาชีพ 3. ความต้องการที่จะเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ( belonging needs) ได้แก่ความต้องการที่ จะเข้าร่วม และได้รับการยอมรับในสังคม ความเป็นมิตร และความรักจากเพื่อนร่วมงาน
  • 14. 6 4. ความต้องการจะเห็นคุณค่าของตนเอง (esteem needs) ได้แก่ ความต้องการอยาก เด่นในสังคม เป็นที่ยอมรับ เป็นที่ยกย่องสรรเสริญของบุคคลอื่น 5. ความต้องการที่จะได้รับความสาเร็จตามความนึกคิดของตนเอง ( self- actualization) เป็นความต้องการขั้นสูงสุดของมนุษย์ ที่คนส่วนมากอยากจะเป็นอยากจะได้ สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง (2542) กล่าวว่า 1. ความพึงพอใจเป็นผลรวมของความรู้สึกของบุคคลเกี่ยวกับระดับความชอบหรือไม่ชอบ ต่อสภาพต่าง ๆ 2. ความพึงพอใจเป็นผลของทัศนคติที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบต่าง ๆ 3. ความพึงพอใจในการทางานเป็นผลมาจากการปฏิบัติงานที่ดี และสาเร็จจนเกิดเป็นความ ภูมิใจ และได้ผลตอบแทนในรูปแบบต่าง ๆ ตามที่หวังไว้ หทัยรัตน์ ประทุมสูตร (2542) กล่าวว่า การวัดความพึงพอใจ เป็นเรื่องที่ เปรียบเทียบได้กับ ความเข้าใจทั่ว ๆ ไป ซึ่งปกติจะวัดได้โดยการสอบถามจากบุคคลที่ต้องการจะถาม มีเครื่องมือที่ ต้องการจะใช้ในการวิจัยหลาย ๆ อย่าง อย่างไรก็ดีถึงแม้ว่าจะมีการวัดอยู่หลายแนวทางแต่การศึกษา ความพึงพอใจอาจแยกตามแนวทางวัด ได้สองแนวคิดตามความคิดเห็นของ ซาลีซนิคค์ คริสเทนส์ กล่าวคือ 1. วัดจากสภาพทั้งหมดของแต่ละบุคคล เช่น ที่ทางาน ที่บ้านและทุก ๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับ ชีวิต การศึกษาตามแนวทางนี้จะได้ข้อมูลที่สมบูรณ์ แต่ทาให้เกิดความยุ่งยากกับการที่จะวัดและ เปรียบเทียบ 2. วัดได้โดยแยกออกเป็นองค์ประกอบ เช่น องค์ประกอบที่เกี่ยวกับงาน การนิเทศงาน เกี่ยวกับนายจ้าง Oskamps (1984, อ้างถึงใน ประภาภรณ์ สุรปภา 2544) ได้กล่าวไว้ว่า ความพึงพอใจมี ความหมายอยู่ 3 นัย คือ 1. ความพึงพอใจ หมายถึง สภาพการณ์ที่ผลการปฏิบัติจริงได้เป็นไปตามที่บุคคลคาดหวัง ไว้ 2. ความพึงพอใจ หมายถึง ระดับของความสาเร็จที่เป็นไปตามความต้องการ 3. ความพึงพอใจ หมายถึง งานที่ได้ตอบสนองต่อคุณค่าของบุคคล จากความหมายที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึงความรู้สึกที่เป็น การยอมรับ ความรู้สึกชอบ ความรู้สึกที่ยินดีกับการปฏิบัติงาน ทั้งการให้บริการและการรับบริการ ในทุกสถานการณ์ ทุกสถานที่ โคร์ แมน (Korman, A.K., 1977 อ้างอิงในสมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542) ได้ จาแนกทฤษฎีความพึงพอใจในงานออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1. ทฤษฎีการสนองความต้องการ กลุ่มนี้ถือว่าความพึงพอใจในงานเกิดจากความต้องการ ส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์ต่อผลที่ได้รับจากงาน กับการประสบความสาเร็จตามเป้าหมายส่วนบุคคล 2. ทฤษฎีการอ้างอิงกลุ่ม ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ในทางบวกกับคุณลักษณะของ งานตามความปรารถนา ของกลุ่ม ซึ่งสมาชิกให้กลุ่มเป็นแนวทางในการประเมินผลการทางาน มัม ฟอร์ด (Manford, E., 1972 อ้างถึงใน สมศักดิ์ คงเที่ยง และอัญชลี โพธิ์ทอง, 2542 ) ได้ จาแนกความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจจากผลการวิจัยออกเป็น 5 กลุ่มดังนี้
  • 15. 7 1. กลุ่มความต้องการทางด้านจิตวิทยา กลุ่มนี้ได้แก่ Maslow, A.H., Herzberg. F และ Likert R.โดยมองความพึงพอใจงานเกิดจากความต้องการของบุคคลที่ต้องการความสาเร็จของ งาน และความต้องการการยอมรับจากบุคคลอื่น 2. กลุ่มภาวะผู้นามองความพึงพอใจงานจากรูปแบบและการปฏิบัติของนาที่มีต่อ ผู้ใต้บังคับบัญชา กลุ่มนี้ได้แก่ Blake R.R., Mouton J.S. และ Fiedler R.R. 3. กลุ่มความพยายามต่อรองรางวัล เป็นกลุ่มที่มองความพึงพอใจจากรายได้ เงินเดือน และ ผลตอบแทนอื่น ๆ กลุ่มนี้ ได้แก่ กลุ่มบริหารธุรกิจของมหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ (Manchester Business School) 4. กลุ่มอุดมการณ์ทางการจัดการมองความพึงพอใจจากพฤติกรรมการบริหารงานขององค์กร ได้แก่ Crogier M. และ Coulder G.M. 5. กลุ่มเนื้อหาของงานและการออกแบบงาน ความพึงพอใจงานเกิดจากเนื้อหาของตัวงาน กลุ่มแนวคิดนี้มาจากสถาบันทาวิสตอค (Tavistock Institute) มหาวิทยาลัยลอนดอน Millet (1954,p.13) กล่าวว่า เป้าหมายสาคัญของการบริการ คือ การสร้างความพึงพอใจใน การให้บริการสาธารณะแก่ประชาชน โดยมีหลักและแนวทาง คือ การให้บริการอย่างเสมอภาค หมายถึง ความยุติธรรมในการบริหารงานภาครัฐที่มีฐานคติที่ว่า คนทุกคนเท่าเทียมกัน ดังนั้น ประชาชนทุกคนจะได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียมกันในแง่มุมของกฎหมาย ไม่มีการแบ่งแยกกีดกันใน การให้บริการประชาชน จะได้รับการปฏิบัติในฐานะที่เป็นปัจเจกบุคคลที่ใช้มาตรฐานในการให้บริการ เดียวกัน การให้บริการที่ตรงเวลา หมายถึง ในการบริการจะต้องมองว่า การให้บริการสาธารณะ จะต้องตรงต่อเวลา ผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภาครัฐ จะถือว่าไม่มีประสิทธิผลเลยถ้าไม่มีการ ตรงต่อเวลา ซึ่งเป็นการสร้างความไม่พอใจให้แก่ประชาชน การให้บริการอย่างเพียงพอ หมายถึง การ ให้บริการสาธารณะต้องมีลักษณะ มีจานวนการให้บริการและสถานที่ให้บริการอย่างเหมาะสม Millet เห็นว่า ความเสมอภาคหรือการตรงต่อเวลาจะไม่มีความหมายเลย ถ้ามีจานวนการให้บริการไม่ เพียงพอและสถานที่ตั้งที่ให้บริการสร้างความไม่ยุติธรรมให้เกิดขึ้นแก่ผู้รับบริการ การให้บริการอย่าง ต่อเนื่อง หมายถึง การให้บริการสาธารณะที่เป็นไปอย่างสม่าเสมอ โดยยึดประโยชน์ของสาธารณะ เป็นหลัก ไม่ใช่ยึดความพอใจของหน่วยงานที่ให้บริการว่า จะให้บริการหรือหยุดบริการเมื่อใดก็ได้และ การให้บริการอย่างก้าวหน้า (progressive service) หมายถึง การให้บริการสาธารณะที่มีการ ปรับปรุงคุณภาพ และผลการปฏิบัติงาน กล่าวอีกนัยหนึ่ง คือ การเพิ่มประสิทธิภาพหรือสามารถที่จะ ทาหน้าที่ได้มากขึ้นโดยใช้ทรัพยากรเท่าเดิม 2.2 แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย 2.2.1 นิยามของการวิจัย คาว่า วิจัย ตรงกับคาว่า Research ซึ่งในพจนานุกรมฉบับ Webster ได้ให้ความหมายของ คาว่า Research ว่าประกอบด้วยคาสองคา คือ Re ซึ่งแปลว่า ซ้า กับคาว่า Search ซึ่งแปลว่า ค้นหา ดังนั้นเมื่อรวมกันแล้วแปลตามรากศัพท์ได้ว่า การค้นคว้าซ้า หรือการค้นคว้าอีก ซึ่งหมายความได้ว่า เป็นการค้นหาหรือตรวจสอบอย่างละเอียดถี่ถ้วนหรือการค้นคว้าทดลองโดยมีเป้าหมายเพื่อการ ค้นคว้าพบข้อเท็จจริงใหม่ๆและการแปลความหมายของข้อเท็จจริงเหล่านั้นอย่างถูกต้อง หรือเพื่อการ ปรับแก้ข้อสรุป ทฤษฏีตลอดจนกฎเกณฑ์ต่างๆ ที่ยอมรับกันแต่เดิมให้ถูกต้องยิ่งขึ้นโดยอาศัย ข้อเท็จจริงใหม่ๆ ที่ค้นพบเพิ่มเติมเหล่านี้ หรือเพื่อการประยุกต์ใช้ข้อสรุป ทฤษฏีและกฎเกณฑ์ใหม่ๆ ที่ได้ค้นพบหรือปรับแก้แล้วนั้น (ลักษมี คงลาภและคณะ, 2548)
  • 16. 8 Pan Pacific Science Congress (1961 อ้างถึงใน วัลลภ ลาพาย, 2549) ได้ให้ความหมาย ของแต่ละตัวอักษรของคาว่า “RESEARCH” ไว้ดังนี้ R = Recruitment and Relationships หมายถึง การฝึกคนให้มีความรู้ รวมทั้งรวบรวมผู้มี ความรู้และปฏิบัติงานร่วมกัน ติดต่อสัมพันธ์และประสานงานกัน E = Education and Efficiency หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องมีการศึกษา มีความรู้และ สมรรถภาพสูงในการวิจัย S = Science and stimulation หมายถึง การวิจัยเป็นศาสตร์ ที่ต้องแสวงหาความรู้จริง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และผู้วิจัยจะต้องมีความคิดริเริ่ม และมีความกระตือรือร้นที่จะ ศึกษาวิจัย E = Evaluation and Environment หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องรู้จักการประเมินผลงานวิจัยว่า มีประโยชน์มีสาระเหมาะสมที่จะทาต่อไปหรือไม่ และต้องรู้จักใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ ในการวิจัย A = Aim and Attitude หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องมีจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายในการวิจัยที่ แน่นอนและมีเจคติที่ดีต่อการวิจัยนั้น R = Result หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องยอมรับผลการวิจัยนั้น เพราะเป็นผลที่ได้จากการค้นคว้า อย่างมีระบบ C = Curiosity หมายถึง ผู้วิจัยจะต้องมีความอยากรู้อยากเห็น มีความสนใจและเอาใจใส่ที่ จะศึกษาอยู่ตลอดเวลา แม้วาความอยากรู้นั้นจะเป็นเพียงเรื่องเล็กน้อยก็ตาม H = Horizon หมายถึง เมื่อผลการวิจัยปรากฏแล้ว ย่อมทาให้ทราบและเข้าใจในปัญหา เหล่านั้นได้เหมือนกับเกิดแสงสว่างขึ้น ถ้าหากการวิจัยนั้นไม่บรรลุผล ผู้วิจัยจะต้องหาทางศึกษา ค้นคว้าต่อไปจนกว่าจะพบแสงสว่างหรือแก้ปัญหาได้นั่นเอง Best (1978 อ้างถึงใน บุญชม ศรีสะอาด, 2545) ให้คานิยามไว้ว่า การวิจัย คือ การ วิเคราะห์และบันทึกการสังเกตภายใต้การควบคุมอย่างเป็นระบบและเป็นปรนัย ซึ่งอาจนาไปสู่การ สร้างทฤษฏี หลักการหรือการวางนัยทั่วไป(Generalization) Kerlinger (1986 อ้างถึงใน บุญใจ ศรีสถิตนรากูร, 2547) การวิจัย หมายถึง การศึกษา ปรากฏการณ์ต่างๆ โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และใช้ข้อมูลเชิงประจักษ์ในทุกขั้นตอนของ กระบวนการวิจัย มีการทดสอบสมมติฐาน และมีแนวคิดหรือทฤษฏีสนับสนุนสมมติฐานที่ทดสอบ David B. Grualnik (1986 อ้างถึงใน วัลลภ ลาพาย, 2549) ให้คาจากัดความของการวิจัยว่า หมายถึงการศึกษา ค้นคว้า หรือสารวจตรวจสอบอย่างจริงจัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การสารวจ ตรวจสอบหรือการทดลองที่มุ่งจะค้นคว้าและแปลความหมายของ (1) ข้อเท็จจริงในปรากฏการณ์ ต่างๆ หรือ (2) การปรับปรุงกฤษฎี หรือกฎเกณฑ์เมื่อได้ข้อเท็จจริงใหม่ๆ หรือ (3) การนาทฤษฏี กฎเกณฑ์ใหม่ หรือปรับปรุงแล้วไปประยุกต์ใช้ ในส่วนของแวดวงนักวิชาการไทย มีผู้ให้ความหมายการวิจัยที่สาคัญๆ ไว้ดังนี้ ราชบัณฑิตยสถาน (2546) ได้ให้ความหมายของการวิจัยว่า หมายถึง การค้นคว้าเพื่อหา ข้อมูลอย่างถี่ถ้วนตามหลักวิชา สุชาติ ประสิทธิรัฐสินธุ์ (2538) ให้คานิยาม ว่าการวิจัย หมายถึงกระบวนการต่างๆที่ดาเนิน ไปอย่างมีระเบียบและกฎเกณฑ์ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การจัดระเบียบงานข้อมูล การวิเคราะห์ และการตีความหมายข้อมูล ทั้งหมดนี้เพื่อให้ได้มาซึ่งคาตอบอันถูกต้องต่อปัญหาหรือคาถามที่ได้ตั้งไว้ อุทุมพร จามรมาน (2536) การวิจัย หมายถึงการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ วิธีแก้ปัญหาแบบ ใหม่ คาตอบแบบใหม่ โดยใช้กระบวนการที่เชื่อถือได้ หรือกระบวนการที่ยอมรับในศาสตร์นั้นๆ
  • 17. 9 เทียนฉาย กีระนันท์ (2537) ให้ความหมายของการวิจัยว่า การวิจัย หมายถึงการศึกษา ค้นคว้าเพื่อพิสูจน์หรือหาคาตอบ หรือหาข้อเท็จจริงอะไรบางอย่างที่อาจจะยังไม่มีการค้นพบในเรื่อง นั้นๆ มาก่อน หรืออาจจะมีการค้นพบมาแล้ว แต่เมื่อเวลาเปลี่ยนไปก็ต้องการค้นหาใหม่อีกครั้งหนึ่งก็ ได้ บุญธรรม กิจปรีดาบริสุทธิ์ (2543) ได้ให้คาจากัดความของการวิจัยว่า การวิจัย หมายถึง กระบวนการค้นคว้าหาข้อเท็จจริง หรือปรากฏการณ์ตามธรรมชาติอย่างมีระเบียบ และมีจุดมุ่งหมาย ที่แน่นอนเพื่อให้ได้ความรู้ที่เชื่อถือได้นั้นคือ การวิจัยประกอบด้วย 3 ประการ ประการแรก เป็นการ ค้นคว้าหาข้อเท็จจริงหรือปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ ประการที่สอง เป็นกระบวนการหรือการกระทา อย่างมีระเบียบ ประการสุดท้าย เป็นการกระทาที่มีจุดมุ่งหมายแน่นอน วิจารณ์ พานิช (2546) ได้ให้ความหมายการวิจัยว่า เป็นการค้นคว้าเพื่อหาข้อมูลอย่างถี่ถ้วน ตามหลักวิชา ซึ่งเจตนาของการวิจัยควรมุ่งพัฒนาองค์ความรู้ของมนุษยชาติ ของสังคมหรือของ ท้องถิ่น เป็นความรู้ที่มีความถูกต้องแม่นยา สามารถตรวจสอบได้โดยควรมีแรงบันดาลใจจากฉันทะ มากกว่าโลภะ การทางานวิจัยควรมีแรงผลักดันมาจากความกระหายใคร่รู้ มุ่งแสวงหามิตรสหายใน วงการวิจัย มุ่งสร้างสรรค์ประชาคมวิจัยให้เข้มแข็งยิ่งขึ้นและมุ่งสร้างผลงานวิจัยที่นาไปใช้ประโยชน์ แก่สังคมได้ จากนิยามต่างๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้น สามารถสรุปได้ว่า การวิจัย หมายถึง กระบวนการ ค้นคว้าหาความรู้ที่มีระบบ แบบแผนโดยมีจุดมุ่งหมายที่แน่นอน ชัดเจน เพื่อแสวงหาคาตอบหรือ ความจริงในเรื่องใดเรื่องหนึ่งภายใต้วิธีการที่มีหลักเหตุผลเชื่อถือได้ 2.2.2 ทฤษฎีเกี่ยวกับการวิจัย 2.2.2.1 ลักษณะของการวิจัย การวิจัยที่ดีควรมีลักษณะสาคัญ ดังนี้ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) 1. การวิจัยเป็นการค้นคว้าที่ต้องอาศัยความรู้ ความชานาญ และความมีระบบ 2. การวิจัยเป็นงานที่มีเหตุและมีเป้าหมาย 3. การวิจัยจะต้องมีเครื่องมือ หรือเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีความ เที่ยงตรงเชื่อถือได้ 4. การวิจัยจะต้องมีการรวบรวมข้อมูลใหม่และได้ความรู้ใหม่ กรณีใช้ข้อมูลเดิม จุดประสงค์จะต้องแตกต่างไปจากจุดประสงค์เดิม ความรู้ที่ได้อาจเป็นความรู้เดิมได้ในกรณีที่มุ่งวิจัย เพื่อตรวจสอบซ้า 5. การวิจัยมักเป็นการศึกษาค้นคว้าที่มุ่งหาข้อเท็จจริงเพื่อใช้อธิบายปรากฏการณ์ หรือพัฒนากฎเกณฑ์ทฤษฏี หรือตรวจสอบทฤษฏี หรือเพื่อพยากรณ์ปรากฏการณ์ต่างๆ หรือเพื่อวาง นัยทั่วไป (Generalization) หรือเพื่อแก้ปัญหาต่างๆ 6. การวิจัยต้องอาศัยความเพียรพยายาม ความซื่อสัตย์ กล้าหาญ บางครั้งจะต้อง เฝ้าติดตามผลบันทึกอย่างละเอียด ใช้เวลานาน บางครั้งผลวิจัยขัดแย้งกับความเชื่อของบุคคลอื่นอัน อาจทาให้ได้รับการโจมตี ผู้วิจัยจาเป็นต้องใช้ความกล้าหาญเสนอผลการวิจัยตามความจริงที่ค้นพบ 7. การวิจัยจะต้องมีการบันทึก และเขียนรายงานการวิจัยอย่างระมัดระวัง
  • 18. 10 2.2.2.2 ลักษณะที่ไม่ใช่การวิจัย ลักษณะบางประการที่ไม่ใช้การวิจัย ได้แก่ (บุญชม ศรีสะอาด, 2545) 1. การที่นิสิตนักศึกษา ไปศึกษาบางเรื่องจากเอกสาร ตารา วารสาร แล้วนาเอา ข้อความต่างๆ มาตัดต่อกัน 2. การค้นพบ (Discovery) โดยทั่วไป เช่น นั่งคิดแล้วได้คาตอบไม่ใช้การวิจัย เพราะ การค้นพบไม่มีระบบและวิธีที่ถูกต้อง อาจเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ 3. การรวบรวมข้อมูล นามาจัดเข้าตารางซึ่งอาจเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจ แต่ ไม่ใช่การวิจัย 4. การทดลองปฏิบัติการ ตามคู่มือที่แนะนาไว้ไม่ใช่การวิจัย 2.2.2.3 ประเภทของการวิจัย การแบ่งประเภทของการวิจัย สามารถแบ่งได้หลายลักษณะต่างๆ กัน ขึ้นอยู่กับเกณฑ์ที่ใช้ซึ่ง มีหลายเกณฑ์ ดังนี้ (ลักษมี คงลาภ และคณะ, 2548) 1. แบ่งตามลักษณะของข้อมูล เมื่อแบ่งตามลักษณะของข้อมูล สามารถแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ประเภท คือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เป็นการวิจัยที่มุ่งเน้นที่จะได้ข้อมูลที่อยู่ ในลักษณะของตัวเลข และต้องใช้วิธีการทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อลงสรุปผลและส่วนใหญ่ เป็นการใช้สถิติอนุมาน เช่น การวิจัยเกี่ยวกับผลการเรียนของนักศึกษา เป็นต้น 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการวิจัยที่ข้อมูลส่วนใหญ่เป็นข้อมูล เชิงคุณลักษณะไม่สามารถจัดกระทาในรูปปริมาณได้ การเก็บรวบรวมข้อมูลกระทาได้หลายวิธี เช่น อาจใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ การจดบันทึก การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิพากษ์วิจารณ์แสดงความ คิดเห็นแล้วสรุปอธิบาย หรือบรรยายด้วยถ้อยคา อาจใช้สถิติบ้างแต่เป็นขั้นพื้นฐาน เช่น การหา ค่าความถี่ ค่าร้อยละ เป็นต้น 2. แบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย เมื่อแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย สามารถแบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1) การวิจัยมูลฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic or Pure Research) หมายถึง การวิจัยที่มี วัตถุประสงค์เพื่อสนองความอยากรู้ของมนุษย์ หรือเพื่อเพิ่มพูนความรู้ของมนุษย์ มิได้มีวัตถุประสงค์ เพื่อใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยนั้น การวิจัยดังกล่าวนี้จะทาให้ได้ความรู้หรือข้อเท็จจริงที่เป็นทฤษฏี พื้นฐานของศาสตร์ต่างๆ หรือได้ความรู้เพื่อขยายขอบเขตของศาสตร์ต่างๆให้กว้างขวางออกไปไม่มีที่ สิ้นสุด 2) การวิจัยประยุกต์ (Applied Research) หมายถึง การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลที่ได้ ไปทาประโยชน์ให้แก่มนุษย์ เพื่อทาให้ชีวิตของมนุษย์มีความสุข และสะดวกสบายยิ่งขึ้นตัวอย่างของ การวิจัยประเภทนี้ได้แก่ การวิจัยในสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ประยุกต์ เช่น แพทย์ศาสตร์ เกษตรศาสตร์ และการวิจัยในสาขาสังคมศาสตร์ เช่น ศึกษาศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ เป็นต้น 3) การวิจัยเชิงปฏิบัติ (Action Research) หมายถึง การวิจัยที่มีวัตถุประสงค์เพื่อนาผลการ ที่ได้ไปปรับปรุงงานเฉพาะหน้าที่หรือในหน้าที่ของตนเองหรือของทั้งหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งไม่มุ่ง ที่จะนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีทั่วๆไป ตัวอย่างของงานวิจัยเชิงปฏิบัติ เช่น การวิจัยเกี่ยวกับ การเรียนการสอนที่กระทาโดยครูซึ่งสอนวิชานั้นๆ เพื่อจะได้นาผลการวิจัยไปใช้ปรับปรุงการเรียนการ สอนที่ตนรับผิดชอบอยู่ให้ได้ผลดียิ่งขึ้น