SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 2
http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น
หลักในการแก้อสมการพหุนาม
1. ทาให้ข้างใดข้างหนึ่งเป็น 0
2. ทาให้สัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่มีกาลังมากสุดเป็น 
3. แยกตัวประกอบ
4. เขียนเส้นจานวน
** ระวัง ค่า x ที่ทาให้ส่วนเป็น 0 ต้องเป็นช่วงเปิด
เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556
ตอนที่ 1 แบบระบายตัวเลขที่เป็นคาตอบ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน
1. ตอบ 4
จากอสมการ ( 1)( 3)
0
(2 1)
x x
x x
 


สามารถเขียนเส้นจานวนได้ดังรูป
ดังนั้นจานวนเต็มที่สอดคล้องกับอสมการดังกล่าวมี 4 จานวนคือ -1 , 1 , 2 , 3 นั่นเอง
2. ตอบ 25
จากที่เรารู้ว่า 2i เป็นคาตอบของสมการ ( ) 0P x 
 2i จะเป็นคาตอบของสมการ ( ) 0P x  ด้วย
เนื่องจาก ( )P x เป็นพหุนามกาลัง 3 ดังนั้นจะต้อง
มีคาตอบของสมการ ( ) 0P x  อีกคาตอบหนึ่งด้วย
สมมติให้ตัวประกอบอีกตัวหนึ่งคือ mx n
นั่นคือ ( ) ( 2 )( 2 )( )P x x i x i mx n   
ดังนั้น 3 2 2 2 2
( ) 2 12 ( 4 )( ) ( 4)( )P x x ax bx x i mx n x mx n         
 เมื่อเทียบสัมประสิทธิ์ของ 3
x เลยทาให้เราได้ว่า 2m 
 เมื่อเทียบสัมประสิทธิ์ของพจน์ค่าคงที่พจน์สุดท้าย เลยทาให้เราได้ว่า 3n 
สรุป : 2
( ) ( 2 )( 2 )(2 3) ( 4)(2 3)P x x i x i x x x      
ดังนั้น (1) (1 4)(2 3) 25P    
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับรากของสมการพหุนาม
กาหนดให้ เป็นพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์
เป็นจานวนเต็ม หากเรารู้ว่าจานวนเชิงซ้อน เป็น
คาตอบของสมการ แล้ว เราจะได้ว่า
จะเป็นคาตอบของสมการ ด้วย ^^
-1 0 3-
 
เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 3
http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น
ความสัมพันธ์ระหว่างการ dot และการ cross
สาหรับเวกเตอร์ ใดๆ เราจะได้ว่า
(นั่นคือ เวกเตอร์สามารถเลื่อนไปทางขวาได้ 1 ตาแหน่ง
ทั้ง 3 เวกเตอร์ในทางเดียวกันในทานองว่าเป็น loop
โดยที่เครื่องหมาย  และเครื่องหมาย  ยังต้องอยู่ที่เดิม)
3. ตอบ 0.75
จาก 2 3b a จะได้ว่า 3
2
b a
จากกฎของไซน์ sin sinA B
a b
 จะได้ว่า
3
2
sin sin 2A A
a a
 นั่นคือ 3
2
sin 2
sin
A
A 
แต่จาก sin2 2sin cosA A A
ดังนั้น 3
sin 2sin cos
2
A A A
นั่นคือ 3
cos 0.75
4
A   นั่นเอง
4. ตอบ 8
จาก    v u w w v u    
จะได้ว่า    v u w v w u     
   2 4 2 3i j k i j k      
( 1)(2) ( 2)(1) ( 4)( 3)      
8
หมายเหตุ
1. สาหรับเวกเตอร์ u และ v ใดๆ เราจะได้ว่า u v v u   
2. ถ้า u ai b j ck   และ v di e j f k   จะได้ว่า u v ad be cf   
ความรู้เพิ่มเติม 1 : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการดาเนินการตามแถว
การดาเนินการตามแถว (Row Operation) คือกระบวนการที่เราจะปรับรูปแบบของเมทริกซ์เพื่อให้ได้
เมทริกซ์ใหม่ที่สะดวกต่อการคานวณมากขึ้น มีอยู่ด้วยกัน 3 ลักษณะคือ
1. คูณแถวที่ i ด้วยค่าคงที่ k (เมื่อ 0k  ) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ikR
2. สลับแถวที่ i กับแถวที่ j เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ijR
3. คูณแถวที่ i ด้วยค่าคงที่ k (เมื่อ 0k  ) แล้วนาไปบวกกับแถวที่ j (แถวที่ j จะเปลี่ยนแปลง)
เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ i jkR R
โดยเราจะใช้เครื่องหมาย ~ แทนการดาเนินการตามแถวในแต่ละขั้นตอน และเขียนกากับไว้ทุกขั้นตอน
กฎของไซน์สาหรับสามเหลี่ยมทั่วไป
สามเหลี่ยม ABC ที่มี
ความยาวด้านตรงข้าม
มุม A , B, C คือ a , b ,c
ตามลาดับ เราจะได้ว่า
กฎของไซน์ คือ
หมายเหตุ : นะครับ :))
A
B Ca
bc
เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 4
http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น
เช่น กาหนดให้
1 4 2
2 1 0
0 3 4
A
 
   
  
 ถ้าเมทริกซ์ ~A B โดยการดาเนินการ 32R จะได้ว่า
3
1 4 2
2 1 0
0 6 8 2
B
R
 
   
    
 ถ้าเมทริกซ์ ~B C โดยการดาเนินการ 1 22R R จะได้ว่า 1 2
1 4 2
4 7 4 2
0 6 8
C R R
 
    
   
 ถ้าเมทริกซ์ ~C D โดยการดาเนินการ 23R จะได้ว่า
23
1 4 2
0 6 8
4 7 4
D
R
 
    
  
ความรู้เพิ่มเติม 2 : การแก้ระบบสมการกับการดาเนินการตามแถว
จากระบบสมการ
11 12 13
21 22 23
31 32 33
a x a y a z
a x a y a z
a x a y a z
  
  
  
1
2
3
b
b
b
เราสามารถเขียนเป็นเมทริกซ์แต่งเติม (Augmented Matrix) ได้เป็น
11 12 13 1
21 22 23 2
31 32 33 3
a a a
a a a
a a a
 
 
 
 
b
b
b
ซึ่งไม่ว่าเราจะใช้การดาเนินการตามแถวทั้ง 3 แบบที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น กับเมทริกซ์แต่งเติมนี้
อย่างไรก็ตาม เราจะได้ว่า คาตอบของระบบสมการจะไม่เปลี่ยนแปลง
5. ตอบ 17
จากระบบอสมการที่โจทย์กาหนดให้
2 3
3
2 5 5
x y z a
x y b
x y z c
  
 
  
เขียนเป็นเมทริกซ์ได้เป็น
1 2 3
1 3 0
2 5 5
a
b
c
 
  
  
แต่โจทย์กาหนดให้
1 2 3 1 2 3 9
1 3 0 ~ 0 1 3 5
2 5 5 0 0 1 2
a
b
c
    
      
      
แสดงว่าระบบสมการจะไม่เปลี่ยนไป
ซึ่งจาก
1 2 3 9
0 1 3 5
0 0 1 2
 
 
 
  
จะทาให้เราได้ว่า 2z  , 3 5y z  และ 2 3 9x y z  
นั่นคือ 1x  , 1y   และ 2z 
ซึ่งจากโจทย์จะได้ว่า 2 5 5 2(1) 5( 1) 5(2) 17c x y z       
เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 5
http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น
6. ตอบ 12
  7 5log 625 log 343
log625 log343
log7 log5
 
4 3
log5 log7
log7 log5
 
4log5 3log7
12
log7 log5
  
7. ตอบ 0.20
จากตารางที่กาหนดให้ ต้องหาความถี่
จากความถี่สะสมก่อน ดังตาราง
ดังนั้นนักเรียนทั้งหมดมี 200 คน
และมีนักเรียนที่สอบได้คะแนนในช่วง
50-59 คะแนนทั้งหมด 40 คน
ดังนั้น เมื่อสุ่มนักเรียนมา 1 คน
ความน่าจะเป็นที่จะได้นักเรียนที่ได้
คะแนนสอบในช่วง 50-59 คะแนน เท่ากับ 40
0.20
200

8. ตอบ 720
โจทย์กาหนดให้เลข 3 ทั้งสองตัวต้องอยู่ติดกัน
เราจึงต้องมัดเลข 3 ทั้ง 2 ตัวไว้ด้วยกัน ดังนี้
1 , 2 , 3,3 , 4 , 5 , 6
ดังนั้นการสร้างจานวนที่มี 7 หลัก จากเลขโดด
7 ตัว ดังกล่าว ก็คือการสลับของที่แตกต่างกัน
ทั้งหมด 6 ชิ้นนั้นเอง ซึ่งสามารถทาได้
6! 720 วิธี นั่นเอง
คะแนนสอบ ความถี่สะสม (คน) ความถี่
10 - 19
20 - 29
30 - 39
40 - 49
50 - 59
60 - 69
70 ขึ้นไป
10
35
80
145
185
195
200
10
25
45
65
40
10
5
สมบัติของ log สาหรับข้อนี้
กาหนดให้
และ เป็นจานวนจริงใดๆ
1. เมื่อ คือฐาน log ใหม่ที่ต้องการ
2.
หลักการพื้นฐานของการเรียงของติดกัน
หากเราต้องการให้สิ่งของใดอยู่ติดกัน ให้มัดรวมของเหล่านั้น
อยู่ด้วยกัน แล้วนับว่าเป็นของเพียง 1 ชิ้น และอย่าลืมคิด
ด้วยว่า ของที่เรามัดอยู่ติดกันนั้นสามารถสลับตาแหน่งกัน
ได้ด้วย ยกเว้น!!! ของที่เรามัดติดกันนั้นมันเหมือนกัน
เพราะของเหมือนกันสลับที่กันไม่ทาให้เกิดวิธีใหม่นะครับ^^
เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 6
http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น
9. ตอบ 3
3 2
2
lim lim
2 3
n
n n
n n
a
n n 
 
  
  
3 2 2
2
( 3) ( 2)
lim
( 2)( 3)n
n n n n
n n
   
  
  
4 3 4 2
3 2
3 2
lim
3 2 6n
n n n n
n n n
   
  
   
3 2
3 2
3 2
lim
3 2 6n
n n
n n n
 
  
   
2 3
2
3
lim
3 2 6
1
n
n
n n n

 
 
  
   
 
3
10. ตอบ 12
จาก 3 2
( ) 3 9 1f x x x x   
จะได้ว่า 2
( ) 3 6 9f x x x   
ให้ ( ) 0f x  เพื่อหาค่าวิกฤต
จะได้ว่า 2
3( 2 3) 0x x  
นั่นคือ ( 3)( 1) 0x x  
 3x   หรือ 1x 
แต่ต้องระวัง  เพราะข้อนี้โจทย์
กาหนดให้เราพิจารณาในช่วง  1,2
ดังนั้นค่าวิกฤตจึงคิดเฉพาะ 1x 
เพราะว่า (1) 4f   , ( 1) 12f   และ (2) 3f 
ดังนั้น ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน 3 2
( ) 3 9 1f x x x x    บนช่วง  1,2 มีค่าเท่ากับ 12
หลักการพื้นฐานของการหาลิมิตของลาดับ
ให้ดูดีกรีที่มากที่สุดของเศษและส่วน
1. ถ้า เศษ < ส่วน : ลิมิตจะตอบ 0
เช่น
2. ถ้า เศษ > ส่วน : ลิมิตจะตอบไม่มีค่า(เป็นจานวนจริง)
เช่น ไม่มีค่า
3. ถ้า เศษ = ส่วน : ลิมิตจะตอบค่าส.ป.ส. เศษ  ส่วน
เช่น
หมายเหตุ : ถ้าเป็น ไม่มีค่า  ไม่มีค่า จะยังสรุปไม่ได้
ต้องจัดรูปใหม่ก่อนเสมอ แล้วจึงหาค่าของลิมิตใหม่อีกครั้ง
หลักการพื้นฐานของการหาสุดขีดสัมบูรณ์
ในการหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของ บนช่วง
ขั้นที่ 1 : หาค่าวิกฤตทั้งหมดของฟังก์ชัน โดยหา
ได้จาก แต่จะพิจารณาเฉพาะ
ค่าวิกฤตที่อยู่ในช่วง เท่านั้นนะครับ
ขั้นที่ 2 : หาค่าของฟังก์ชันที่ตาแหน่งค่าวิกฤต
ขั้นที่ 3 : หาค่าของฟังก์ชันที่ตาแหน่ง และ
ขั้นที่ 4 : เปรียบเทียบค่าที่ได้จากขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3
ค่าที่มากที่สุด = ค่าสูงสุดสัมบูรณ์
ค่าที่น้อยที่สุด = ค่าต่าสุดสัมบูรณ์

More Related Content

Viewers also liked (6)

แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
แนวสรุปนักพัฒนาชุมชน99
 
O-net วิทยาศาสตร์ 2557
O-net วิทยาศาสตร์ 2557O-net วิทยาศาสตร์ 2557
O-net วิทยาศาสตร์ 2557
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 

Similar to เฉลย เลข56

ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารพิทักษ์ ทวี
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์sawed kodnara
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตaoynattaya
 
ติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้ม
ติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้มติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้ม
ติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้มmenton00
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิต3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิตToongneung SP
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2Manas Panjai
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2jutarattubtim
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวJirathorn Buenglee
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์kchwjrak
 
ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6fahsudarrat
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกNaphamas
 

Similar to เฉลย เลข56 (20)

4339
43394339
4339
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 
เลขฐาน
เลขฐานเลขฐาน
เลขฐาน
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงและจำนวนจริงในรูปกรณฑ์
 
Pre 7-วิชา 3
Pre  7-วิชา 3Pre  7-วิชา 3
Pre 7-วิชา 3
 
Oe 3
 Oe 3 Oe 3
Oe 3
 
ลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิตลำดับเลขคณิต
ลำดับเลขคณิต
 
ติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้ม
ติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้มติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้ม
ติวสบายคณิต (เพิ่มเติม) บทที่ 15 ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูล สรุปเข้ม
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิต3 อนุกรมเลขคณิต
3 อนุกรมเลขคณิต
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net คณิต ม.6 ชุด 2
 
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2เตรียมสอบ O net 57  คณิตชุด2
เตรียมสอบ O net 57 คณิตชุด2
 
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เอกสารแนะแนวทางเรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
Pre o-net math6
Pre o-net math6Pre o-net math6
Pre o-net math6
 
ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6ข้อสอบPre o-net math6
ข้อสอบPre o-net math6
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือกกลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
กลุ่ม3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก
 

More from Jirarat Cherntongchai

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาJirarat Cherntongchai
 
เฉลยอังกฤษปี57
เฉลยอังกฤษปี57เฉลยอังกฤษปี57
เฉลยอังกฤษปี57Jirarat Cherntongchai
 
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57Jirarat Cherntongchai
 
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56Jirarat Cherntongchai
 
7วิชาสามัญ เคมี
7วิชาสามัญ เคมี7วิชาสามัญ เคมี
7วิชาสามัญ เคมีJirarat Cherntongchai
 
7วิชาสามัญ ฟิสิกส์
7วิชาสามัญ ฟิสิกส์7วิชาสามัญ ฟิสิกส์
7วิชาสามัญ ฟิสิกส์Jirarat Cherntongchai
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2Jirarat Cherntongchai
 
7วิชาสามัญ คณิต56
7วิชาสามัญ คณิต567วิชาสามัญ คณิต56
7วิชาสามัญ คณิต56Jirarat Cherntongchai
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลยJirarat Cherntongchai
 
ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเองใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเองJirarat Cherntongchai
 

More from Jirarat Cherntongchai (15)

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เปรียบเทียบระหว่างคนถนัดมือซ้ายและคนถนัดมือขวา
 
เฉลยอังกฤษปี57
เฉลยอังกฤษปี57เฉลยอังกฤษปี57
เฉลยอังกฤษปี57
 
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
เฉลยภาษาไทยและสังคมปี57
 
57 bio saman
57 bio saman57 bio saman
57 bio saman
 
57 physic saman
57 physic saman57 physic saman
57 physic saman
 
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56เฉลย 7 วิชา สังคม 56
เฉลย 7 วิชา สังคม 56
 
เฉลยเคมีปี56
เฉลยเคมีปี56เฉลยเคมีปี56
เฉลยเคมีปี56
 
7วิชาสามัญ เคมี
7วิชาสามัญ เคมี7วิชาสามัญ เคมี
7วิชาสามัญ เคมี
 
เฉลยPhy2556
เฉลยPhy2556เฉลยPhy2556
เฉลยPhy2556
 
7วิชาสามัญ ฟิสิกส์
7วิชาสามัญ ฟิสิกส์7วิชาสามัญ ฟิสิกส์
7วิชาสามัญ ฟิสิกส์
 
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 27วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
7วิชาสามัญ คณิต เฉลยตอนที่ 2
 
7วิชาสามัญ คณิต56
7วิชาสามัญ คณิต567วิชาสามัญ คณิต56
7วิชาสามัญ คณิต56
 
7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย7 สามัญ คณิต เฉลย
7 สามัญ คณิต เฉลย
 
7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต7 สามัญ คณิต
7 สามัญ คณิต
 
ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเองใบงานแบบสำรวจตัวเอง
ใบงานแบบสำรวจตัวเอง
 

เฉลย เลข56

  • 1. เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 2 http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น หลักในการแก้อสมการพหุนาม 1. ทาให้ข้างใดข้างหนึ่งเป็น 0 2. ทาให้สัมประสิทธิ์ของตัวแปรที่มีกาลังมากสุดเป็น  3. แยกตัวประกอบ 4. เขียนเส้นจานวน ** ระวัง ค่า x ที่ทาให้ส่วนเป็น 0 ต้องเป็นช่วงเปิด เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 ตอนที่ 1 แบบระบายตัวเลขที่เป็นคาตอบ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 2 คะแนน รวม 20 คะแนน 1. ตอบ 4 จากอสมการ ( 1)( 3) 0 (2 1) x x x x     สามารถเขียนเส้นจานวนได้ดังรูป ดังนั้นจานวนเต็มที่สอดคล้องกับอสมการดังกล่าวมี 4 จานวนคือ -1 , 1 , 2 , 3 นั่นเอง 2. ตอบ 25 จากที่เรารู้ว่า 2i เป็นคาตอบของสมการ ( ) 0P x   2i จะเป็นคาตอบของสมการ ( ) 0P x  ด้วย เนื่องจาก ( )P x เป็นพหุนามกาลัง 3 ดังนั้นจะต้อง มีคาตอบของสมการ ( ) 0P x  อีกคาตอบหนึ่งด้วย สมมติให้ตัวประกอบอีกตัวหนึ่งคือ mx n นั่นคือ ( ) ( 2 )( 2 )( )P x x i x i mx n    ดังนั้น 3 2 2 2 2 ( ) 2 12 ( 4 )( ) ( 4)( )P x x ax bx x i mx n x mx n           เมื่อเทียบสัมประสิทธิ์ของ 3 x เลยทาให้เราได้ว่า 2m   เมื่อเทียบสัมประสิทธิ์ของพจน์ค่าคงที่พจน์สุดท้าย เลยทาให้เราได้ว่า 3n  สรุป : 2 ( ) ( 2 )( 2 )(2 3) ( 4)(2 3)P x x i x i x x x       ดังนั้น (1) (1 4)(2 3) 25P     ทฤษฎีที่เกี่ยวกับรากของสมการพหุนาม กาหนดให้ เป็นพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ เป็นจานวนเต็ม หากเรารู้ว่าจานวนเชิงซ้อน เป็น คาตอบของสมการ แล้ว เราจะได้ว่า จะเป็นคาตอบของสมการ ด้วย ^^ -1 0 3-  
  • 2. เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 3 http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น ความสัมพันธ์ระหว่างการ dot และการ cross สาหรับเวกเตอร์ ใดๆ เราจะได้ว่า (นั่นคือ เวกเตอร์สามารถเลื่อนไปทางขวาได้ 1 ตาแหน่ง ทั้ง 3 เวกเตอร์ในทางเดียวกันในทานองว่าเป็น loop โดยที่เครื่องหมาย  และเครื่องหมาย  ยังต้องอยู่ที่เดิม) 3. ตอบ 0.75 จาก 2 3b a จะได้ว่า 3 2 b a จากกฎของไซน์ sin sinA B a b  จะได้ว่า 3 2 sin sin 2A A a a  นั่นคือ 3 2 sin 2 sin A A  แต่จาก sin2 2sin cosA A A ดังนั้น 3 sin 2sin cos 2 A A A นั่นคือ 3 cos 0.75 4 A   นั่นเอง 4. ตอบ 8 จาก    v u w w v u     จะได้ว่า    v u w v w u         2 4 2 3i j k i j k       ( 1)(2) ( 2)(1) ( 4)( 3)       8 หมายเหตุ 1. สาหรับเวกเตอร์ u และ v ใดๆ เราจะได้ว่า u v v u    2. ถ้า u ai b j ck   และ v di e j f k   จะได้ว่า u v ad be cf    ความรู้เพิ่มเติม 1 : ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการดาเนินการตามแถว การดาเนินการตามแถว (Row Operation) คือกระบวนการที่เราจะปรับรูปแบบของเมทริกซ์เพื่อให้ได้ เมทริกซ์ใหม่ที่สะดวกต่อการคานวณมากขึ้น มีอยู่ด้วยกัน 3 ลักษณะคือ 1. คูณแถวที่ i ด้วยค่าคงที่ k (เมื่อ 0k  ) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ikR 2. สลับแถวที่ i กับแถวที่ j เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ ijR 3. คูณแถวที่ i ด้วยค่าคงที่ k (เมื่อ 0k  ) แล้วนาไปบวกกับแถวที่ j (แถวที่ j จะเปลี่ยนแปลง) เขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ i jkR R โดยเราจะใช้เครื่องหมาย ~ แทนการดาเนินการตามแถวในแต่ละขั้นตอน และเขียนกากับไว้ทุกขั้นตอน กฎของไซน์สาหรับสามเหลี่ยมทั่วไป สามเหลี่ยม ABC ที่มี ความยาวด้านตรงข้าม มุม A , B, C คือ a , b ,c ตามลาดับ เราจะได้ว่า กฎของไซน์ คือ หมายเหตุ : นะครับ :)) A B Ca bc
  • 3. เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 4 http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น เช่น กาหนดให้ 1 4 2 2 1 0 0 3 4 A           ถ้าเมทริกซ์ ~A B โดยการดาเนินการ 32R จะได้ว่า 3 1 4 2 2 1 0 0 6 8 2 B R             ถ้าเมทริกซ์ ~B C โดยการดาเนินการ 1 22R R จะได้ว่า 1 2 1 4 2 4 7 4 2 0 6 8 C R R             ถ้าเมทริกซ์ ~C D โดยการดาเนินการ 23R จะได้ว่า 23 1 4 2 0 6 8 4 7 4 D R           ความรู้เพิ่มเติม 2 : การแก้ระบบสมการกับการดาเนินการตามแถว จากระบบสมการ 11 12 13 21 22 23 31 32 33 a x a y a z a x a y a z a x a y a z          1 2 3 b b b เราสามารถเขียนเป็นเมทริกซ์แต่งเติม (Augmented Matrix) ได้เป็น 11 12 13 1 21 22 23 2 31 32 33 3 a a a a a a a a a         b b b ซึ่งไม่ว่าเราจะใช้การดาเนินการตามแถวทั้ง 3 แบบที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้น กับเมทริกซ์แต่งเติมนี้ อย่างไรก็ตาม เราจะได้ว่า คาตอบของระบบสมการจะไม่เปลี่ยนแปลง 5. ตอบ 17 จากระบบอสมการที่โจทย์กาหนดให้ 2 3 3 2 5 5 x y z a x y b x y z c         เขียนเป็นเมทริกซ์ได้เป็น 1 2 3 1 3 0 2 5 5 a b c         แต่โจทย์กาหนดให้ 1 2 3 1 2 3 9 1 3 0 ~ 0 1 3 5 2 5 5 0 0 1 2 a b c                    แสดงว่าระบบสมการจะไม่เปลี่ยนไป ซึ่งจาก 1 2 3 9 0 1 3 5 0 0 1 2          จะทาให้เราได้ว่า 2z  , 3 5y z  และ 2 3 9x y z   นั่นคือ 1x  , 1y   และ 2z  ซึ่งจากโจทย์จะได้ว่า 2 5 5 2(1) 5( 1) 5(2) 17c x y z       
  • 4. เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 5 http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น 6. ตอบ 12   7 5log 625 log 343 log625 log343 log7 log5   4 3 log5 log7 log7 log5   4log5 3log7 12 log7 log5    7. ตอบ 0.20 จากตารางที่กาหนดให้ ต้องหาความถี่ จากความถี่สะสมก่อน ดังตาราง ดังนั้นนักเรียนทั้งหมดมี 200 คน และมีนักเรียนที่สอบได้คะแนนในช่วง 50-59 คะแนนทั้งหมด 40 คน ดังนั้น เมื่อสุ่มนักเรียนมา 1 คน ความน่าจะเป็นที่จะได้นักเรียนที่ได้ คะแนนสอบในช่วง 50-59 คะแนน เท่ากับ 40 0.20 200  8. ตอบ 720 โจทย์กาหนดให้เลข 3 ทั้งสองตัวต้องอยู่ติดกัน เราจึงต้องมัดเลข 3 ทั้ง 2 ตัวไว้ด้วยกัน ดังนี้ 1 , 2 , 3,3 , 4 , 5 , 6 ดังนั้นการสร้างจานวนที่มี 7 หลัก จากเลขโดด 7 ตัว ดังกล่าว ก็คือการสลับของที่แตกต่างกัน ทั้งหมด 6 ชิ้นนั้นเอง ซึ่งสามารถทาได้ 6! 720 วิธี นั่นเอง คะแนนสอบ ความถี่สะสม (คน) ความถี่ 10 - 19 20 - 29 30 - 39 40 - 49 50 - 59 60 - 69 70 ขึ้นไป 10 35 80 145 185 195 200 10 25 45 65 40 10 5 สมบัติของ log สาหรับข้อนี้ กาหนดให้ และ เป็นจานวนจริงใดๆ 1. เมื่อ คือฐาน log ใหม่ที่ต้องการ 2. หลักการพื้นฐานของการเรียงของติดกัน หากเราต้องการให้สิ่งของใดอยู่ติดกัน ให้มัดรวมของเหล่านั้น อยู่ด้วยกัน แล้วนับว่าเป็นของเพียง 1 ชิ้น และอย่าลืมคิด ด้วยว่า ของที่เรามัดอยู่ติดกันนั้นสามารถสลับตาแหน่งกัน ได้ด้วย ยกเว้น!!! ของที่เรามัดติดกันนั้นมันเหมือนกัน เพราะของเหมือนกันสลับที่กันไม่ทาให้เกิดวิธีใหม่นะครับ^^
  • 5. เฉลยข้อสอบ 7 วิชาสามัญ ปีการศึกษา 2556 จากกลุ่มคณิตมัธยมปลาย หน้า 6 http://www.facebook.com/groups/HighSchoolMath/ เพื่อการศึกษาเท่านั้น และไม่เกี่ยวข้องกับเชิงธุรกิจใดๆทั้งสิ้น 9. ตอบ 3 3 2 2 lim lim 2 3 n n n n n a n n          3 2 2 2 ( 3) ( 2) lim ( 2)( 3)n n n n n n n           4 3 4 2 3 2 3 2 lim 3 2 6n n n n n n n n            3 2 3 2 3 2 lim 3 2 6n n n n n n          2 3 2 3 lim 3 2 6 1 n n n n n               3 10. ตอบ 12 จาก 3 2 ( ) 3 9 1f x x x x    จะได้ว่า 2 ( ) 3 6 9f x x x    ให้ ( ) 0f x  เพื่อหาค่าวิกฤต จะได้ว่า 2 3( 2 3) 0x x   นั่นคือ ( 3)( 1) 0x x    3x   หรือ 1x  แต่ต้องระวัง  เพราะข้อนี้โจทย์ กาหนดให้เราพิจารณาในช่วง  1,2 ดังนั้นค่าวิกฤตจึงคิดเฉพาะ 1x  เพราะว่า (1) 4f   , ( 1) 12f   และ (2) 3f  ดังนั้น ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ของฟังก์ชัน 3 2 ( ) 3 9 1f x x x x    บนช่วง  1,2 มีค่าเท่ากับ 12 หลักการพื้นฐานของการหาลิมิตของลาดับ ให้ดูดีกรีที่มากที่สุดของเศษและส่วน 1. ถ้า เศษ < ส่วน : ลิมิตจะตอบ 0 เช่น 2. ถ้า เศษ > ส่วน : ลิมิตจะตอบไม่มีค่า(เป็นจานวนจริง) เช่น ไม่มีค่า 3. ถ้า เศษ = ส่วน : ลิมิตจะตอบค่าส.ป.ส. เศษ  ส่วน เช่น หมายเหตุ : ถ้าเป็น ไม่มีค่า  ไม่มีค่า จะยังสรุปไม่ได้ ต้องจัดรูปใหม่ก่อนเสมอ แล้วจึงหาค่าของลิมิตใหม่อีกครั้ง หลักการพื้นฐานของการหาสุดขีดสัมบูรณ์ ในการหาค่าสุดขีดสัมบูรณ์ของ บนช่วง ขั้นที่ 1 : หาค่าวิกฤตทั้งหมดของฟังก์ชัน โดยหา ได้จาก แต่จะพิจารณาเฉพาะ ค่าวิกฤตที่อยู่ในช่วง เท่านั้นนะครับ ขั้นที่ 2 : หาค่าของฟังก์ชันที่ตาแหน่งค่าวิกฤต ขั้นที่ 3 : หาค่าของฟังก์ชันที่ตาแหน่ง และ ขั้นที่ 4 : เปรียบเทียบค่าที่ได้จากขั้นที่ 2 และขั้นที่ 3 ค่าที่มากที่สุด = ค่าสูงสุดสัมบูรณ์ ค่าที่น้อยที่สุด = ค่าต่าสุดสัมบูรณ์