SlideShare a Scribd company logo
1 of 114
ยาในชีวิตประจาวัน
วิชาการดูแลสุขภาพและ
ทักษะชีวิต
1.ผศ.ดร.ชุตินันท์ ประสิทธิ์ภูริปรีชา คณบดีคณะเภสัช
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
2.อ.รจเรศ เนตรทอง คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี
ผู้ช่วยผู้จัดการร้านยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
อุบลราชธานี
Rojjares.n@ubu.ac.th
สาขา 1 ณ บริเวณตรง
ข้ามวิทยาลัยพยาบาล
ชนนี สรรพสิทธิ์ อาเภอ
จังหวัดอุบลราชธานี
สาขา 2 ณ บริเวณ
หน้ามหาวิทยาลัย
สถานปฏิบัติการคณะเภสัชศาสตร ์
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
วัตถุประสงค์
- ยาในประเทศไทย
- การใช้ยาอย่างปลอดภัย
- ยาสามัญประจาบ้านแผนปัจจุบัน
- สมุนไพรใกล้ตัว
- ฮอร์โมนเพศ ยาคุมกาเนิด การตรวจการตั้งครรภ์
- ยาปฏิชีวนะไม่ใช่ยาแก้อักเสบยาแก้ปวด
ยาในประเทศไทยและหลักการใช้ยา
อย่างปลอดภัย
สิ่งที่ควรรู้
อื่นๆ
หลักการใช้
ยา
ความหมาย
ความหมาย “ยา”
พรบ.ยา 2510
ยา หมายความว่า
(๑) วัตถุที่รับรองไว้ในตารายาที่รัฐมนตรีประกาศ
(๒) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับใช้ในการวินิจฉัย บําบัด บรรเทา รักษา หรือป้องกันโรค หรือ
ความเจ็บป่วยของมนุษย์หรือสัตว์
(๓) วัตถุที่เป็นเภสัชเคมีภัณฑ์หรือเภสัชเคมีภัณฑ์กึ่งสาเร็จรูป หรือ
(๔) วัตถุที่มุ่งหมายสาหรับให้เกิดผลแก่สุขภาพ โครงสร้าง หรือการกระทาหน้าที่ใด ๆ ของ
ร่างกายของมนุษย์หรือสัตว์
ไม่หมายรวมถึง อาหาร การเกษตร การวิจัย การชันสูตร
ประเภทของยา
ยาแผนปัจจุบัน ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร
ยาสามัญ
ประจาบ้าน
ยาอันตราย
ยาควบคุม
พิเศษ
ยาใช้ภายนอก ยาใช้เฉพาะที่
ยาเสพติดให้
โทษประเภท 3
ยาสามัญประจาบ้าน
ยาสามัญประจาบ้าน
1. เป็นชื่อเรียกของกลุ่มยายาทั้งแผนปัจจุบันและแผนโบราณที่กระทรวงสาธารณสุข
กาหนดให้เป็นยาสามัญประจาบ้าน
2. ประชาชนทั่วไป สามารถใช้ได้อย่างไม่มีความอันตรายและเป็นการรักษาตนเอง
เบื้องต้น
3. เป็นยาที่มีความปลอดภัยอย่างสูง หากประชาชนใช้ยาได้อย่างถูกต้องก็จะไม่มีอันตราย
เกิดขึ้น
4. กระทรวงสาธารณสุขมีความต้องการให้ยาสามัญประจาบ้านได้กระจายไปถึง
ประชาชนทั่วประเทศทาให้ประชาชนดูแลตนเองได้อย่างทั่วถึง
- กลุ่มยาบรรเทาปวดลดไข้ ยาเม็ด พาราเซตามอล ขนาด 500 มก. และขนาด 325 มก. บรรจุแผง 10 เม็ด ยาน้า พาราเซตามอล แผ่นเจลติดหน้าผากลดไข้
- กลุ่มยาแก้แพ้ ลดน้ามูก ยาเม็ดแก้แพ้ลดน้ามูก คลอร์เฟนิรามีน
- กลุ่มยาแก้ไอ ขับเสมหะ ยาน้าแก้ไอ ขับเสมหะสาหรับเด็ก ยาแก้ไอน้าดา
- กลุ่มยาดมหรือยาทาแก้วิงเวียน หน้ามืด คัดจมูก ยาดมแก้วิงเวียน เหล้าแอมโมเนียหอม ยาดมแก้วิงเวียน แก้คัดจมูกยาทาระเหย บรรเทาอาการคัดจมูกชนิดขี้ผึ้ง
- กลุ่มยาแก้เมารถ เมาเรือ ไดเมนไฮดริเนท
- กลุ่มยาสาหรับโรคปาก และลาคอ ยากวาดคอ เยนเชี่ยนไวโอเลต ยาแก้ปวดฟัน ยาดมบรรเทาอาการระคายคอ
- กลุ่มยาแก้ปวดท้อง ท้องอืด ท้องขึ้น ท้องเฟ้อ ยาแก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ยาธาตุน้าแดง โซดามิ้นท์ โซเดียมไบคาร์บอเนต ทิงเจอร์มหาหิงคุ์ ยาเม็ดลดกรดอะลูมินา – แมกนีเซีย ยาน้า
ลดกรดอะลูมินา-แมกนีเซียมยาน้าธาตุน้าขาวแก้ปวดท้อง ท้องร่วง ท้องอืด ขับลม ต
- กลุ่มยาแก้ท้องเสีย ผงน้าตาลเกลือแร่
- กลุ่มยาระบาย กลีเซอรีน ชนิดเหน็บทวารหนักสาหรับเด็กและผู้ใหญ่ ยาระบายแมกนีเซีย ยาระบายมะขามแขกยาระบายโซเดียมคลอไรด์ ชนิดสวนทวาร
- กลุ่มยาถ่ายพยาธิลาไส้ ยาถ่ายพยาธิตัวกลม มีเบนดาโซล ใช้ถ่ายพยาธิตัวกลม ได้แก่ พยาธิเส้นด้าย พยาธิปากขอ พยาธิไส้เดือน พยาธิเข็มหมุด และพยาธิแส้ม้า
- กลุ่ม ยาสาหรับโรคตา ยาหยอดตา ซัลฟาเซตาไมด์ ยาล้างตา
- กลุ่มยาสาหรับโรคผิวหนัง ยารักษาหิดเหา เบนซิล เบนโซเอต ยารักษาหิด ขึ้ผึ้งกาขี้ขมะถัน ยารักษากลากเกลื้อน น้ากัดเท้า ยาทาแก้ผดผื่นคัน คาลาไมน์ ยารักษาเกลื้อน โซเดียมไทโอ
ซัลเฟต
- กลุ่มยารักษาแผลติดเชื้อไฟไหม้ น้าร้อนลวก ยารักษาแผลน้าร้อนลวกฟีนอล ซิลเวอร์ ซัลฟาไดอาซีน ครีม
- กลุ่มยาใส่แผล ยาล้างแผล ยาใส่แผล ทิงเจอร์ไอโอดีน ทิงเจอร์ไทเมอรอซอล โพวิโดน ไอโอดีน ยาไอโซโบรฟิล แอลกอฮอล์ ยาเอทธิล แอลกอฮอล์ น้าเกลือล้างแผล
- กลุ่มยาบารุงร่างกาย ยาเม็ดวิตามินบีรวม ยาเม็ดวิตามิน ยาเม็ดบารุงโลหิต เฟอร์รัส ซัลเฟต ยาเม็ดโฟคุงยาน้ามันตับปลา ชนิดแคปซูล ยาน้ามันตับปลาชนิดน้า
ยาแผนโบราณ
ก. ยาสามัญประจาบ้านแผนโบราณ ได้แก่ ตารับยาแผนโบราณที่กระทรวง
สาธารณสุขประกาศว่าเป็นยาสามัญประจาบ้านแผนโบราณ ซึ่งจะมี ชื่อ ส่วนประกอบ วิธีทา สรรพคุณ
ขนาดรับประทาน คาเตือน และขนาดบรรจุ เช่น ยาประสะกระเพรา ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาแสงหมึก ยา
ประสะกานพลู ฯลฯ
ข. ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ ได้แก่ ตารับยาแผนไทยและสมุนไพรที่มี
การพัฒนาที่ทางคณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ ได้คัดเลือกยาแผนไทยและสมุนไพรที่มี
ข้อมูลการใช้ หรือมีข้อมูลงานวิจัยสนับสนุน ได้แก่ ยาประสะมะแว้ง ยาแก้ไข้ (ยาห้าราก) ยาประสะ
ไพล ขมิ้นชัน ชุมเห็ดเทศ ฟ้าทะลายโจร พญายอ และไพล
ค. ยาสมุนไพรที่ไม่อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ ได้แก่ สมุนไพรที่มีการวิจัยแล้วว่าให้ผลในการ
รักษาและมีความปลอดภัย พร้อมที่จะพัฒนาไปเป็นแผนโบราณ
วิธีสังเกตเลขทะเบียนตารับยาแผน
โบราณมีดังนี้
1. หากเป็นยาแผนโบราณที่ผลิตในประเทศ จะขึ้นต้นด้วยอักษร G ตาม
ด้วยเลขลาดับที่อนุญาต/ปี พ.ศ. เช่นเลขทะเบียน G20/42
2. หากเป็นยาแผนโบราณที่นาเข้าจากต่างประเทศ จะขึ้นต้นด้วยอักษร
K ตามด้วยเลขลาดับ ที่อนุญาต/ปี พ.ศ. เช่น เลขทะเบียน K15/42
“ยาอันตราย”
หมายถึง ยาที่ต้องขายเฉพาะในร้านขายยาแผนปัจจุบันภายใต้การควบคุมของเภสัชกรผู้มี
หน้าที่ควบคุมดูแลการจัดจําหน่าย โดย “ยาอันตราย” ที่จาหน่ายในร้านขายยา ต้องจาหน่ายทั้ง
แผงหรือทั้งขวด โดยไม่แบ่งออกมาจากภาชนะบรรจุเดิม
“ยาอันตราย” มีข้อควรระวังคือ ต้องใช้ยาในปริมาณและในวิธีบริหารยา (การจัดการทุกอย่างที่
เกี่ยวข้องกับการบริโภคยา เช่น การเตรียมยาเพื่อการบริโภค ระยะเวลาในการบริโภคยา การจับเก็บ
ยา เป็นต้น) ตามที่ระบุไว้บนฉลากยา หรือตามคําแนะนําของแพทย์หรือเภสัชกร
“ยาอันตราย” แตกต่างจากยากลุ่ม
อื่นๆ
‘ยาสามัญประจาบ้าน’ จัดเป็นยาที่ได้รับการพิจารณาแล้วว่าปลอดภัย โอกาสเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
มีน้อย ให้วางจาหน่ายได้โดยทั่วไป และผู้ซื้อสามารถตัดสินใจซื้อด้วยตนเองตามอาการเจ็บป่วย ‘ยา
ควบคุมพิเศษ’ เป็นยาที่เภสัชกรจ่ายได้เฉพาะเมื่อมีการนาใบสั่งยาจากแพทย์มาซื้อยา กลุ่มนี้เป็นยาที่
มีความเป็นพิษภัยสูงหรืออาจก่ออันตรายต่อสุขภาพได้ง่าย จึงเป็นยาที่ถูกจากัดการใช้
ฉลากยา
ในแง่ของฉลากยา “ยาอันตราย” ต้องมีตัวหนังสือ “สีแดง” ที่เขียนว่า "ยาอันตราย" อยู่บน
กล่องยา ตาแหน่งใกล้ๆกับเลขทะเบียนยา
ยาอันตราย
ยาควบคุมพิเศษ
เป็นยาที่จ่ายได้ (จาหน่ายได้) เฉพาะต่อเมื่อมีการนาใบสั่งยาจากแพทย์มาซื้อยาเท่านั้น
ยากลุ่มนี้เป็นยาแผนปัจจุบันที่มีความเป็นพิษภัยสูง และ/หรือ อาจก่ออันตรายต่อ
สุขภาพได้ง่ายแม้จะใช้อย่างถูกต้อง จึงเป็นยาที่ต้องถูกจากัดการใช้ ดังนั้น ยานี้จึงต้อง
ผ่านการควบคุมดูแลในการใช้ยาจากแพทย์โดยใกล้ชิด
ฉลากยา ยาควบคุมพิเศษ ต้องมีตัวหนังสือ ‘สีแดง’ ที่เขียนว่า "ยาควบคุมพิเศษ"
อยู่บนกล่องยา ตาแหน่งใกล้ๆกับเลขทะเบียนยา
ยาใช้ภายนอก
หรือ ยาภายนอก (External use drug ย่อว่า ED หรือ E-D) คือ ยาที่ใช้เพื่อหวังผล
ในการรักษาเฉพาะที่ โดยทั่วไปไม่ได้มุ่งหมายให้เกิดการดูดซึมผ่านเข้ากระแสเลือด แต่ต้องการให้
ออกฤทธิ์เฉพาะที่ ได้แก่ ยาทา (ยาน้า ครีม ขี้ผึ้ง) ยาหยอด ยาดม ยาชาระล้างบาดแผล ฯลฯ
ตัวอย่างยาใช้ภายนอก เช่น ยาทารักษาโรคผิวหนัง ยาผงโรยแผล ยาหยอดหู จมูก หรือตา ฯลฯ
สิ่งที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่างยิ่งในการใช้ ‘ยาใช้ภายนอก’ คือ การพลั้งเผลอรับประทานยาที่ใช้
ภายนอกนั้น ซึ่งมีคนไข้จานวนไม่น้อยที่ต้องเข้าโรงพยาบาลเนื่องจากไม่สังเกตฉลากยาข้างภาชนะ
ที่บรรจุว่า ยาภายนอก ห้ามรับประทาน
ยาที่ใช้ภายนอก แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม/หมวด ได้แก่ หมวดยาใช้ภายนอกที่เป็นยาอันตราย และ
หมวดยาใช้ภายนอกที่ไม่เป็นยาอันตราย
ตัวอย่างยาที่ใช้ภายนอกรูปแบบ
ต่างๆ
1. ครีม (Cream) เป็นยาที่มีตัวยาแทรกอยู่ในส่วนประกอบของน้ากับน้ามัน ครีมจะซึมผ่านผิวหนังได้ง่ายและเร็ว
และล้างออกได้ง่าย เช่น ครีมทาถูนวดแก้ปวดเมื่อย
2. ออยท์เม้นท์/ขี้ผึ้ง (Ointment) เป็นยาที่มีตัวยาแทรกอยู่ในส่วนประกอบของน้ากับน้ามันเช่นกัน แต่มีสัดส่วน
ของน้ามันมากกว่า การดูดซึมผ่านผิวหนังช้ากว่าครีม ดังนั้น ตัวยาจะคงอยู่บนผิวหนังได้นานกว่า ขณะเดียวกันล้าง
ออกได้ยากกว่าครีม เช่น ยาหม่อง
3. ทิงเจอร์ (Tincture) เป็นยาทาที่มีตัวยาละลายในแอลกอฮอล์ประมาณ 60% ขึ้นไป เช่น ทิง เจอร์ไอโอดีน
4. ยาหยอด (Drop) ได้แก่ ยาหยอดตา ยาหยอดหู ยาประเภทนี้ผ่านกระบวนการทาให้ปราศจากเชื้อโรค ดังนั้น
เมื่อเปิดใช้แล้วจะเก็บรักษาได้ไม่เกิน 1 เดือน
ยาใช้เฉพาะที่
หมายความว่า ยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณที่มุ่งหมายใช้เฉพาะที่กับหู ตา จมูก
ปาก ทวารหนัก ช่องคลอด หรือท่อปัสสาวะ
เป็นยาที่ขึ้นทะเบียนตารับยาเป็นยาแผนปัจจุบันหรือยาแผนโบราณก็ได้
A หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนปัจจุบันสาหรับมนุษย์ ผลิตใน
ประเทศ
B หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนปัจจุบันสาหรับมนุษย์ แบ่ง
บรรจุ
C หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนปัจจุบันสาหรับมนุษย์ นาเข้า
D หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนปัจจุบันสาหรับสัตว์ ผลิตใน
ประเทศ
E หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนปัจจุบันสาหรับสัตว์ แบ่งบรรจุ
F หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนปัจจุบันสาหรับสัตว์ นาเข้า
G หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนโบราณสาหรับมนุษย์ ผลิตใน
ประเทศ
H หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนโบราณสาหรับมนุษย์ แบ่งบรรจุ
K หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนโบราณสาหรับมนุษย์ นาเข้า
L หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนโบราณสาหรับสัตว์ ผลิตในประเทศ
M หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนโบราณสาหรับสัตว์ แบ่งบรรจุ
N หมายถึง ขึ้นทะเบียนยาเป็นยาแผนโบราณสาหรับสัตว์ นาเข้า
แบบฝึ กหัด
ยาประเภทใด
สิ่งที่ควรรู ้
ทะเบียนยา
REG. No. XX
XXX/XX
เลขที่จดแจ้ง
XX-X-XXXXXXX
เลขอ.ย.
XX-X-XXXXX-Y-
YYYY
แบบฝึ กหัด
ฉลากยาบอกอะไรอีก
ยา
ชื่อสามัญ
ชื่อการค้า
สูตรตารับ
ตัวยาสาคัญ
ปริมาณตัว
ยาสาคัญ
ทะเบียน
เลขทะเบียน
ตารับ
ชื่อที่ตั้ง
ผู้ผลิต
วันหมดอายุ
Lot ที่ผลิต
วันเดือนปี
หมดอายุ
EXPIRATION DATE
• Epd.
• Exp. Date
• Expiration date
• Use before
ระบุวันหมดอายุ
ในฉลาก
• ยาเม็ดมีอายุ 5 ปีนับจากวันผลิต
• วิตามินมีอายุ 2-3 ปีนับจากวันผลิต
• ยาน้ามีอายุ 3 ปีนับจากวันผลิต
• ยาสมุนไพรมีอายุ 3 ปีนับจากวันผลิต
ระบุวันผลิต
สรุป ต้องดูฉลากยาและเอกสาร
กากับยาทุกครั้ง
ตรวจสอบ ยาจริง ยาเถื่อน ดูทะเบียนตารับได้
จาแนกประเภทยาได้
วันเดือนปีหมดอายุ
ยาที่เปิ ดใช้แล้ว และการเก็บรักษา
ยาหยอดตา 1 เดือน ยาปฏิชีวนะ 7 วัน
เกลือแร่ 1 วัน
คาถาม
ยาหยอดตา ควรเก็บไว้ในตู้เย็นเสมอ จริงหรือไม่
ยาอะไรบ้างที่ควรเก็บในตู้เย็น
ช่วงอุณหภูมิใดบ้างที่เก็บยาได้
ถ้าหยิบยามาดูที่ภาชนะบรรจุ หรือเอกสารกากับยามักจะระบุสภาวะที่เหมาะในการเก็บยาตัว
นั้นๆ ดังนี้
1. ให้เก็บยาที่อุณหภูมิแช่แข็ง freeze จะเก็บในช่วง -20°C ถึง -10°C
2. ให้เก็บยาที่อุณหภูมิเย็นจัด หรือเก็บในตู้เย็น cold store หรือ in refrigerator
ช่วงอุณหภูมิ 2 – 8°C
3. ให้เก็บยาในที่อุณหภูมิเย็น (cool place) ช่วง 8-15°C
4. ให้เก็บยาในห้องที่มีการควบคุมอุณหภูมิ controlled room temperature
ช่วง 20-25°C
ยาที่ต้องเก็บในตู้เย็น มีอะไรบ้าง
1. วัคซีน
2. อินซูลิน สาหรับโรคเบาหวาน
3. ยาหยอดตาที่มีส่วนผสมของตัวยา pilocarpine, chloramphenicol
4. ยาเหน็บทวาร (บางรายการ)
5. ยาฉีดกลุ่ม ergot
6. ยาปฏิชีวนะชนิดผงเติมน้าที่ผสมแล้ว (เก็บในตู้เย็นและต้องใช้ให้หมดภายใน 7 วัน)
การเก็บรักษายา + ตรวจเช็คยาทุก
3 เดือน
เก็บห่างจากเด็ก
ที่แห้ง ไม่ถูกแสงแดด
แยกยาใช้ภายใน ยาใช้ภายนอก
อุณหภูมิห้อง
ฉลากครบถ้วน
ยาเสื่อมคุณภาพ
ยาน้า
• ยาน้าใส เปลี่ยนสี กลิ่น รส หรือมีตะกอนผิดไปจากเดิม
• ยาแขวนตะกอน เขย่าแล้วไม่กลับเป็นเนื้อเดียวกัน
ยาเม็ด
• ยาเม็ดชนิดเคลือบ เยิ้ม ผิวขรุขระ เปลี่ยนสี มีรอยดา
• ยาเม็ดชนิดไม่เคลือบ ชื้น เยิ้ม แตก เปลี่ยนสี
• ยาแคปซูล แยกออก บวม ชื้น ข้างในเปลี่ยนสี
ยาครีม ยาขี้ผึ้ง
• เยิ้มเหลว เปลี่ยนสี กลิ่น
รูปแบบยา
ยาเม็ด
ยาแคปซูล
ยาแคปซูล
นิ่ม
ยา
น้าเชื่อม
ยาแขวน
ตะกอน
ยาสอด
คาถาม
แบ่งยา หรือ บดยาได้ หรือไม่
ยาฉีด
ยาฉีดเข้ากล้ามเนื้อ ยาฉีดเข้าเส้นเลือด ยาฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ยาฉีดเข้าเส้นเลือดจะออกฤทธิ์เร็วที่สุด
ยาฉีดช่วยชีวิต
ยาฉีดคุมกาเนิด
ยาฉีดอินซูลิน
ยาที่ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง
ส่วนมากคือ insulin และ heparin จานวนยาฉีดไม่เกินครั้งละ 2 cc. ในแต่ละบริเวณ
เป็นการฉีดยาเข้าในชั้น subcutaneous tissue ยาจะถูกดูดซึมได้ช้ากว่าการฉีดเข้ากล้าม
คาถาม
ยาฉีดดีกว่ายากิน จริงหรือไม่
"ถ้าจะให้หายป่วยเร็วๆ ต้องฉีดยา" หรือ "ยาฉีดแรงกว่ายากิน เลยได้ผลดีกว่า"Ž
"หมอ ผมขอยาฉีดได้ไหม จะได้หายเร็วๆ"
"ถ้าไม่ฉีดยาแล้วจะหายหรือคะ"
หลักการใช้ยา
โดยทั่วไปแล้วตามแพทย์จะคานึงถึงความมีประสิทธิภาพและความปลอดภัยต่อผู้ป่วย ไม่ได้มุ่งที่การออกฤทธิ์เร็วเพียงอย่างเดียว
การใช้ยากินจึงค่อนข้างปลอดภัย ยกเว้นมีความจาเป็นจริงๆ ที่ต้องใช้ยาฉีดในบางกรณีคือ
- อาการ และความรุนแรงของโรค คนไข้ที่มีอาการรุนแรง เช่น หายใจขัด ต้องการยาที่ให้ออกฤทธิ์ในทันทีทันใด จาเป็นต้อง
ใช้ยาฉีด แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า ยาฉีดจะให้ผลในการรักษาเร็วกว่ายากิน หรือยาทาเสมอไป โรคบางโรค ต้องใช้ยาที่มีสรรพคุณ
ดีบางอย่างที่ไม่สามารถกินได้ ไม่มียากินที่มีสรรพคุณดีเท่ากันหรือดีกว่า
- สภาพของผู้ป่วย ผู้ป่วยที่ไม่สามารถกินยาทางปากได้ เช่น หมดสติ มีอาการอุดตันในทางเดินอาหาร มีความผิดปรกติใน
ทางเดินอาหาร ทาให้มีอาการอาเจียนมาก หรือการดูดซึมของทางเดินอาหารไม่ดีพอ กินยาไม่ได้ เช่น ไม่รู้สึกตัว อาเจียนมาก
กลืนลาบาก สาลัก ผู้ป่วยเหล่านี้จาเป็นต้องให้ยาโดยวิธีฉีด เพราะใช้วิธีกินไม่ได้ผล หรือป่วยหนักมาก (ฉุกเฉิน หรือวิกฤติ)
- ตําแหน่งที่ยาไปออกฤทธิ์ตัวยาบางชนิดที่ต้องการให้ไปลดกรดในกระเพาะ ถ้าใช้วิธีฉีดจะไม่ได้ผล ดังนั้นการที่เข้าใจว่ายา
ฉีดรักษาโรคแผลกระเพาะได้ดีกว่ายากินเสมอไปนั้นไม่จริงเสมอไป
- ชนิดของยา ยาบางชนิดถูกทาลายด้วยกรด หรือน้าย่อยในกระเพาะ ให้กินไม่ได้ จาเป็นต้องฉีด
การใช้ยาฉีด ควรพิจารณาจากความจาเป็นในการใช้
“คนรุ่นใหม่ ไม่ฉีดยาถ้าไม่จาเป็น”
“จะฉีดยาอะไร ทาไมต้องฉีด มียากินที่ดีเท่ากันหรือดีกว่าไหม และไม่ฉีดได้ไหม”
“ยาฉีดอันตรายกว่ายากิน”
ยาอื่นๆ
ยาแปะผิวหนัง
ยาฝัง
ยาทา
ยาหยอด
ยาพ่น
การกาจัดยา
อวัยวะหลักที่ร่างกายใช้กาจัดยาคือตับและไต
ยาที่ละลายในน้าจะถูกกาจัดทางไตแล้วขับออกในรูปปัสสาวะ
ยาที่ละลายในไขมันจะผ่านตับและขับออกทางอุจาระ
ยาก่อนอาหารคืออะไร
ก่อนอาหาร หมายถึง ก่อนอาหารครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง
เหตุผล
ยาถูกทาลายง่ายโดยกรดในกระเพาะอาหาร
อาหารทาให้ยาดูดซึมได้น้อยลง
ยาต้องออกฤทธิ์ที่ทางเดินอาหาร
คาถาม ถ้าลืมรับประทานยาก่อนอาหารจะทาอย่างไร
คาตอบ
ยาถูกทาลายง่ายโดยกรดในกระเพาะอาหารและอาหารทาให้ยาดูดซึมได้น้อยลง
สามารถเลื่อนรับประทานยาไป 2 ชั่วโมงหลังอาหารซึ่งเป็นช่วงเวลาท้องว่างแล้ว
ยาต้องออกฤทธิ์ที่ทางเดินอาหาร สามารถทานยาได้ทันทีตอนที่นึกได้โดยไม่ต้องเพิ่ม
ขนาดยาเป็น 2 เท่า
กรณียาเบาหวานห้ามอดอาหารเด็ดขาด
ยาหลังอาหารคืออะไร
เหตุผล เพิ่มการดูดซึมยา ลดอาการข้างเคืองของยา ลดการระคายเคืองกระเพาะ
กรณีลืมกินยาให้ทานทันทีที่นึกได้
ยาทุกชั่วโมงคืออะไร
ยาที่ต้องทานเป็นเวลาห่างเท่าๆกันเพื่อให้มีระดับยาในเลือดคงอยู่สม่าเสมอจะได้ออก
ฤทธิ์ได้ต่อเนื่อง
ทาไมต้องดื่มน้าตามมากๆ
เพื่อให้กลืนง่าย
ยาละลายได้เร็ว
ป้องกันการตกตะกอนที่ไต
ช่วยขับของเสียและเชื้อโรค
ทาไมต้องระบุว่ารับประทานยาทุกวัน
ติดต่อกันจนยาหมด
เพื่อลดปัญหาเชื้อดื้อยา
เมื่อเกิดอาการแพ้ยา
หลักการใช้ยา
ถูกวิธี – กิน ฉีด ทา หยอด เหน็บ
ถูกขนาด – ปริมาณ
ถูกเวลา - ช่วงเวลาการให้ยา
ถูกคน – อายุ เพศ
ถูกโรค – ตรงโรค โรคประจาตัว
ปัญหาที่พบบ่อย
กินยาเหมือนคนที่เคยมีอาการคล้ายตน
ยาก่อนนอน นอนตอนเช้า นอนวันละหลายครั้ง
ยาหลังอาหาร วันละ 3 ครั้ง แต่ทานข้าวแค่ 2 มื้อ
ยาฆ่าพยาธิต้องเคี้ยวก่อนกลืน แต่คนแก่เคี้ยวไม่ได้
ฝากซื้อยา ไม่รู้อาการ
การแพ้ยา เพนนิซิลิน ซัลฟา
มีโรคตับโรคไต
ยาปฏิชีวนะ ไม่ใช่ ยาแก้อักเสบ
ยาปฏิชีวนะ คือ
แหล่งกระจายยา
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เช่น รพ.สต. รพ.ชุมชน รพ.ทั่วไป
รพ.ศูนย์ รพ.มหาวิทยาลัย ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาล
สถานพยาบาลเอกชน เช่น คลินิก รพ.เอกชน
ร้านยา แผนปัจจุบัน แผนโบราณ
การสืบค้นข้อมูล
www.fda.moph.go.th
www.yaandyou.net
www.prema.or.th/
www.moph.go.th
ระบบแจ้งเตือนภัย
http://www.tumdee.org/alert/
สมุนไพรไทยใกล้ตัว
ขิง ตัวยาสาคัญ ผงเหง้าขิง (Zingiber officinale Rosc.) ที่มีน้ามันหอมระเหย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2 โดยปริมาตร
ต่อน้าหนัก (v/w)
ข้อบ่งใช้
1. บรรเทาอาการท้องอืด แน่นจุกเสียด
2. ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียน จากการเมารถ เมาเรือ
3. ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด
ขนาดและวิธีใช้
1) บรรเทาอาการท้องอืด ขับลม แน่นจุกเสียด รับประทานวันละ 2 – 4 กรัม
2) ป้องกันและบรรเทาอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการเมารถ เมาเรือ รับประทานวันละ 1 – 2 กรัม ก่อนเดินทาง
30 นาที – 1 ชั่วโมง หรือเมื่อมีอาการ
3)ป้องกันอาการคลื่นไส้ อาเจียน หลังการผ่าตัด รับประทานครั้งละ 1 กรัม ก่อนการผ่าตัด 1 ชั่วโมง
สมุนไพรไทยใกล้ตัว
กระเทียม
สรรพคุณ : ฆ่าพยาธิ ลดอาการอักเสบบวมแดง บารุงกระเพาะอาหาร ขับลม รักษาโรคบิด ท้องร่วง ไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน ไอ
กรน ปอดบวม วัณโรคปอด แก้หวัด มาเลเรีย ช่องคลอดอักเสบเนื่องจากเชื้อรา ขี้กลากที่หัว แผลเป็นหนอง แก้อาการปวดฟัน
ป้องกันโรคเส้นเลือดหัวใจตีบตัน ความดันโลหิตสูง ขับพยาธิเข็มหมุด
สมุนไพรไทยใกล้ตัว
แตงกวา
สรรพคุณ : เพิ่มวิตามินซึ่งช่วยเสริมการทางานของระบบประสาท ช่วยความจา ลดอาการนอนไม่หลับ แก้กระหายน้า ต้าน
มะเร็ง ขับปัสสาวะ ทาให้ผิวหน้าแจ่มใส ลดอาการเหี่ยวย่นของใบหน้า เด็กพุงโลเนื่องจากขาดอาหารหรือมีพยาธิ
สมุนไพรไทยใกล้ตัว
ผักบุ้ง
สรรพคุณ : ใช้รักษาผู้ป่วยโรคเบาหวาน ใช้ถอนพิษของอาหารจาพวกเห็ดพิษ เป็นยาดับร้อน ขับปัสสาวะ รักษาอาการอาหาร
เป็นพิษ เลือดกาเดาออก อาเจียนเป็นเลือด ปัสสาวะเป็นเลือด ฝีหนองบวม งูพิษกัด ไอเสมหะมีเลือด ตะขาบต่อย ระดูขาว ถูกตี
ฟกช้าบวม เด็กตัวร้อน กระหายน้า ปัสสาวะเหลือง
สมุนไพรไทยใกล้ตัว
ผักชี
สรรพคุณ : ช่วยย่อย บารุงกระเพาะ ช่วยเจริญอาหาร ขับลมขับพิษ กระตุ้นการหมุนเวียนของเลือด แก้หวัด ขับเหงื่อ แก้โรคหัด
ไอมากเมื่อโดนลม ไอ เสมหะมากเป็นฟอง
ฮอร ์โมนเพศและการคุมกาเนิด
การ
คุมกาเนิด
สิ่งที่ควรรู้
ฮอร์โมน
เพศ
ฮอร ์โมนเพศ
ชาย
• ฮอร์โมนแอนโดรเจน (Androgen) หรือ เทสทอสเทอรอล
(Testosterone)
• การหลั่งน้าเชื้ออสุจิหนึ่งครั้ง จะมีอสุจิออกมาหลายล้านตัว
• ร่างกายจะเริ่มผลิตน้าเชื้ออสุจิเมื่อเข้าสู่วัยรุ่น และผลิตต่อเนื่องไป
จนตลอดอายุขัย
• ผลิตน้อยลงเมื่อเข้าสู่วัยชรา
• การผลิตอสุจิที่โตเต็มที่จะใช้เวลาประมาณ 70-90 วัน
หญิง
• ฮอร์โมนเอสโตรเจน (Estrogen) และ ฮอร์โมนโพรเจสโตเจน
(Progestogen) หรือ โพรเจสเทอโรน
(Progesterone)
• แรกเกิดผู้หญิงจะมีไข่ทั้งหมดประมาณสองล้านฟองและจะค่อยๆ
ลดลงเมื่อเข้าสู่ระยะก่อนหมดประจาเดือนจานวนไข่จะลดลงอย่าง
รวดเร็ว
• เข้าสู่วัยรุ่นแต่ละรอบของประจาเดือนจะมีไข่หลายฟองเติบโตใน
ระยะเวลา 2-3 สัปดาห์ มีเพียงฟองเดียวที่เจริญเติบโตได้เต็มที่
ในขณะที่ฟองอื่นๆจะเสื่อมสลายไป เมื่อไข่ฟองนั้นเจริญเติบโต
เต็มที่จะถูกปล่อยออกจากรังไข่ ขบวนการดังกล่าวเรียกว่า“การตก
ไข่”
• ไข่นี้จะพร้อมทาการปฏิสนธิในช่วง12ถึง24ชั่วโมงหลังการตกไข่
การปฏิสนธิ
ประจาเดือน
ประจาเดือน เกิดจากการสลายตัวของเยื่อบุมดลูกเนื่องจากไข่ไม่ได้รับการผสมเยื่อบุมดลูกจึงสลายตัว
เป็นประจาเดือน
การนับรอบเดือน ให้นับวันแรกของการมีประจาเดือนเป็นวันที่ 1 ของรอบเดือน
โดยปกติระยะห่างของการมีประจาเดือนจะเท่ากับ 28 วัน
การคุมกาเนิด
การคุมกาเนิดแบบถาวร
คุมกาเนิดแบบชั่วคราว
*การคุมกาเนิด คือ การป้องกันไม่ให้เชื้ออสุจิผสมกับไข่หรือป้องกันไม่ให้ไข่ที่ถูกผสม
แล้วฝังตัวที่มดลูก*
การคุมกาเนิด
คุมกาเนิดแบบชั่วคราว
นับวันปลอดภัย
ถุงยางอนามัย
ห่วงอนามัย
ยาฆ่าเชื่ออสุจิ
ยาครอบปากมดลูก
ยาฮอร์โมน ยาฉีดคุมกาเนิด
ยาฝังคุมกาเนิด
ยาเม็ดคุมกาเนิด
หน้า7หลัง7
การคุมกาเนิด
ถุงยางอนามัยชายและหญิง
การใส่ห่วงอนามัย
ยาฆ่าเชื้ออสุจิ
หมวกครอบปากมดลูก และยาฆ่าอสุจิ
ยาฮอร ์โมน (ยาคุมกาเนิด)
ประกอบด้วยฮอร ์โมนเอสโตรเจน และ/หรือโปรเจสโตเจน
ทาให้ไข่ไม่ตก
ยาฉีดคุมกาเนิด
ประกอบด้วยฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน ใช้ฉีดทุก 3 เดือน
การใช้ยาฉีดอาจทาให้ประจาเดือนมาน้อยลงหรือขาดหายไป เกิดภาวะหมันชั่วคราวได้
วิธีนี้เหมาะสาหรับผู้ที่มีบุตรแล้วและไม่สามารถทนอาการข้างเคืองของยาคุมกาเนิดชนิด
รับประทานได้
ยาฝังคุมกาเนิด
ประกอบด้วยฮอร์โมนโปรเจสเตอโรน มีลักษณะเป็นหลอดหรือเป็นแท่ง ใช้ฝังที่ต้นแขน
ด้านใน โดยฮอร์โมนจะค่อยๆกระจายสู่ร่างกายช้าๆ มีผลคุมกาเนิดนานประมาณ 5 ปี
วิธีนี้เหมาะสาหรับผู้ที่มีบุตรเพียงพอแล้ว
ยาเม็ดคุมกาเนิด
1 แบบธรรมดา ฮอร์โมนรวม
2 แบบฉุกเฉิน โปรเจสเตอเจน
ยาคุมกาเนิดแบบธรรมดา
มี 2 แบบคือ 21 และ 28 เม็ดใน 1 แผง
แบบ 21
แบบ 28
วิธีรับประทานยาคุมกาเนิดแบบ
ธรรมดา
เริ่มเม็ดแรกในวันที่ 1 ของการมีประจาเดือน
แนะนาก่อนนอน แนะนาให้รับประทานวันละ 1 เม็ดหลังอาหารเย็นหรือก่อนนอนเพื่อลดอาการ
คลื่นไส้
แบบ 28 เม็ด เริ่มแผงใหม่ได้เลย
แบบ 21 เม็ด ยาหมดแผงต้องหยุด 7 วัน
ในระยะ 15 วันแรกของการเริ่มยาแผงที่ 1 ให้ใช้วิธีคุมกาเนิดอื่นร่วมด้วย เช่นการใช้ถุงยางอนามัย
การปฏิบัติ กรณีลืมรับประทานยา
คุมกาเนิดแบบธรรมดา
1. ลืมกิน 1 เม็ดให้กินเม็ดที่ลืมทันที หากนึกได้เวลาที่ต้องการกินอีกเม็ดให้กินสองเม็ดพร้อมกัน
2. ลืมกิน 2 เม็ดให้กิน 2 เม็ดที่ลืม โดยเม็ดแรกกินในเช้าวันรุ่งขึ้น วันที่สองในเช้าวันต่อไป และ
หลังจากนั้นก็กินตามปกติในตอนเย็น แต่กรณีที่ลืมเช่นนี้อาจทาให้รอบเดือนมากะปริบกะปรอยได้
**ต้องคุมกาเนิดวิธีอื่นร่วมด้วย 7 วันนับจากวันที่ลืมรับประทานยา
3. ลืมกิน 3 เม็ด ให้หยุดยาแผงเก่า รอรอบเดือนมาแล้วค่อยเริ่มแผงใหม่
**ต้องคุมกาเนิดวิธีอื่นร่วมด้วย 7 วันนับจากวันที่ลืมรับประทานยา
4. ลืมกินยาในช่วงท้ายๆ หรือใกล้หมดแผงจะไม่มีผลมาก
ข้อดีของยาเม็ดคุมกาเนิดแบบ
ธรรมดา
มีประสิทธิผลดี ใช้ได้ง่าย และปลอดภัย
มีให้เลือกหลายชนิดตามความเหมาะสมของแต่ละคน
สามารถหยุดยาเมื่อต้องการตั้งครรภ์ได้
ทางานหนักเบาได้ตามปกติ
ลดภาวะเครียดก่อนมีประจาเดือน
ประโยชน์ในทางการแพทย์ของยาเม็ด
คุมกาเนิดแบบธรรมดาป้องกันการตั้งครรภ์ เพื่อการวางแผนครอบครัว
ป้องกันภาวะกระดูกพรุน
ลดการเกิดพังผืดที่เต้านม
ลดการเกิดสิวหรือขนดก
ปรับประจาเดือนให้ปกติ
ควบคุมการมีประจาเดือนมากผิดปกติ
ควบคุมการเกิดประจาเดือน
ป้องกันมะเร็งที่รังไข่และที่มดลูก
ใช้เลื่อนประจาเดือน
อาการข้างเคียงที่ต้องหยุดกินยา
คุมกาเนิด
ปวดหัวมากและรุนแรง
ปวดท้องรุนแรง
ตาพร่า ตามัว เห็นภาพผิดปกติ
เจ็บหน้าอกมาก
ปวดน่องอย่างรุนแรง
ตาเหลือง
รอบเดือนขาดนาน 3 เดือนติดต่อกัน
ความดันโลหิตสูง
โรคภูมิแพ้เกิดการกาเริบมากขึ้น
ยาเม็ดคุมกาเนิดแบบฉุกเฉิน
เดิมแรก “ยาคุมกาเนิดหลังร่วมเพศ”ซึ่งไม่เหมาะที่จะนามาใช้เป็นยาคุมกาเนิดตามปกติ แต่ใช้สาหรับป้องกันการ
ตั้งครรภ์แบบฉุกเฉินเท่านั้น
*ฉุกเฉิน
การมีเพศสัมพันธ์ในคู่สามีภรรยา ที่มีการวางแผนครอบครัวและทาการป้องกันการตั้งครรภ์แต่เกิดความผิดพลาดจาก
วิธีคุมกาเนิดที่ใช้ เช่น การรั่วหรือฉีกขาดของถุงยางอนามัย
การลืมรับประทานยาเม็ดคุมกาเนิดตั้งแต่ 2 เม็ดขึ้นไป
ผู้หญิงที่ถูกข่มขืน
ยาเม็ดคุมกาเนิดแบบฉุกเฉิน
มียากล่องละ 1 แผง และแต่ละแผงมียาคุมฉุกเฉิน 2 เม็ด แต่ละเม็ดประกอบด้วยตัวยาที่เป็น
ฮอร์โมนขนาดสูง คือ ลีโวนอร์เจสเตรล (levonorgestrel) เม็ดละ 750 ไมโครกรัม
การรับประทานยาที่ถูกต้องคือ รับประทานยาเม็ดแรกให้เร็วที่สุดหลังจากมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน
โดยไม่ควรเกิน 72 ชั่วโมง และจะต้องรับประทานยาเม็ดที่สองหลังจากรับประทานยาเม็ดแรกไม่เกิน
12 ชั่วโมง
*หากมีอาการอาเจียนภายใน 2 หลังรับประทานยาแต่ละเม็ด ต้องรับประทานยาใหม่และไม่แนะนา
ให้รับประทานยาเกิน 4 เม็ด หรือ 2 กล่องต่อเดือน
การรับประทานยาเม็ดแรกภายในกี่
ชั่วโมง
72 hrs –
75%
24 hrs –85%
ดังนั้นจึงควรรับประทานยาเม็ดแรกหลังการมี
เพศสัมพันธ ์ให้เร็วที่สุด
สามารถรับประทานยาคุมฉุกเฉิน 2
เม็ด พร้อมกันในครั้งเดียวได้หรือไม่
มีคาแนะนาด้วยว่า โดยที่ประสิทธิภาพและความปลอดภัย ไม่แตกต่างจากการแบ่ง
รับประทานเป็น 2 ครั้ง ซึ่งในสหรัฐอเมริกานิยมรูปแบบการรับประทานในครั้งเดียว และ
มีผลิตภัณฑ์จาหน่ายในรูปแบบยาที่มีความแรงเป็น 2 เท่า คือ มีตัวยาลีโวนอร์เจสเตรล
เม็ดละ 1.5 มิลลิกรัม การรับประทานเพียงครั้งเดียว จะทาให้เกิดความสะดวกมากกว่า
การแบ่งยารับประทาน อย่างไรก็ตามในบางรายอาจพบอาการคลื่นไส้ อาเจียนจากการ
รับประทานยาเพียงครั้งเดียวมากกว่าการแบ่งรับประทาน 2 ครั้ง
ยาเม็ดคุมกาเนิดแบบฉุกเฉิน
ผลข้างเคียง
- ที่พบบ่อยได้แก่ ปวดท้อง มีเลือดออกกะปริบกะปรอย ประจาเดือนมาเร็วหรือช้ากว่าปกติ (ไม่
จาเป็นต้องใช้ยารักษา ไม่เป็นอันตราย)
**การใช้ยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานานๆ จะทาให้ยามีประสิทธิภาพที่ด้อยกว่า เมื่อเปรียบเทียบ
กับการรับประทานยาคุมกาเนิดแบบปกติชนิดเม็ดแล้ว ยังอาจทาให้เกิดความผิดปกติที่รังไข่ เยื่อบุโพรง
มดลูก รวมทั้งเพิ่มความเสี่ยงในการเกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูกถึง 2 เปอร์เซ็น ดังนั้นการใช้ยานี้จึงควร
ใช้เมื่อจาเป็นเท่านั้น แบะไม่แนะนาให้รับประทานเกิน 4 เม็ด หรือ 2 กล่อง ต่อเดือน
ยาเม็ดคุมกาเนิดแบบฉุกเฉิน
หลังจากรับประทานยาคุมฉุกเฉินแล้ว
- โดยทั่วไปจะมีประจาเดือนหลังจากรับประทานยาภายในเวลาไม่เกิน 1 สัปดาห์ (หากไม่มีให้สงสัย
ว่าตั้งครรภ์ ควรไปพบแพทย์)หลังจากนั้นประจาเดือนของรอบเดือนนั้นจะมาในช่วงเวลาเดิม ในบาง
รายอาจพบประจาเดือนรอบต่อไปมาช้าหรือมาเร็วกว่าปกติได้
ยาเม็ดคุมกาเนิดแบบฉุกเฉิน
ยาคุมฉุกเฉินเป็นยาทาแท้ง ?
เป็นความเข้าใจที่ผิด ยาคุมฉุกเฉินสามารถป้องกันการตั้งครรภ์ได้เท่านั้น นั่นคือต้องใช้ยา
เข้าไปในร่างกาย ก่อนที่จะมีการฝังตัวของไข่ที่เยื่อบุโพรงมดลูก แต่หากไข่ที่ผสมกับอสุจิ
ได้ฝังตัวที่ผนังมดลูกแล้ว ยานี้จะทาอะไรไม่ได้ ดังนั้น ยานี้จึงไม่ใช่ยาทาแท้ง
ยาเม็ดคุมกาเนิดแบบฉุกเฉิน
ยาคุมฉุกเฉินป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ ?
ยาคุมกาเนิดฉุกเฉิน ไม่สามารถป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เช่น กามโรค หรือการติดต่อเชื้อ
เอดส์ แต่การใช้ถุงยางอนามัยเป็นวิธีการคุมกาเนิดที่สามารถคุมกาเนิดและป้องกันโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ได้
การตรวจสอบการตั้งครรภ์
ชุดตรวจครรภ์ หรือ ที่ตรวจครรภ์ : การตรวจครรภ์ด้วยตัวเองนี้จะเป็นการทดสอบหา
ฮอร์โมน hCG (Human chorionic gonadotropin) ใน
ปัสสาวะของคุณแม่ ซึ่งเป็นฮอร์โมนที่หลั่งมาจากรกและจะเริ่มผลิตหลังจากเกิดการ
ปฏิสนธิไปแล้วประมาณ 6 วัน และจะขึ้นสูงสุดในช่วง 8-12 สัปดาห์ ซึ่งจะมี
ความแม่นยามากถึงร้อยละ 90 และสามารถตรวจได้อย่างแม่นยําในรายที่มีการ
ขาดประจําเดือนตั้งแต่วันที่ 10-14 ขึ้นไป โดยปกติแล้วในชุดทดสอบจะมีอุปกรณ์
ตรวจมาให้พร้อมอย่างเสร็จสรรพ แต่จะมีอยู่ด้วยกัน 3 รูปแบบ คือ
ชุดตรวจครรภ์ หรือ ที่ตรวจ
ครรภ์
แบบแถบจุ่ม
แบบ
ปากกา
แบบหยด
ข้อควรปฏิบัติในการทดสอบการ
ตั้งครรภ์ด้วยตนเอง
งดน้าและเครื่องดื่มหลัง 2 ทุ่ม และปัสสาวะให้หมดก่อนนอน
ไม่รับประทานยาใดๆใน 48 ชม. ก่อนทดสอบ
เก็บปัสสาวะครั้งแรกที่ถ่ายตอนเช้า
ทดสอบและอ่านผลภายใน 5 นาที
เอกสารและข้อมูลแนะนาที่นักศึกษาควรศึกษาเพิ่มเติม
สุชาดา โตพึ่งพงศ์. รู้โรค รู้ยา และการรักษา ด้วยตนเอง. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เรือนปัญญา, 2550.
สันต์ หัตถีรัตน์. ฉลาดใช้ยา. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์หมอชาวบ้าน, 2555.
เรวดี ธรรมอุปกรณ์และสาริณีย์ กฤติยานันต์. ใช้ยาต้องรู้ เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551.
เฉลิมศรี สุวรรณเจดีย์และจุฬาภรณ์ สมรูป. คู่มือการใช้ยาและการจัดการพยาบาล. กรุงเทพฯ: บริษัท บพิธการพิมพ์ จากัด, 2540.
อรกัญญ์ ภูมิโคกรักษ์. ใช้ยา ถูกโรค ฉบับที่ต้องมีไว้ประจาบ้าน. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เอ็มไอเอส, 2552.
วิวัฒน์ ถาวรวัฒนยงค์. ก้าวทันโรคและยาเพื่อการบริบาลเภสัชกรรมชุมชน. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์,
2558.
สิรินุช พละภิญโญ. การบริบาลทางยาของเภสัชกรรมชุมชน. กรุงเทพฯ: Printing Place, 2555.
http://www.fda.moph.go.th
http://www.moph.go.th
แบบฝึกหัด
http://goo.gl/forms
/
Geยาในชีวิตประจำวัน102516

More Related Content

What's hot

คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)Junee Sara
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Utai Sukviwatsirikul
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58Junee Sara
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดPa'rig Prig
 
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545Utai Sukviwatsirikul
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง Vorawut Wongumpornpinit
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...Vorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาamy69
 

What's hot (20)

Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Had12may2014 2
Had12may2014  2Had12may2014  2
Had12may2014 2
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
Cross hypersensivity to NSIADs, Allergic and pseudoallergic reactions.
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
cardiac drugs and tests
cardiac drugs and testscardiac drugs and tests
cardiac drugs and tests
 
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิดบทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
บทที่ 6 ยาคุมกำเนิด
 
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
ภาพรวมระบบยาของประเทศไทย 2545
 
3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน3 ยาสามัญประจำบ้าน
3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
คู่มือการโฆษณาเครื่องสำอาง
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
ชุดตำราภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ฉบับอนุรักษ์ การเตรียมเครื่องยาไทยบางชนิดก่อนใ...
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 

Similar to Geยาในชีวิตประจำวัน102516

Poster 30 1-57
Poster 30 1-57Poster 30 1-57
Poster 30 1-57Ma Jun
 
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...Utai Sukviwatsirikul
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthUtai Sukviwatsirikul
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร ikanok
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.25554LIFEYES
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดsucheera Leethochawalit
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 

Similar to Geยาในชีวิตประจำวัน102516 (20)

Poster 30 1-57
Poster 30 1-57Poster 30 1-57
Poster 30 1-57
 
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for HealthPROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
PROBIOTICS Alternative Microorganisms for Health
 
สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553สาระปันยา 2553
สาระปันยา 2553
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
hepatotoxicity
hepatotoxicityhepatotoxicity
hepatotoxicity
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 

Geยาในชีวิตประจำวัน102516

Editor's Notes

  1. ข้อห้ามใช้ ยังไม่พบ ข้อควรระวัง -ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนำให้รับประทานในเด็กอายุต่ำกว่า ๖ ขวบ อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
  2. ข้อห้ามใช้ ยังไม่พบ ข้อควรระวัง -ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนำให้รับประทานในเด็กอายุต่ำกว่า ๖ ขวบ อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
  3. ข้อห้ามใช้ ยังไม่พบ ข้อควรระวัง -ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนำให้รับประทานในเด็กอายุต่ำกว่า ๖ ขวบ อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
  4. ข้อห้ามใช้ ยังไม่พบ ข้อควรระวัง -ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนำให้รับประทานในเด็กอายุต่ำกว่า ๖ ขวบ อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ
  5. ข้อห้ามใช้ ยังไม่พบ ข้อควรระวัง -ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) - ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ - ไม่แนะนำให้รับประทานในเด็กอายุต่ำกว่า ๖ ขวบ อาการไม่พึงประสงค์ อาการแสบร้อนบริเวณทางเดินอาหาร อาการระคายเคืองบริเวณปากและคอ