SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Download to read offline
°“√ª√–¬ÿ°µå „™â
                                                           À≈—°‡»√…∞°‘®æՇ撬ß
ç ... §π‡√“∂â“æÕ„π§«“¡µâÕß°“√ °Á¡§«“¡‚≈¿πâÕ¬
                                 ’
   ‡¡◊Õ¡’§«“¡‚≈¿πâÕ¬ °Á‡∫’¬¥‡∫’¬π§πÕ◊ππâÕ¬.
      Ë                                  Ë
   ∂â“∑ÿ°ª√–‡∑»¡’§«“¡§‘¥-Õ—ππ’È ‰¡à „™à‡»√…∞°‘®-
   ¡’§«“¡§‘¥«à“∑”Õ–‰√µâÕßæՇ撬ß
   À¡“¬§«“¡«à“ æÕª√–¡“≥ ‰¡à ¥‚µàß   ÿ     ç
   ‰¡à‚≈¿Õ¬à“ß¡“° §π‡√“°ÁÕ¬Ÿ‡ªìπ ÿ¢...
                             à

         æ√–√“™¥”√— ‡π◊ËÕß„π‚Õ°“ «—π‡©≈‘¡æ√–™π¡æ√√…“
                         Ù ∏—𫓧¡ ÚıÙÒ



       ”π—°ß“π§≥–°√√¡°“√æ—≤π“°“√‡»√…∞°‘®·≈– —ߧ¡·Ààß™“µ‘
      ˘ˆÚ ∂ππ°√ÿ߇°…¡ ‡¢µªÑÕ¡ª√“∫ °√ÿ߇∑æ¡À“π§√ ÒÒ
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
จัดทำโดย
คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๙๗๖๙-๗๖-๘
พิมพครั้งที่ ๑ : กันยายน ๒๕๕๐
จำนวน : ๕,๐๐๐ เลม
“...เศรษฐกิจพอเพียง แปลวา Sufficiency Economy
...คำวา Sufficiency Economy นี้ ไมมในตำราเศรษฐกิจ.
                                     ี
         จะมีไดอยางไร เพราะวาเปนทฤษฎีใหม
        ...Sufficiency Economy นั้น ไมมีในตำรา
            หมายความวาเรามีความคิดใหม...
        และทานผูเชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความวา
      เราก็สามารถที่จะไปปรับปรุงหรือไปใชหลักการ
เพื่อที่จะใหเศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น...”

      พระราชดำรัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
                     ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒



  1                      การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง   1
คำนำ
       สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแหงชาติ (สศช.) โดยคณะอนุกรรมการ
ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ไดประสานภาคีตางๆ
เพื่ อ สร า งความรู ความเข า ใจที่ ถู ก ต อ งเกี่ ย วกั บ
หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ให ป ระชาชน
และทุกภาคสวนของสังคมสามารถนำหลักปรัชญาฯ
ไปประยุ ก ต ใ ช ไ ด อ ย า งเหมาะสม และบั ง เกิ ด ผล
อยางเปนรูปธรรม
      หนั ง สื อ เรื่ อ ง “การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง” เลมนีไดรบความรวมมือจากสำนักเลขาธิการ
                      ้ ั
นายกรัฐมนตรีในการจัดทำแนวทางการประยุกตใช
หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย
สาระสำคัญ ๒ สวน คือ
  2
3
“...เศรษฐกิจพอเพียง
           เปนเสมือนรากฐานของชีวิต
         รากฐานความมั่นคงของแผนดิน
เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบานเรือน
    ตัวอาคารไวนั่นเอง สิ่งกอสรางจะมั่นคงได
ก็อยูที่เสาเข็ม แตคนสวนมากมักไมเห็นเสาเข็ม
         และลืมเสาเข็มเสียดวยซ้ำไป...”

       พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
    จากวารสารชัยพัฒนา ประจำเดือนสิงหาคม ๒๕๔๒



4
เศรษฐกิจพอเพียง
      “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาท
สมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงมี พ ระราชดำรั ส ชี้ แ นะ
แนวทางการดำเนิ น ชี วิ ต แก พ สกนิ ก รชาวไทย
มาโดยตลอดนานกว า ๓๐ ป ตั้ ง แต ก อ นเกิ ด
วิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรง
เนนย้ำแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถ
ดำรงอยู ไ ด อ ย า งมั่ น คงและยั่ ง ยื น ภายใต ก ระแส
โลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลงตางๆ




                                                    5
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
      เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทาง
การดำรงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ
ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดำเนินไปใน
ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให
กาวทันตอโลกยุคโลกาภิวตน ความพอเพียง หมายถึง
                       ั
ความพอประมาณ ความมี เหตุ ผ ล รวมถึ ง ความ
จำเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร
ตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ทังภายนอกและภายใน ทังนี้ จะตองอาศัยความรอบรู
  ้                      ้
ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิงในการนำ่
วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดำเนินการ

  6
ทุ ก ขั้ นตอน และขณะเดี ย วกั นจะต อ งเสริ ม สร า ง
พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ
นั ก ทฤษฎี และนั ก ธุ ร กิ จ ในทุ ก ระดั บ ให มี ส ำนึ ก ใน
คุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรู
ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร
มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุล และ
พรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว
และกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี


ประมวลและกลั่ นกรองจากพระราชดำรั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว
เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งพระราชทานในวโรกาสตางๆ รวมทั้งพระราชดำรัส
อืนๆ ทีเ่ กียวของ โดยไดรบพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหสำนักงานคณะกรรมการ
  ่         ่             ั
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นำไปใชและเผยแพรได เมื่อวันที่ ๒๙
พฤศจิกายน ๒๕๔๒ เพื่อเปนแนวทางปฏิบัตของทุกฝายและประชาชนโดยทั่วไป
                                         ิ


                                                                  7
8
“...คนไมเขาใจวากิจการใหญๆ
        เหมือนการสรางเขื่อนปาสัก
     ก็เปนเศรษฐกิจพอเพียง เหมือนกัน
       เขานึกวาเปนเศรษฐกิจสมัยใหม
เปนเศรษฐกิจที่หางไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง
               แตที่จริงแลว
     เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...”

พระราชดำรัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
               ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒



                                           9
10
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
     ในระดับและกลุมตางๆ
      ระดับ
        • บุคคลและครอบครัว
        • ชุมชน
        • ประเทศ

      กลุม
        •     เกษตรกร
        •     นักธุรกิจ
        •     นักการเมือง
        •     เจาหนาที่ของรัฐ
        •     ครูและอาจารย

                                  11
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
    ระดับบุคคลและครอบครัว

         เริ่ ม ต นจากการเสริ ม สร า งคนให มี ก ารเรี ย นรู
 วิชาการและทักษะตางๆ ทีจำเปน เพือใหสามารถรูเทาทัน
                            ่           ่             
 การเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ พรอมทั้งเสริมสราง
 คุณธรรม จนมีความเขาใจและตระหนักถึงคุณคา
 ของการอยูรวมกันของคนในสังคม และอยูรวมกับ
 ระบบนิ เ วศอย า งสมดุ ล เพื่ อ จะได ล ะเว น การ
 ประพฤติ มิ ช อบ ไม ต ระหนี่ เป น ผู ใ ห เกื้ อ กู ล
 แบงปน มีสติยั้งคิดพิจารณาอยางรอบคอบกอนที่จะ
 ตั ด สิ น ใจหรื อ กระทำการใดๆ จนกระทั่ ง เกิ ด เป น
 ภูมิคุมกันที่ดีในการดำรงชีวิต โดยสามารถคิดและ

  12
กระทำบนพื้ นฐานของความมี เหตุ ผ ล พอเหมาะ
พอประมาณกับสถานภาพ บทบาท และหนาที่ของ
แตละบุคคลในแตละสถานการณ แลวเพียรฝกปฏิบัติ
เชนนี้จนสามารถทำตนใหเปนที่พึ่งของตนเองได และ
เปนที่พึ่งของผูอื่นไดในที่สุด




                                            13
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
           ระดับชุมชน

        ชุ ม ชนพอเพี ย ง ประกอบด ว ย บุ ค คลและ
 ครอบครัวตางๆ ที่ใฝหาความกาวหนาบนพื้นฐานของ
 ปรัชญาแหงความพอเพียง คือมีความรูและคุณธรรม
 เปนกรอบในการดำเนินชีวิตจนสามารถพึ่งตนเองได
 บุ ค คลเหล า นี้ ม ารวมกลุ ม กั น ทำกิ จ กรรมต า งๆ
 ที่ ส อดคล อ งเหมาะสมกั บ สถานภาพ ภู มิ สั ง คม
 ของแตละชุมชน โดยพยายามใชทรัพยากรตางๆ ที่มี
 อยูในชุมชนใหเกิดประโยชนสูงสุด ผานการรวมแรง
 รวมใจ รวมคิด รวมทำ แลกเปลี่ยนเรียนรูกับบุคคล
 หลายสถานภาพในสิ่งที่จะสรางประโยชนสุขของคน

 14
สวนรวม และความกาวหนาของชุมชนอยางมีเหตุผล
โดยอาศั ย สติ ป ญ ญา ความสามารถของทุก ฝาย
ที่เกี่ยวของ และบนพื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริต
อดกลั้นตอการกระทบกระทั่ง ขยันหมั่นเพียร และ
มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือแบงปนกันระหวาง
สมาชิกชุมชน จนนำไปสูความสามัคคีของคนในชุมชน
ซึ่งเปนภูมิคุมกันที่ดีของชุมชน จนนำไปสูการพัฒนา
ของชุมชนที่สมดุลและพรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง
ตางๆ จนกระทั่งสามารถพัฒนาไปสูเครือขายระหวาง
ชุมชนตางๆ




                                              15
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
         ระดับประเทศ
        แผนการบริ ห ารจั ดการประเทศ สง เสริ มให
 บุคคล/ชุมชนตางๆ มีวิถีปฏิบัติ มีความรวมมือ และ
 การพัฒนาในสาขาตางๆ ตามแนวทางของปรัชญา
 ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและดำเนิ น การตามแผน
 ดังกลาวอยางรอบคอบเปนขั้นตอน เริ่มจากการวาง
 รากฐานของประเทศใหมีความพอเพียง โดยสงเสริม
 ให ป ระชาชนส ว นใหญ ส ามารถอยู อ ย า งพอมี พ อกิ น
 และพึ่ ง ตนเองได ด ว ยมี ค วามรู แ ละทั ก ษะที่ จ ำเป น
 ในการดำรงชี วิ ต อย า งเท า ทั นต อ การเปลี่ ย นแปลง
 ตางๆ และมีคุณธรรม ซื่อสัตยสุจริต ขยันหมั่นเพียร
 เอื้อเฟอแบงปน และใชสติปญญาในการตัดสินใจและ
  16
ดำเนินชีวิตพรอมทั้งสงเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู
ระหว า งกลุ ม คนต า งๆ จากหลากหลายภู มิ สั ง คม
หลากหลายอาชีพ หลากหลายความคิด ประสบการณ
เพื่อสรางความเขาใจและรูความเปนจริงระหวางกัน
ของคนในประเทศ จนนำไปสู ค วามสามั ค คี และ
จิ ต สำนึ ก ที่ จ ะร ว มแรงร ว มใจกั น พั ฒ นาประเทศให
เจริญกาวหนาไปอยางสอดคลองสมดุลกับสถานภาพ
ความเปนจริงของคนในประเทศอยางเปนขั้นเปนตอน
เปนลำดับๆ ตอไป




                                                    17
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
        ในกลุมเกษตรกร




  18
19
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
         ในกลุมนักธุรกิจ
           นั ก ธุ ร กิ จ พอเพี ย งจะคำนึ ง ถึ ง ความมั่ นคงและ
 ยั่ ง ยื น ของการดำเนิ น ธุ ร กิ จ มากกว า การแสวงหา
 ผลประโยชนระยะสั้น ฉะนั้น จึงตองมีความรอบรูใน
 ธุรกิจที่ตนดำเนินการอยู และมีการศึกษาขอมูลขาวสาร
 อยูตลอดเวลาเพือใหสามารถกาวทันตอการเปลียนแปลง
                         ่                              ่
 ตางๆ มีความรอบคอบในการตัดสินใจในแตละครั้ง
 เพื่อปองกันขอบกพรองเสียหายตางๆ ไมใหเกิดขึ้น และ
 ตองมีคุณธรรม คือมีความซือสัตยสจริตในการประกอบ
                                     ่         ุ
 อาชีพ ไมผลิตหรือคาขายสินคาทีกอโทษหรือสรางปญหา
                                        ่
 ใหกบคนในสังคมและสิงแวดลอม มีความขยันหมันเพียร
        ั                       ่                          ่
 อดทนในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ไม ให มี ค วามบกพร อ งและ
  20
กาวหนาไปอยางตอเนื่อง โดยมีการพัฒนาประสิทธิภาพ
การผลิต การปรับปรุงสินคาและคุณภาพใหทันกับความ
ตองการของตลาดและการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี
และในขณะเดี ย วกั นต อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม
และระบบนิ เ วศในทุ ก ขั้ น ตอนของการดำเนิ น ธุ ร กิ จ
โดยการรั ก ษาสมดุ ล ในการแบ ง ป น ผลประโยชน ข อง
ธุรกิจในระหวางผูมีสวนไดสวนเสียตางๆ อยางสมเหตุ
สมผลตั้งแตผูบริโภค พนักงาน บริษัทคูคา ผูถือหุน
และสังคมวงกวาง รวมถึงสิ่งแวดลอม




                                                     21
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
      ในกลุมนักการเมือง

        นั ก การเมื อ งที่ มี ห ลั ก คิ ด และหลั ก ปฏิ บั ติ บ น
 พืนฐานของเศรษฐกิจพอเพียงจะตองเปนตัวอยางของ
    ้
 ผูนำที่มีความเขมแข็งทางดานคุณธรรม จริยธรรม
 มีความละอายและเกรงกลัวตอการกระทำความผิด
 แม เพี ย งเล็ ก น อ ย เนื่ อ งจากการกระทำของผู น ำ
 สงผลกระทบในวงกว า งต อ ชุ ม ชน/สั ง คม และ
 ในขณะเดียวกันนักการเมืองในทุกระดับจะตองรูจัก
 สังคม ชุ มชน ที่ แต ล ะคนเปนผู แทนอยางถอ งแท
 มีความเขาใจระบบการปกครองและระเบียบปฏิบัติ
 ต า งๆ ตามกฎหมายและขนบธรรมเนี ยมประเพณี

 22
ของสั ง คม รอบรู แ ละเท า ทั น การเปลี่ ย นแปลง
ในดานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดย
มุ ง ที่ จ ะดำเนิ น วิ ถี ท างการเมื อ งเพื่ อ ให ท อ งถิ่ น /
ประเทศชาติ มีความกาวหนาไปอยางสมดุลในทุกๆ ดาน
และคนในทองถิ่น/ประเทศชาติ อยูอยางพอเพียง
สมัครสมานสามัคคีปรองดองกัน
           การกำหนดนโยบาย การออกกฎหมายและ
ขอบัญญัติตางๆ ตองยึดมั่นอยูบนพื้นฐานของความ
พอเพียง โดยบำรุงรักษาสิงทีดทมอยูแลว เชน คานิยม
                               ่ ่ ี ี่ ี 
องค ค วามรู สิ่ ง แวดล อมที่ ดี ใหค งอยู พร อ มทั้ ง
ปรับปรุง/แกไข/ยกเลิก สวนที่ไมดีที่เปนเหตุใหเกิด
ความไมส มดุ ล ไม พ อเพียงในสั ง คม ใหก ลับมาสู
แนวทางปฏิบัติที่มุงสูความสมดุลและสนับสนุนใหเกิด

                                                           23
สิ่งที่ดีเปนประโยชนตอสวนรวมแตยังขาดอยู เชน
ความกาวหนาดานเทคโนโลยี การพัฒนาฝมืออาชีพ
ตางๆ ใหเกิดขึ้นอยางสมดุลกับศักยภาพและระดับ
การพัฒ นาของท อ งถิ่ น /ประเทศชาติ เพื่อ นำไปสู
ความสามารถในการพึ่ ง ตนเองได ข องคน/ชุ ม ชน
ในทุกระดับ




24
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
     ในกลุมเจาหนาที่ของรัฐ

          เจาหนาทีของรัฐจะตองเริมตนสรางความพอเพียง
                     ่                 ่
 ให เ กิ ด ขึ้ น ในการดำเนิ นชี วิ ต ของแต ล ะบุ ค คลก อ น
 โดยตระหนั ก ถึ ง บทบาทหน า ที่ ข องตนในการเป น
 ผู ให บ ริ ก ารแก สั ง คม และร ว มเสริ ม สร า งสภาวะ
 แวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การอยู ร ว มกั นของคนในสั ง คม
 และอยูรวมกับระบบนิเวศไดอยางสมดุล มีสำนึกใน
 คุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต มีสติยั้งคิด ใชปญญา
 พิจารณาอยางรอบคอบในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติ
 หนาที่บนพื้นฐานของความมีเหตุมีผล พอประมาณกับ
 ศั ก ยภาพและสถานภาพของแต ล ะบุ ค คลในแต ล ะ

                                                        25
สถานการณ และหมั่นเสริมสรางความรูใหเทาทันการ
เปลี่ยนแปลงตางๆ เพื่อจะไดมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี
       การเตรียมนโยบาย แผนงาน หรือโครงการตางๆ
ต อ งสอดคล อ งกั บ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง
โดยเน น การพั ฒ นาที่ ส ร า งความสมดุ ล ในด า น
เศรษฐกิ จ สั ง คม สิ่ ง แวดล อ ม และวั ฒ นธรรม
ใหเกิดขึ้นพรอมๆ กับการรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง
ตางๆ โดยมุงใหประชาชน/ชุมชน สามารถพึ่งตนเอง
และสามารถเป นที่ พึ่ ง ของสั ง คม/ประเทศชาติ ไ ด
ในที่สุด
       เจ า หน า ที่ ข องรั ฐ ไม ค วรสั่ ง การหรื อ ชี้ น ำ
ประชาชน/ชุ ม ชนมากเกิ นไป แตค วรสนับสนุ นให
ประชาชน/ชุมชนสามารถชวยตนเอง กำหนดทิศทาง

26
การพัฒนาหรือแผนงาน กิจกรรมที่ยืนอยูบนขาตนเอง
พึงพาตนเองได แลวใหเจาหนาทีของรัฐมาชวยสนับสนุน
  ่                            ่
ใหแผนงาน กิจกรรมนี้เปนจริงขึ้นมา ตามหลักการ
พัฒนา “ชวยเหลือประชาชน/ชุมชนเพื่อใหเขาชวย
ตัวเองได”




                                              27
การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง
      ในกลุมครูและอาจารย

        ครู แ ละอาจารย จ ะต อ งทำตนให เป นตั ว อย า ง
แก นั ก เรี ย นและนั ก ศึก ษา ในการดำเนิ นชี วิ ต อย าง
พอเพียงใหไดกอน จึงจะสามารถถายทอด ปลูกฝง
อบรม และทำตนให เปนตั วอยางแกนัก เรี ยนและ
นักศึกษา ใหเขาใจเศรษฐกิจพอเพียงอยางถูกตอง
และสามารถนำไปประยุกตใชไดในชีวิตประจำวันของ
แตละคน ผานการบูรณาการในสาระเรียนรูวิชาตางๆ
ตลอดจนสอดแทรกในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตางๆ
        การดำเนินชีวิตอยางพอเพียง ตองเริ่มจากการ
ตระหนักถึงความจำเปนของการอยูรวมกันของคน

28
ในสังคม และอยูรวมกับระบบนิเวศไดอยางสมดุล
และเข า ใจหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งอย า งถ อ งแท
จนเห็นวาเปนหลักคิดและหลักปฏิบัติที่จะเสริมสราง
ใหสั งคมเกิดสั นติสุ ข มีค วามเจริญก าวหนาอย าง
สมดุ ล และยั่ง ยื น และคนในสัง คมมี ค วามสามัค คี
ปรองดองกัน แลวฝกปฏิบัติตนใหมีสำนึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตยสุจริต มีสติยั้งคิด ใชปญญาพิจารณา
อยางรอบคอบ ในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติหนาที่
บนพืนฐานของความมีเหตุผล พอประมาณกับศักยภาพ
      ้
และสถานภาพของแตละบุคคล ในแตละสถานการณ
และหมั่ น เสริ มสรา งความรูในดานตางๆ ใหเท าทั น
การเปลี่ยนแปลงเพื่อจะไดมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี

                                                29
เนื่ อ งจากความรู แ ละความมี เหตุ มี ผ ลมี ค วาม
สำคั ญ ยิ่ ง ครู แ ละอาจารย จึ ง มี บ ทบาทสำคั ญ ยิ่ ง
ในเรื่องนี้ แตอยาลืมวาตองเปนความรูที่รอบคอบ
ระมัดระวัง และเหมาะสมกับแตละภูมสังคมดวย
                                        ิ




30
“...ในการพัฒนาประเทศนั้นจำเปนตองทำตามลำดับขั้น
        เริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือความมีกินมีใช
ของประชาชนกอน ดวยวิธีการที่ประหยัด ระมัดระวัง
             แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐาน
     เกิดขึ้นมั่นคงพอควรแลว จึงคอยสรางเสริม
  ความเจริญขั้นที่สูงขึ้นตามลำดับตอไป...การถือหลัก
     ที่จะสงเสริมความเจริญใหคอยเปนไปตามลำดับ
   ดวยความรอบคอบ ระมัดระวังและประหยัดนั้น
             ก็เพื่อปองกันการผิดพลาดลมเหลว
     และเพื่อใหบรรลุผลสำเร็จไดแนนอนบริบูรณ...”

      พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร
            ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
                ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗

                                               31
“...ประหยัด พอเพียง ทุกสิ่งทุกอยางที่พอเพียง จะตองทำจริง
               แลวก็พอเพียง ทฤษฎีนี้ใชได...”
     พระราชดำรัสพระราชทานแกเอกอัคราชฑูตและกงสุลใหญไทยฯ
                      ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐




32
หากทานผูใดสนใจที่จะขอขอมูลเพิ่มเติม
             สามารถติดตอไดท่ี
        กลุมงานเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ
            และสังคมแหงชาติ
   ๙๖๒ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส
     เขตปอมปราบ กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐

   โทรศัพท ๐ ๒๒๘๐ ๔๐๘๕ ตอ ๒๔๐๗, ๕๑๐๓
 โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๙๑๕๘ หรือ ๐ ๒๒๘๑ ๖๑๒๗
            Sufficiency@nesdb.go.th
      หรือ www.sufficiencyeconomy.org

More Related Content

What's hot

นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาPavana Numampornsiri
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development planechanok
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNunteeka Nunun
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงKowin Butdawong
 

What's hot (13)

นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษาเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
เศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
 
4. development plane
4. development plane4. development plane
4. development plane
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Viewers also liked

สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอนKanyakon
 
HKBU Library U-Life presentation
HKBU Library U-Life presentationHKBU Library U-Life presentation
HKBU Library U-Life presentationHKBU Library
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551Kanyakon
 
Your Thesis and Open Access
Your Thesis and Open AccessYour Thesis and Open Access
Your Thesis and Open AccessHKBU Library
 
Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...
Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...
Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...HKBU Library
 
MCCP 7012 Effective Literature Searching
MCCP 7012 Effective Literature Searching MCCP 7012 Effective Literature Searching
MCCP 7012 Effective Literature Searching HKBU Library
 

Viewers also liked (6)

สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
HKBU Library U-Life presentation
HKBU Library U-Life presentationHKBU Library U-Life presentation
HKBU Library U-Life presentation
 
Book mark2551
Book mark2551Book mark2551
Book mark2551
 
Your Thesis and Open Access
Your Thesis and Open AccessYour Thesis and Open Access
Your Thesis and Open Access
 
Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...
Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...
Publishing in academic journals: Tips to help you succeed - Taylor and Franci...
 
MCCP 7012 Effective Literature Searching
MCCP 7012 Effective Literature Searching MCCP 7012 Effective Literature Searching
MCCP 7012 Effective Literature Searching
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงfreelance
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนDinhin Rakpong-Asoke
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp1
Pp1Pp1
Pp1
 
Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
Pp
PpPp
Pp
 
Pp
PpPp
Pp
 
88
8888
88
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยงผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
ผู้ใหญ่ปอย --ประวัติศาสตร์ฉบับย่อของลัทธิเสรีนิยมใหม่ เชื่อมโยง
 
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
Thai economic
Thai economicThai economic
Thai economic
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. °“√ª√–¬ÿ°µå „™â À≈—°‡»√…∞°‘®æÕ‡æ’¬ß ç ... §π‡√“∂â“æÕ„π§«“¡µâÕß°“√ °Á¡§«“¡‚≈¿πâÕ¬ ’ ‡¡◊Õ¡’§«“¡‚≈¿πâÕ¬ °Á‡∫’¬¥‡∫’¬π§πÕ◊ππâÕ¬. Ë Ë ∂â“∑ÿ°ª√–‡∑»¡’§«“¡§‘¥-Õ—ππ’È ‰¡à „™à‡»√…∞°‘®- ¡’§«“¡§‘¥«à“∑”Õ–‰√µâÕßæÕ‡æ’¬ß À¡“¬§«“¡«à“ æÕª√–¡“≥ ‰¡à ¥‚µàß ÿ ç ‰¡à‚≈¿Õ¬à“ß¡“° §π‡√“°ÁÕ¬Ÿ‡ªìπ ÿ¢... à æ√–√“™¥”√— ‡π◊ËÕß„π‚Õ°“ «—π‡©≈‘¡æ√–™π¡æ√√…“ Ù ∏—𫓧¡ ÚıÙÒ  ”π—°ß“π§≥–°√√¡°“√æ—≤π“°“√‡»√…∞°‘®·≈– —ߧ¡·Ààß™“µ‘ ˘ˆÚ ∂ππ°√ÿ߇°…¡ ‡¢µªÑÕ¡ª√“∫ °√ÿ߇∑æ¡À“π§√ ÒÒ
  • 3. “...เศรษฐกิจพอเพียง แปลวา Sufficiency Economy ...คำวา Sufficiency Economy นี้ ไมมในตำราเศรษฐกิจ. ี จะมีไดอยางไร เพราะวาเปนทฤษฎีใหม ...Sufficiency Economy นั้น ไมมีในตำรา หมายความวาเรามีความคิดใหม... และทานผูเชี่ยวชาญสนใจ ก็หมายความวา เราก็สามารถที่จะไปปรับปรุงหรือไปใชหลักการ เพื่อที่จะใหเศรษฐกิจของประเทศและของโลกพัฒนาดีขึ้น...” พระราชดำรัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ 1 การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง 1
  • 4. คำนำ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ (สศช.) โดยคณะอนุกรรมการ ขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง ไดประสานภาคีตางๆ เพื่ อ สร า งความรู ความเข า ใจที่ ถู ก ต อ งเกี่ ย วกั บ หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง ให ป ระชาชน และทุกภาคสวนของสังคมสามารถนำหลักปรัชญาฯ ไปประยุ ก ต ใ ช ไ ด อ ย า งเหมาะสม และบั ง เกิ ด ผล อยางเปนรูปธรรม หนั ง สื อ เรื่ อ ง “การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจ พอเพียง” เลมนีไดรบความรวมมือจากสำนักเลขาธิการ ้ ั นายกรัฐมนตรีในการจัดทำแนวทางการประยุกตใช หลั ก ปรั ช ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบดวย สาระสำคัญ ๒ สวน คือ 2
  • 5. 3
  • 6. “...เศรษฐกิจพอเพียง เปนเสมือนรากฐานของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผนดิน เปรียบเสมือนเสาเข็มที่ถูกตอกรองรับบานเรือน ตัวอาคารไวนั่นเอง สิ่งกอสรางจะมั่นคงได ก็อยูที่เสาเข็ม แตคนสวนมากมักไมเห็นเสาเข็ม และลืมเสาเข็มเสียดวยซ้ำไป...” พระราชดำรัสพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว จากวารสารชัยพัฒนา ประจำเดือนสิงหาคม ๒๕๔๒ 4
  • 7. เศรษฐกิจพอเพียง “เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาท สมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว ทรงมี พ ระราชดำรั ส ชี้ แ นะ แนวทางการดำเนิ น ชี วิ ต แก พ สกนิ ก รชาวไทย มาโดยตลอดนานกว า ๓๐ ป ตั้ ง แต ก อ นเกิ ด วิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรง เนนย้ำแนวทางการแกไขเพื่อใหรอดพน และสามารถ ดำรงอยู ไ ด อ ย า งมั่ น คงและยั่ ง ยื น ภายใต ก ระแส โลกาภิวัตนและความเปลี่ยนแปลงตางๆ 5
  • 8. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่ชี้ถึงแนวทาง การดำรงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศใหดำเนินไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให กาวทันตอโลกยุคโลกาภิวตน ความพอเพียง หมายถึง ั ความพอประมาณ ความมี เหตุ ผ ล รวมถึ ง ความ จำเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควร ตอการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลง ทังภายนอกและภายใน ทังนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ้ ้ ความรอบคอบและความระมัดระวังอยางยิงในการนำ่ วิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดำเนินการ 6
  • 9. ทุ ก ขั้ นตอน และขณะเดี ย วกั นจะต อ งเสริ ม สร า ง พื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นั ก ทฤษฎี และนั ก ธุ ร กิ จ ในทุ ก ระดั บ ให มี ส ำนึ ก ใน คุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความรอบรู ที่เหมาะสม ดำเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ เพื่อใหสมดุล และ พรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว และกวางขวาง ทั้งดานวัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี ประมวลและกลั่ นกรองจากพระราชดำรั ส ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ า อยู หั ว เรื่องเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งพระราชทานในวโรกาสตางๆ รวมทั้งพระราชดำรัส อืนๆ ทีเ่ กียวของ โดยไดรบพระราชทานพระบรมราชานุญาตใหสำนักงานคณะกรรมการ ่ ่ ั พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ นำไปใชและเผยแพรได เมื่อวันที่ ๒๙ พฤศจิกายน ๒๕๔๒ เพื่อเปนแนวทางปฏิบัตของทุกฝายและประชาชนโดยทั่วไป ิ 7
  • 10. 8
  • 11. “...คนไมเขาใจวากิจการใหญๆ เหมือนการสรางเขื่อนปาสัก ก็เปนเศรษฐกิจพอเพียง เหมือนกัน เขานึกวาเปนเศรษฐกิจสมัยใหม เปนเศรษฐกิจที่หางไกลจากเศรษฐกิจพอเพียง แตที่จริงแลว เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...” พระราชดำรัสเนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๒๓ ธันวาคม ๒๕๔๒ 9
  • 12. 10
  • 13. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในระดับและกลุมตางๆ ระดับ • บุคคลและครอบครัว • ชุมชน • ประเทศ กลุม • เกษตรกร • นักธุรกิจ • นักการเมือง • เจาหนาที่ของรัฐ • ครูและอาจารย 11
  • 14. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระดับบุคคลและครอบครัว เริ่ ม ต นจากการเสริ ม สร า งคนให มี ก ารเรี ย นรู วิชาการและทักษะตางๆ ทีจำเปน เพือใหสามารถรูเทาทัน ่ ่  การเปลี่ยนแปลงในดานตางๆ พรอมทั้งเสริมสราง คุณธรรม จนมีความเขาใจและตระหนักถึงคุณคา ของการอยูรวมกันของคนในสังคม และอยูรวมกับ ระบบนิ เ วศอย า งสมดุ ล เพื่ อ จะได ล ะเว น การ ประพฤติ มิ ช อบ ไม ต ระหนี่ เป น ผู ใ ห เกื้ อ กู ล แบงปน มีสติยั้งคิดพิจารณาอยางรอบคอบกอนที่จะ ตั ด สิ น ใจหรื อ กระทำการใดๆ จนกระทั่ ง เกิ ด เป น ภูมิคุมกันที่ดีในการดำรงชีวิต โดยสามารถคิดและ 12
  • 15. กระทำบนพื้ นฐานของความมี เหตุ ผ ล พอเหมาะ พอประมาณกับสถานภาพ บทบาท และหนาที่ของ แตละบุคคลในแตละสถานการณ แลวเพียรฝกปฏิบัติ เชนนี้จนสามารถทำตนใหเปนที่พึ่งของตนเองได และ เปนที่พึ่งของผูอื่นไดในที่สุด 13
  • 16. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระดับชุมชน ชุ ม ชนพอเพี ย ง ประกอบด ว ย บุ ค คลและ ครอบครัวตางๆ ที่ใฝหาความกาวหนาบนพื้นฐานของ ปรัชญาแหงความพอเพียง คือมีความรูและคุณธรรม เปนกรอบในการดำเนินชีวิตจนสามารถพึ่งตนเองได บุ ค คลเหล า นี้ ม ารวมกลุ ม กั น ทำกิ จ กรรมต า งๆ ที่ ส อดคล อ งเหมาะสมกั บ สถานภาพ ภู มิ สั ง คม ของแตละชุมชน โดยพยายามใชทรัพยากรตางๆ ที่มี อยูในชุมชนใหเกิดประโยชนสูงสุด ผานการรวมแรง รวมใจ รวมคิด รวมทำ แลกเปลี่ยนเรียนรูกับบุคคล หลายสถานภาพในสิ่งที่จะสรางประโยชนสุขของคน 14
  • 17. สวนรวม และความกาวหนาของชุมชนอยางมีเหตุผล โดยอาศั ย สติ ป ญ ญา ความสามารถของทุก ฝาย ที่เกี่ยวของ และบนพื้นฐานของความซื่อสัตยสุจริต อดกลั้นตอการกระทบกระทั่ง ขยันหมั่นเพียร และ มีความเอื้อเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือแบงปนกันระหวาง สมาชิกชุมชน จนนำไปสูความสามัคคีของคนในชุมชน ซึ่งเปนภูมิคุมกันที่ดีของชุมชน จนนำไปสูการพัฒนา ของชุมชนที่สมดุลและพรอมรับตอการเปลี่ยนแปลง ตางๆ จนกระทั่งสามารถพัฒนาไปสูเครือขายระหวาง ชุมชนตางๆ 15
  • 18. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระดับประเทศ แผนการบริ ห ารจั ดการประเทศ สง เสริ มให บุคคล/ชุมชนตางๆ มีวิถีปฏิบัติ มีความรวมมือ และ การพัฒนาในสาขาตางๆ ตามแนวทางของปรัชญา ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและดำเนิ น การตามแผน ดังกลาวอยางรอบคอบเปนขั้นตอน เริ่มจากการวาง รากฐานของประเทศใหมีความพอเพียง โดยสงเสริม ให ป ระชาชนส ว นใหญ ส ามารถอยู อ ย า งพอมี พ อกิ น และพึ่ ง ตนเองได ด ว ยมี ค วามรู แ ละทั ก ษะที่ จ ำเป น ในการดำรงชี วิ ต อย า งเท า ทั นต อ การเปลี่ ย นแปลง ตางๆ และมีคุณธรรม ซื่อสัตยสุจริต ขยันหมั่นเพียร เอื้อเฟอแบงปน และใชสติปญญาในการตัดสินใจและ 16
  • 19. ดำเนินชีวิตพรอมทั้งสงเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ระหว า งกลุ ม คนต า งๆ จากหลากหลายภู มิ สั ง คม หลากหลายอาชีพ หลากหลายความคิด ประสบการณ เพื่อสรางความเขาใจและรูความเปนจริงระหวางกัน ของคนในประเทศ จนนำไปสู ค วามสามั ค คี และ จิ ต สำนึ ก ที่ จ ะร ว มแรงร ว มใจกั น พั ฒ นาประเทศให เจริญกาวหนาไปอยางสอดคลองสมดุลกับสถานภาพ ความเปนจริงของคนในประเทศอยางเปนขั้นเปนตอน เปนลำดับๆ ตอไป 17
  • 21. 19
  • 22. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุมนักธุรกิจ นั ก ธุ ร กิ จ พอเพี ย งจะคำนึ ง ถึ ง ความมั่ นคงและ ยั่ ง ยื น ของการดำเนิ น ธุ ร กิ จ มากกว า การแสวงหา ผลประโยชนระยะสั้น ฉะนั้น จึงตองมีความรอบรูใน ธุรกิจที่ตนดำเนินการอยู และมีการศึกษาขอมูลขาวสาร อยูตลอดเวลาเพือใหสามารถกาวทันตอการเปลียนแปลง  ่ ่ ตางๆ มีความรอบคอบในการตัดสินใจในแตละครั้ง เพื่อปองกันขอบกพรองเสียหายตางๆ ไมใหเกิดขึ้น และ ตองมีคุณธรรม คือมีความซือสัตยสจริตในการประกอบ ่ ุ อาชีพ ไมผลิตหรือคาขายสินคาทีกอโทษหรือสรางปญหา ่ ใหกบคนในสังคมและสิงแวดลอม มีความขยันหมันเพียร ั ่ ่ อดทนในการพั ฒ นาธุ ร กิ จ ไม ให มี ค วามบกพร อ งและ 20
  • 23. กาวหนาไปอยางตอเนื่อง โดยมีการพัฒนาประสิทธิภาพ การผลิต การปรับปรุงสินคาและคุณภาพใหทันกับความ ตองการของตลาดและการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี และในขณะเดี ย วกั นต อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต อ สั ง คม และระบบนิ เ วศในทุ ก ขั้ น ตอนของการดำเนิ น ธุ ร กิ จ โดยการรั ก ษาสมดุ ล ในการแบ ง ป น ผลประโยชน ข อง ธุรกิจในระหวางผูมีสวนไดสวนเสียตางๆ อยางสมเหตุ สมผลตั้งแตผูบริโภค พนักงาน บริษัทคูคา ผูถือหุน และสังคมวงกวาง รวมถึงสิ่งแวดลอม 21
  • 24. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุมนักการเมือง นั ก การเมื อ งที่ มี ห ลั ก คิ ด และหลั ก ปฏิ บั ติ บ น พืนฐานของเศรษฐกิจพอเพียงจะตองเปนตัวอยางของ ้ ผูนำที่มีความเขมแข็งทางดานคุณธรรม จริยธรรม มีความละอายและเกรงกลัวตอการกระทำความผิด แม เพี ย งเล็ ก น อ ย เนื่ อ งจากการกระทำของผู น ำ สงผลกระทบในวงกว า งต อ ชุ ม ชน/สั ง คม และ ในขณะเดียวกันนักการเมืองในทุกระดับจะตองรูจัก สังคม ชุ มชน ที่ แต ล ะคนเปนผู แทนอยางถอ งแท มีความเขาใจระบบการปกครองและระเบียบปฏิบัติ ต า งๆ ตามกฎหมายและขนบธรรมเนี ยมประเพณี 22
  • 25. ของสั ง คม รอบรู แ ละเท า ทั น การเปลี่ ย นแปลง ในดานตางๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ โดย มุ ง ที่ จ ะดำเนิ น วิ ถี ท างการเมื อ งเพื่ อ ให ท อ งถิ่ น / ประเทศชาติ มีความกาวหนาไปอยางสมดุลในทุกๆ ดาน และคนในทองถิ่น/ประเทศชาติ อยูอยางพอเพียง สมัครสมานสามัคคีปรองดองกัน การกำหนดนโยบาย การออกกฎหมายและ ขอบัญญัติตางๆ ตองยึดมั่นอยูบนพื้นฐานของความ พอเพียง โดยบำรุงรักษาสิงทีดทมอยูแลว เชน คานิยม ่ ่ ี ี่ ี  องค ค วามรู สิ่ ง แวดล อมที่ ดี ใหค งอยู พร อ มทั้ ง ปรับปรุง/แกไข/ยกเลิก สวนที่ไมดีที่เปนเหตุใหเกิด ความไมส มดุ ล ไม พ อเพียงในสั ง คม ใหก ลับมาสู แนวทางปฏิบัติที่มุงสูความสมดุลและสนับสนุนใหเกิด 23
  • 26. สิ่งที่ดีเปนประโยชนตอสวนรวมแตยังขาดอยู เชน ความกาวหนาดานเทคโนโลยี การพัฒนาฝมืออาชีพ ตางๆ ใหเกิดขึ้นอยางสมดุลกับศักยภาพและระดับ การพัฒ นาของท อ งถิ่ น /ประเทศชาติ เพื่อ นำไปสู ความสามารถในการพึ่ ง ตนเองได ข องคน/ชุ ม ชน ในทุกระดับ 24
  • 27. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุมเจาหนาที่ของรัฐ เจาหนาทีของรัฐจะตองเริมตนสรางความพอเพียง ่ ่ ให เ กิ ด ขึ้ น ในการดำเนิ นชี วิ ต ของแต ล ะบุ ค คลก อ น โดยตระหนั ก ถึ ง บทบาทหน า ที่ ข องตนในการเป น ผู ให บ ริ ก ารแก สั ง คม และร ว มเสริ ม สร า งสภาวะ แวดล อ มที่ เ อื้ อ ต อ การอยู ร ว มกั นของคนในสั ง คม และอยูรวมกับระบบนิเวศไดอยางสมดุล มีสำนึกใน คุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต มีสติยั้งคิด ใชปญญา พิจารณาอยางรอบคอบในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติ หนาที่บนพื้นฐานของความมีเหตุมีผล พอประมาณกับ ศั ก ยภาพและสถานภาพของแต ล ะบุ ค คลในแต ล ะ 25
  • 28. สถานการณ และหมั่นเสริมสรางความรูใหเทาทันการ เปลี่ยนแปลงตางๆ เพื่อจะไดมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี การเตรียมนโยบาย แผนงาน หรือโครงการตางๆ ต อ งสอดคล อ งกั บ ปรั ช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย ง โดยเน น การพั ฒ นาที่ ส ร า งความสมดุ ล ในด า น เศรษฐกิ จ สั ง คม สิ่ ง แวดล อ ม และวั ฒ นธรรม ใหเกิดขึ้นพรอมๆ กับการรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง ตางๆ โดยมุงใหประชาชน/ชุมชน สามารถพึ่งตนเอง และสามารถเป นที่ พึ่ ง ของสั ง คม/ประเทศชาติ ไ ด ในที่สุด เจ า หน า ที่ ข องรั ฐ ไม ค วรสั่ ง การหรื อ ชี้ น ำ ประชาชน/ชุ ม ชนมากเกิ นไป แตค วรสนับสนุ นให ประชาชน/ชุมชนสามารถชวยตนเอง กำหนดทิศทาง 26
  • 29. การพัฒนาหรือแผนงาน กิจกรรมที่ยืนอยูบนขาตนเอง พึงพาตนเองได แลวใหเจาหนาทีของรัฐมาชวยสนับสนุน ่ ่ ใหแผนงาน กิจกรรมนี้เปนจริงขึ้นมา ตามหลักการ พัฒนา “ชวยเหลือประชาชน/ชุมชนเพื่อใหเขาชวย ตัวเองได” 27
  • 30. การประยุกตใชหลักเศรษฐกิจพอเพียง ในกลุมครูและอาจารย ครู แ ละอาจารย จ ะต อ งทำตนให เป นตั ว อย า ง แก นั ก เรี ย นและนั ก ศึก ษา ในการดำเนิ นชี วิ ต อย าง พอเพียงใหไดกอน จึงจะสามารถถายทอด ปลูกฝง อบรม และทำตนให เปนตั วอยางแกนัก เรี ยนและ นักศึกษา ใหเขาใจเศรษฐกิจพอเพียงอยางถูกตอง และสามารถนำไปประยุกตใชไดในชีวิตประจำวันของ แตละคน ผานการบูรณาการในสาระเรียนรูวิชาตางๆ ตลอดจนสอดแทรกในกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตางๆ การดำเนินชีวิตอยางพอเพียง ตองเริ่มจากการ ตระหนักถึงความจำเปนของการอยูรวมกันของคน 28
  • 31. ในสังคม และอยูรวมกับระบบนิเวศไดอยางสมดุล และเข า ใจหลั ก เศรษฐกิ จ พอเพี ย งอย า งถ อ งแท จนเห็นวาเปนหลักคิดและหลักปฏิบัติที่จะเสริมสราง ใหสั งคมเกิดสั นติสุ ข มีค วามเจริญก าวหนาอย าง สมดุ ล และยั่ง ยื น และคนในสัง คมมี ค วามสามัค คี ปรองดองกัน แลวฝกปฏิบัติตนใหมีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต มีสติยั้งคิด ใชปญญาพิจารณา อยางรอบคอบ ในการดำเนินชีวิตและปฏิบัติหนาที่ บนพืนฐานของความมีเหตุผล พอประมาณกับศักยภาพ ้ และสถานภาพของแตละบุคคล ในแตละสถานการณ และหมั่ น เสริ มสรา งความรูในดานตางๆ ใหเท าทั น การเปลี่ยนแปลงเพื่อจะไดมีภูมิคุมกันในตัวที่ดี 29
  • 32. เนื่ อ งจากความรู แ ละความมี เหตุ มี ผ ลมี ค วาม สำคั ญ ยิ่ ง ครู แ ละอาจารย จึ ง มี บ ทบาทสำคั ญ ยิ่ ง ในเรื่องนี้ แตอยาลืมวาตองเปนความรูที่รอบคอบ ระมัดระวัง และเหมาะสมกับแตละภูมสังคมดวย ิ 30
  • 33. “...ในการพัฒนาประเทศนั้นจำเปนตองทำตามลำดับขั้น เริ่มดวยการสรางพื้นฐาน คือความมีกินมีใช ของประชาชนกอน ดวยวิธีการที่ประหยัด ระมัดระวัง แตถูกตองตามหลักวิชา เมื่อพื้นฐาน เกิดขึ้นมั่นคงพอควรแลว จึงคอยสรางเสริม ความเจริญขั้นที่สูงขึ้นตามลำดับตอไป...การถือหลัก ที่จะสงเสริมความเจริญใหคอยเปนไปตามลำดับ ดวยความรอบคอบ ระมัดระวังและประหยัดนั้น ก็เพื่อปองกันการผิดพลาดลมเหลว และเพื่อใหบรรลุผลสำเร็จไดแนนอนบริบูรณ...” พระบรมราโชวาทในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๑๗ 31
  • 34. “...ประหยัด พอเพียง ทุกสิ่งทุกอยางที่พอเพียง จะตองทำจริง แลวก็พอเพียง ทฤษฎีนี้ใชได...” พระราชดำรัสพระราชทานแกเอกอัคราชฑูตและกงสุลใหญไทยฯ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ 32
  • 35. หากทานผูใดสนใจที่จะขอขอมูลเพิ่มเติม สามารถติดตอไดท่ี กลุมงานเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ๙๖๒ ถนนกรุงเกษม แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบ กรุงเทพฯ ๑๐๑๐๐ โทรศัพท ๐ ๒๒๘๐ ๔๐๘๕ ตอ ๒๔๐๗, ๕๑๐๓ โทรสาร ๐ ๒๒๘๒ ๙๑๕๘ หรือ ๐ ๒๒๘๑ ๖๑๒๗ Sufficiency@nesdb.go.th หรือ www.sufficiencyeconomy.org