SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
- เภสัชกร -
1. กลุ่มวิชาบริบาลเภสัชกรรม
(Pharmaceutical
Care)1.1 สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิกและเภสัชกรรม
โรงพยาบาล
(Clinical Pharmacy and Hospital
Pharmacy)
เภสัชกรรมคลินิก เป็นการศึกษาเกี่ยวกับโรคต่างๆและการ
รักษา ดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ประเมินการใช้ยา
ส่วนเภสัชกรรมโรงพยาบาล เป็นการพูดรวมไปถึงระบบการ
กระจายยาในโรงพยาบาล ซึ่งก็คืองานการจ่ายยาแก่ผู้ป่วยใน
และผู้ป่วยนอก รวมทั้งงานการบริหารคลังเวชภัณฑ์ด้วย
1.2 สาขาวิชาเภสัชกรรมชุมชม (Community
Pharmacy)
เภสัชกรรมชุมชน ก็คือ ร้านยา นอกจากจาหน่ายยาแล้ว ยังต้องทา
การซักประวัติ การวินิจฉัยโรคเบื้องต้น การเลือกใช้ยาและขนาดที่
เหมาะสม แนะนาวิธีการใช้ยา มีการให้คาปรึกษาเรื่องยาและ
สุขภาพ รวมทั้งต้องมีความรู้ทางด้านการบริหารจัดการร้านยาในเชิง
ธุรกิจอีกด้วย
1.3 สาขาวิชาเภสัชสาธารณสุข (Pharmacy
Public Health)
เภสัชสาธารณสุข เป็นการประยุกต์ความรู้ทางสาธารณสุขศาสตร์
มาใช้ในงานทางเภสัชกรรม เช่น ระบบยา นโยบายแห่งชาติด้านยา
พฤติกรรมสุขภาพ งานสาธารณสุขชุมชน การศึกษาและจัดการ
ปัญหาทางสาธารณสุขที่เกี่ยวกับยาและการใช้ยาของประชาชน
ด้วย
ชื่อสาขา
2. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม (Pharmaceutical
Science)2.1 สาขาวิชาเภสัชเวท
(Pharmacognosy)
เภสัชเวท เป็นการศึกษาตัวยาและสารช่วยทางเภสัช
กรรมจากแหล่งธรรมชาติ ทั้งพืช จุลินทรีย์ และแหล่ง
แร่ธาตุ เช่น น้าผึ้ง นมผึ้ง เกสรผึ้ง น้ามันตับปลา หมู
วัว แหล่งจุลินทรีย์ เช่น ยีสต์ แบคทีเรีย รวมทั้งพวก
สาหร่าย เห็ด รา ด้วย เปลือกสนสกัด สารสกัดเมล็ด
2.2 สาขาวิชาเภสัชเคมี (Pharmaceutical
Chemistry)
เภสัชเคมี ก็คือ เคมีของยา ยาก็คือ สารเคมี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์
จึงมีโครงสร้างเป็นวงเป็นเหลี่ยมเป็นกิ่งก้านสาขา บางชนิดมีโครงสร้าง
ง่ายๆ แต่บางชนิดก็มีโครงสร้างซับซ้อน คุณสมบัติทางเคมีกายภาพของ
ยาด้วย ซึ่งจะมีผลต่อการตั้งสูตรตารับ
2.3 สาขาวิชาเภสัชวิเคราะห์
(Pharmaceutical Analysis)
เภสัชวิเคราะห์ ก็คือ วิชาการวิเคราะห์ยา เป็นการหา
ปริมาณยาและสารปนเปื้อน โดยใช้วิธีการทางเคมี
ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์เชิงน้าหนัก การวิเคราะห์เชิง
ปริมาตรหรือการไทเทรต (กรด-เบส, สารเชิงซ้อน,
รีด็อกซ์ ) ทางานในฝ่ายควบคุมคุณภาพในโรงงาน
ยา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
2.4 สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม (Pharmaceutical
Technology)
เทคโนโลยีเภสัชกรรม ก็คือวิชาการผลิตยา ยามีหลายรูปแบบมาก เช่น ยา
รูปแบบของแข็ง (ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง ยาแกรนูล ยาเหน็บ) ยา
รูปแบบของเหลว ( อโรมาติกวอเตอร์ สปิริต อิลิกเซอร์ ยาน้าเชื่อม ยาน้า
อิมัลชัน ยาน้าแขวนตะกอน) ยารูปแบบกึ่งแข็ง (ยาขี้ผึ้ง ครีม เพสต์
เจล) ยารูปแบบไร้เชื้อ (ยาฉีด ยาฝัง ยาตา ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ เช่น
ฮอร์โมน วัคซีน เซรุ่ม สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือด) ยารูปแบบพิเศษ
(ยากัมมันตรังสี ยาแอโรโซล ยาแผ่นแปะ ระบบการนาส่งยาแบบต่างๆ)
ซึ่งในการผลิตยา ต้องใช้ความรู้หลายสาขา ทั้งชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ และ
3. กลุ่มวิชาเภสัชกรรมสังคม (Social
Pharmacy)
3.1 สาขาวิชาการบริหารเภสัชกิจ (Pharmacy
Administration)
การบริหารเภสัชกิจ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร การจัดการ
พฤติกรรมองค์กร การตลาด และการประยุกต์มาใช้ในงานทางเภสัชกรรม
ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล ร้านยา บริษัทยา โรงงานยา ศูนย์วิจัย
ห้องปฏิบัติการ หรือหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง
3.2 สาขาวิชานิติเภสัชศาสตร์ (Forensic
Pharmacy)
นิติเภสัชศาสตร์ เป็นการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานทางเภสัชกรรม
และเภสัชกรทุกสาขา เช่น กฎหมายวิชาชีพเภสัชกรรม กฎหมายยา
กฎหมายวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท กฎหมายยาเสพติด กฎหมาย
เครื่องสาอาง เป็นต้น
4. กลุ่มวิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and
Toxicology)4.1 เภสัชวิทยา (Pharmacology)
เภสัชวิทยา เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างยากับร่างกายทั้งในเชิงวิทยาศาสตร์และ
เชิงคลินิก โดยมีการศึกษาใน 2 ลักษณะ คือ เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ เภสัช
จลนศาสตร์เป็นการศึกษาว่าร่างกายทาอะไรกับยา ได้แก่ การดูดซึมยา การกระจายยา
การแปรสภาพยา และการขับยา ส่วนเภสัชพลศาสตร์ เป็นการศึกษาว่ายาทาอะไรกับ
ร่างกาย ซึ่งก็คือกลไกการออกฤทธิ์ของยานั่นเอง เช่น การออกฤทธิ์ผ่านทางรีเซปเตอร์,
การยับยั้งเอ็นไซม์ เป็นต้น
4.2 พิษวิทยา
(Toxicology)
พิษวิทยา เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ
สารพิษชนิดต่างๆ ทั้งสารพิษใน
ธรรมชาติและสารเคมีสังเคราะห์ ยาใน
ขนาดที่เป็นพิษ ลักษณะความเป็นพิษ
ต่อร่างกายในระบบต่างๆ กลไกการเกิด
พิษ อาการพิษและการรักษา รวมทั้ง
ศึกษาการใช้ ทดลองในการทดลองทาง
พิษวิทยาด้วย
4.3 ชีวเภสัชศาสตร์ (Biopharmaceutics)
ชีวเภสัชศาสตร์ เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ยากับร่างกาย โดยศึกษาผ่านทาง
ชีวประสิทธิผลและชีวสมมูล ชีวประสิทธิผล คือ การศึกษาการดูดซึมของตัวยาเข้าสู่ระบบ
หมุนเวียนโลหิตเทียบกับปริมาณยาที่ให้ไป ส่วนชีวสมมูล คือการศึกษาเปรียบเทียบการ
ละลายออกของตัวยาจากผลิตภัณฑ์ยาตัวอย่างเทียบกับผลิตภัณฑ์ยาต้นแบบ ซึ่งตัวยา
เดียวกันก็อาจมีการละลายตัวยาออกจากผลิตภัณฑ์ในอัตราต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับการตั้ง
สูตรตารับและกระบวนการผลิต
สถาบันที่เปิ ดสอน
รายชื่อ จังหวัด
คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย จังหวัดปทุมธานี
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จังหวัดปทุมธานี
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระ
เกียรติ
จังหวัดสมุทรปราการ
รายชื่อ จังหวัด
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม
สานักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัด
นครศรีธรรมราช
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
การศึกษา
คณะเภสัชจะมี 2 หลักสูตรคือหลักสูตร 5 ปี กับ 6 ปี
1.หลักสูตร 5 ปี
เมื่อเวลาที่จะขึ้นปี 5 จะต้องเลือกแล้วว่าสนใจทางด้านไหน สายผลิต หรือสายการ
ดูแลผู้ป่วย หรือที่ภาษาอังกฤษ เรียกว่า “ Clinic ”
2.หลักสูตร 6 ปี
หลักสูตรนี้มีแต่สาย การดูแลผู้ป่วยเท่านั้น และต้องศึกษาให้ดีๆเพราะบางมหาลัยมี
แต่หลักสูตร 6 ปี เท่านั้น
มหาลัยที่มีแต่หลักสูตร 6 ปี มีที่เดียว คือ มหาลัยนเรศวร กับ มหาสารคาม
ส่วนมหาลัยที่มีแต่หลักสูตร 5 ปี ที่มหิดล
วิชาที่เรียนในปี ต่างๆ
ปี 1
General
Chemistry
Calculus –
Statistics
Principle Of
Biology
Principle Of
Physical
Principles Of
Organic
Chemistry I
ปี 2
Genetics And Development (พันธุศาสตร์)
Ordinary Differential Equation (สมการเชิงอนุพันธ)
Organic Chemistry II
Anatomy And Taxonomy
Of Medicinal Plants (เกี่ยวกับสมุนไพร)
Pharmacy Orientation (หน้าที่เภสัชในสายงานต่างๆ)
Scientific English (ศัพท์ทางด้านเภสัชและแพทย์)
Biochemistry (เคมีผสมชีวะ)
Inorganic Pharmaceutical Chemistry (ศึกษาสารประกอบต่างๆ
และวิธีสังเคราะห์สารต่างๆในยา)
Human Anatomy And Physiology (เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์)
Pharmaceutical Botany (สมุนไพรที่ใช้ในโรคต่างๆ)
ปี 3
Microbiology I (จุลชีวะและพวกสิ่งมีชีวิตเล็กๆ)
Medicinal Chemistry I
(โครงสร้างยาว่ามีผลต่อการรักษาอย่างไร)
Pathophysiology (กระบวนการที่ทาให้เกิดโรค
ต่างๆ)
Pharmaceutical Analysis I
(สอนการดูว่ายามีคุณภาพหรือไม่)
Pharmaceutical Analysis II
Pharmaceutical Technology I
(สอนหลักเกี่ยวกับการทายา)
Pharmaceutical Technology II
Pharmacology I (สรรพคุณของยา)
Public Health (ศึกษาระบบสาธารณสุขในประเทศ
ไทย)
ปี 4
Manufacturing Pharmacy I (การผลิตยาใน
ระดับอุตสาหกรรม)
Manufacturing Pharmacy II
Medicinal Chemistry II
Biopharmaceutics And
Pharmacokinetics
(การเลือกใช้ยาและดูผู้ป่วย)
Pharmacology II (สรรพคุณของยา)
Pharmaceutical Technology III
Pharmaceutical Technology IV
Pharmacy Administration (การบริหารงาน
ทางเภสัชต่างๆ)
Hospital Pharmacy I (งานด้านเภสัชใน
โรงพยาบาล)
Food And Nutrient (อาหารและสารอาหารต่างๆ)
Clinical Pharmacy II (สอนหลักจ่ายยาและอธิบาย
ให้คนไข้)
ปี 5
Special Project
Clinical Pharmacy II (โรค วิธีการรักษา บทบาทของเภสัชในการรักษา)
Practice Clinical Pharmacy II (ศึกษาข้อมูลผู้ป่วยเพื่อจ่ายยา)
Pharmacy Jurisprudence & Ethics (กฎหมายที่เภสัชต้องรู้)
Clinical Pharmacology I (โรคและการวินิจฉัยโรคมาสอน โดยวิทยากรพิเศษ
ควบคู่ไปกับการใช้ยารักษาโรค)
Professional Practice III (ฝึกงาน 6 อาทิตย์)
Hospital Pharmacy II (เกี่ยวกับงานในโรงบาล)
Computor In Pharmacy (สอนงานคอมเพื่อมาปรถยุกต์ใช้ในงานด้านเภสัช)
Health Economics For pharmacist (สอนการอ่านและตีความงานวินิจชัยโยวิธีต่างๆ)
Drugs Control (เน้นฝึกปฏิบัติเอาความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งานมาใช้)
Cosmetic (กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องสาอางค์ ส่วนประกอบและวิธีการทา)
Formulation Of Natural Product (ค้นคว้าข้อมูลสมุนไพรจนถึงตั้งตารับเครื่องสาอางค์)
Formulation Of Liquid Dosage Form (เกี่ยวกับยา เครื่องสาอางค์ที่เป็นของเหลว)
1.เภสัชกรอุตสาหกรรม เป็นการทางานในโรงงานผลิตยา แบ่งได้เป็น
a).ฝ่ายผลิต มีหน้าที่ผลิตยาให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยใช้วัตถุดิบที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพดี
b)ฝ่ายควบคุมคุณภาพ “ QC” มีหน้าที่ควบคุมการผลิตตั้งแต่ตัวยาที่ใช้ในกระบวนการบรรจุยา
และการเก็บรักษายาไม่ให้เสื่อมสภาพอีกด้วย
c)ฝ่ายวิจัยและพัฒนา “ R & D” มีหน้าที่วิจัย เพื่อพัฒนายาสาเร็จรูปใหม่ๆ ศึกษาถึงประโยชน์และ
โทษของยาตัวใหม่ ปรับปรุงคุณภาพของยา ที่ผลิตอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น
d)ฝ่ายการตลาด
แนวทางการทางาน
2.เภสัชกรการตลาด (ธุรกิจ )เป็นเภสัชกรที่ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม โดยการนาเภสัช
ภัณฑ์ไปเสนอกับแพทย์ ตามโรงพยาบาลหรือเภสัชกรชุมชนตามร้านยา การเสนอขายยาในแต่ละ
ครั้ง
เราจะต้องมีความรู้ในตัวยานั้นๆเป็นอย่างดี ทั้งยังต้องมีความรู้ในด้านการบริหารงานการตลาด
การวางแผน การส่งเสริมการขาย การเงิน และการบัญชีด้วย
(โดยรวมยิ่งรู้มากยิ่งได้เปรียบ ) คนที่จะทางานด้านนี้ต้อง “ พูดเก่ง” “ มนุษยสัมพันธ์ดี”
“ซื่อสัตย์-จริงใจ”และที่สาคัญ “เอาใจเก่ง”
3.เภสัชกรชุมชน รู้จักกันดีในนาม “ เภสัชกรร้านยา”
มีหน้าที่ให้บริการความรู้แก่ประชาชน ในด้านการใช้ยา จาหน่ายยาตามอาการผู้ป่วย
สอบถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย เพื่อให้สามารถจ่ายยาได้อย่างเหมาะสม รวมถึงให้
คาแนะนาการใช้ยาแก่ผู้ป่วย เก็บประวัติคนไข้ และการแนะนาผู้ป่วยไปพบแพทย์
คนที่จะทางานด้านนี้ก็ต้องมีมนุษยสัมพันธ์ดี จริงใจ ใส่ใจในชีวิตของผู้ที่มาปรึกษา
4.เภสัชกรโรงพยาบาล
เป็นงานที่ได้ใช้ความรู้ทางเภสัชอย่างเต็มที่ โดยงานในหน้าที่คร่าวๆมีดังนี้
a) บริหารยาและเวชภัณฑ์ในห้องยา
b) รับผิดชอบการจัดยาตามใบสั่งแพทย์ ( ต้องมีความสามารถในการแกะลายมือ
หมอ )
c) จัดยาส่งไปแต่ละ ward ทั้ง OPD และ IPD รวมถึงการเตรียมยาเอง (
ในบางโรงพยาบาล )
5.เภสัชกรคลินิค
การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม โดยเน้นในการให้บริการข่าวสารและต้องมีความรู้ทางเภสัช
วิทยา
อย่างดีเยี่ยม มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าของวงการเภสัชกรรมและคอยตรวจเช็คการจ่าย
ยาของแพทย์ ฉะนั้น ผู้ที่จะทางานด้านนี้จะต้อง up date ข้อมูลของตนอยู่เสมอ ใน
โรงพยาบาล เภสัชกรจะต้องทางานด้านนี้ด้วย
6.เภสัชกรฝ่ายการศึกษา
หรือก็ คือ อาจารย์ เป็นผู้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ให้แก่นักศึกษา ซึ่งในสาขาวิชาที่เรียน
ของคณะเภสัชศาสตร์ สามารถแยกย่อยออกเป็นได้หลายแขนง ซึ่งผู้ที่จะทาหน้าที่นี้ควร
มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีความสามารถในการถ่ายทอดวิชาเป็นอย่างดี
7.เภสัชกรฝ่ายบริหารงานรัฐ
จะปฎิบัติงานในแต่ละหน่วยงานแตกต่างกัน
ออกไป
-กรมการแพทย์ เป็นเภสัชกรโรงพยาบาล
-สานักงานปลัดกระทรวง เป็นเภสัชกรโรงพยาบาล
ส่วนภูมิภาค หรือ เภสัชกรสานักงานสาธารณสุข
จังหวัดซึ่งจะคุมร้านยา โรงพยาบาลเอกชน คลินิค
แพทย์
-สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ควบคุม
การประกอบการพาณิชย์ ทางด้านยา อาหาร
รวมถึงเครื่องสาอาง
-อื่นๆ เช่น กระทรวงการคลัง
กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพลังงาน
สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงกลาโหม
กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ทบวงมหาวิทยาลัย และรัฐวิสาหกิจ ต่างๆ
รายชื่อกลุ่ม ชั้น ม.5/5
1 นายนวิน เก็บไว้ เลขที่ 5
2 นางสาวกนกนันท์ อินทรารักษ์ เลขที่ 11
3 นางสาวพรชนัน ตันโสรัจประเสริฐ เลขที่ 18
4 นางสาวอรณิช ศิลปรัสมี เลขที่ 19
5 นางสาวสิโรชา รอดบุญคง เลขที่ 21

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพtassanee chaicharoen
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ยApirak Potpipit
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5Kruthai Kidsdee
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3Kruthai Kidsdee
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4mrtv3mrtv4
 
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำโครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำApinan Isarankura Na Ayuthaya
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านPa'rig Prig
 
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางWiroj Suknongbueng
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าอำพร มะนูรีม
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2dnavaroj
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental testtaem
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมNattha Namm
 

What's hot (20)

Self assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug storeSelf assessment-gpp-drug store
Self assessment-gpp-drug store
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
6.โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับดอกเบี้ย
 
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
แผนการสอนสุขศึกษา ม.5
 
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 33.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
3.แผนสุขศึกษาหลีกเลี่ยงความรุนแรงม. 3
 
ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4ใบงานที่ 4.1 ม4
ใบงานที่ 4.1 ม4
 
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำโครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
โครงงานคณิตศาสตร์ การประยุกต์ของอัตราส่วนทองคำ
 
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้านบทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
บทที่ 3 ยาสามัญประจำบ้าน
 
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทางตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
ตัวอย่างใบ เบิกค่าเดินทาง
 
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้าแบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
แบบประเมินสภาวะสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า
 
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
ข้อสอบวิทย์ ม.1 ภาค 1 และ ภาค 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
4.แนวข้อสอบ o net สุขศึกษา(ม.6)
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
Chula mental test
Chula mental testChula mental test
Chula mental test
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อมแผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
แผ่นพับ ข้อเข่าเสื่อม
 

Similar to อาชีพเภสัชกร

หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกpitsanu duangkartok
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdfSomchaiPt
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)tanong2516
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60Paradee Plodpai
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)kamolwantnok
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to อาชีพเภสัชกร (20)

หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทกเภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
เภสัชกรในโรงพยาบาล Part1 By พิษณุ ดวงกระโทก
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
009-12-2566 บทความ Bioequivalence (final) 11.12.66 (Songwut).pdf
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
59-3final.pdf
59-3final.pdf59-3final.pdf
59-3final.pdf
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
8
88
8
 

อาชีพเภสัชกร

  • 2. 1. กลุ่มวิชาบริบาลเภสัชกรรม (Pharmaceutical Care)1.1 สาขาวิชาเภสัชกรรมคลินิกและเภสัชกรรม โรงพยาบาล (Clinical Pharmacy and Hospital Pharmacy) เภสัชกรรมคลินิก เป็นการศึกษาเกี่ยวกับโรคต่างๆและการ รักษา ดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด ประเมินการใช้ยา ส่วนเภสัชกรรมโรงพยาบาล เป็นการพูดรวมไปถึงระบบการ กระจายยาในโรงพยาบาล ซึ่งก็คืองานการจ่ายยาแก่ผู้ป่วยใน และผู้ป่วยนอก รวมทั้งงานการบริหารคลังเวชภัณฑ์ด้วย 1.2 สาขาวิชาเภสัชกรรมชุมชม (Community Pharmacy) เภสัชกรรมชุมชน ก็คือ ร้านยา นอกจากจาหน่ายยาแล้ว ยังต้องทา การซักประวัติ การวินิจฉัยโรคเบื้องต้น การเลือกใช้ยาและขนาดที่ เหมาะสม แนะนาวิธีการใช้ยา มีการให้คาปรึกษาเรื่องยาและ สุขภาพ รวมทั้งต้องมีความรู้ทางด้านการบริหารจัดการร้านยาในเชิง ธุรกิจอีกด้วย 1.3 สาขาวิชาเภสัชสาธารณสุข (Pharmacy Public Health) เภสัชสาธารณสุข เป็นการประยุกต์ความรู้ทางสาธารณสุขศาสตร์ มาใช้ในงานทางเภสัชกรรม เช่น ระบบยา นโยบายแห่งชาติด้านยา พฤติกรรมสุขภาพ งานสาธารณสุขชุมชน การศึกษาและจัดการ ปัญหาทางสาธารณสุขที่เกี่ยวกับยาและการใช้ยาของประชาชน ด้วย ชื่อสาขา
  • 3. 2. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม (Pharmaceutical Science)2.1 สาขาวิชาเภสัชเวท (Pharmacognosy) เภสัชเวท เป็นการศึกษาตัวยาและสารช่วยทางเภสัช กรรมจากแหล่งธรรมชาติ ทั้งพืช จุลินทรีย์ และแหล่ง แร่ธาตุ เช่น น้าผึ้ง นมผึ้ง เกสรผึ้ง น้ามันตับปลา หมู วัว แหล่งจุลินทรีย์ เช่น ยีสต์ แบคทีเรีย รวมทั้งพวก สาหร่าย เห็ด รา ด้วย เปลือกสนสกัด สารสกัดเมล็ด 2.2 สาขาวิชาเภสัชเคมี (Pharmaceutical Chemistry) เภสัชเคมี ก็คือ เคมีของยา ยาก็คือ สารเคมี ซึ่งส่วนใหญ่เป็นสารอินทรีย์ จึงมีโครงสร้างเป็นวงเป็นเหลี่ยมเป็นกิ่งก้านสาขา บางชนิดมีโครงสร้าง ง่ายๆ แต่บางชนิดก็มีโครงสร้างซับซ้อน คุณสมบัติทางเคมีกายภาพของ ยาด้วย ซึ่งจะมีผลต่อการตั้งสูตรตารับ 2.3 สาขาวิชาเภสัชวิเคราะห์ (Pharmaceutical Analysis) เภสัชวิเคราะห์ ก็คือ วิชาการวิเคราะห์ยา เป็นการหา ปริมาณยาและสารปนเปื้อน โดยใช้วิธีการทางเคมี ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์เชิงน้าหนัก การวิเคราะห์เชิง ปริมาตรหรือการไทเทรต (กรด-เบส, สารเชิงซ้อน, รีด็อกซ์ ) ทางานในฝ่ายควบคุมคุณภาพในโรงงาน ยา ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2.4 สาขาวิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม (Pharmaceutical Technology) เทคโนโลยีเภสัชกรรม ก็คือวิชาการผลิตยา ยามีหลายรูปแบบมาก เช่น ยา รูปแบบของแข็ง (ยาเม็ด ยาแคปซูล ยาผง ยาแกรนูล ยาเหน็บ) ยา รูปแบบของเหลว ( อโรมาติกวอเตอร์ สปิริต อิลิกเซอร์ ยาน้าเชื่อม ยาน้า อิมัลชัน ยาน้าแขวนตะกอน) ยารูปแบบกึ่งแข็ง (ยาขี้ผึ้ง ครีม เพสต์ เจล) ยารูปแบบไร้เชื้อ (ยาฉีด ยาฝัง ยาตา ผลิตภัณฑ์ชีวภาพ เช่น ฮอร์โมน วัคซีน เซรุ่ม สารอาหารที่ให้ทางหลอดเลือด) ยารูปแบบพิเศษ (ยากัมมันตรังสี ยาแอโรโซล ยาแผ่นแปะ ระบบการนาส่งยาแบบต่างๆ) ซึ่งในการผลิตยา ต้องใช้ความรู้หลายสาขา ทั้งชีววิทยา เคมี ฟิสิกส์ และ
  • 4. 3. กลุ่มวิชาเภสัชกรรมสังคม (Social Pharmacy) 3.1 สาขาวิชาการบริหารเภสัชกิจ (Pharmacy Administration) การบริหารเภสัชกิจ เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการบริหาร การจัดการ พฤติกรรมองค์กร การตลาด และการประยุกต์มาใช้ในงานทางเภสัชกรรม ไม่ว่าจะเป็นโรงพยาบาล ร้านยา บริษัทยา โรงงานยา ศูนย์วิจัย ห้องปฏิบัติการ หรือหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง 3.2 สาขาวิชานิติเภสัชศาสตร์ (Forensic Pharmacy) นิติเภสัชศาสตร์ เป็นการศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับงานทางเภสัชกรรม และเภสัชกรทุกสาขา เช่น กฎหมายวิชาชีพเภสัชกรรม กฎหมายยา กฎหมายวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท กฎหมายยาเสพติด กฎหมาย เครื่องสาอาง เป็นต้น
  • 5. 4. กลุ่มวิชาเภสัชวิทยาและพิษวิทยา (Pharmacology and Toxicology)4.1 เภสัชวิทยา (Pharmacology) เภสัชวิทยา เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างยากับร่างกายทั้งในเชิงวิทยาศาสตร์และ เชิงคลินิก โดยมีการศึกษาใน 2 ลักษณะ คือ เภสัชจลนศาสตร์และเภสัชพลศาสตร์ เภสัช จลนศาสตร์เป็นการศึกษาว่าร่างกายทาอะไรกับยา ได้แก่ การดูดซึมยา การกระจายยา การแปรสภาพยา และการขับยา ส่วนเภสัชพลศาสตร์ เป็นการศึกษาว่ายาทาอะไรกับ ร่างกาย ซึ่งก็คือกลไกการออกฤทธิ์ของยานั่นเอง เช่น การออกฤทธิ์ผ่านทางรีเซปเตอร์, การยับยั้งเอ็นไซม์ เป็นต้น 4.2 พิษวิทยา (Toxicology) พิษวิทยา เป็นการศึกษาเกี่ยวกับ สารพิษชนิดต่างๆ ทั้งสารพิษใน ธรรมชาติและสารเคมีสังเคราะห์ ยาใน ขนาดที่เป็นพิษ ลักษณะความเป็นพิษ ต่อร่างกายในระบบต่างๆ กลไกการเกิด พิษ อาการพิษและการรักษา รวมทั้ง ศึกษาการใช้ ทดลองในการทดลองทาง พิษวิทยาด้วย 4.3 ชีวเภสัชศาสตร์ (Biopharmaceutics) ชีวเภสัชศาสตร์ เป็นการศึกษาประสิทธิภาพของการใช้ยากับร่างกาย โดยศึกษาผ่านทาง ชีวประสิทธิผลและชีวสมมูล ชีวประสิทธิผล คือ การศึกษาการดูดซึมของตัวยาเข้าสู่ระบบ หมุนเวียนโลหิตเทียบกับปริมาณยาที่ให้ไป ส่วนชีวสมมูล คือการศึกษาเปรียบเทียบการ ละลายออกของตัวยาจากผลิตภัณฑ์ยาตัวอย่างเทียบกับผลิตภัณฑ์ยาต้นแบบ ซึ่งตัวยา เดียวกันก็อาจมีการละลายตัวยาออกจากผลิตภัณฑ์ในอัตราต่างกันก็ได้ ขึ้นอยู่กับการตั้ง สูตรตารับและกระบวนการผลิต
  • 6. สถาบันที่เปิ ดสอน รายชื่อ จังหวัด คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กรุงเทพมหานคร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม กรุงเทพมหานคร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จังหวัดปทุมธานี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย จังหวัดปทุมธานี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต จังหวัดปทุมธานี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จังหวัดนครปฐม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระ เกียรติ จังหวัดสมุทรปราการ รายชื่อ จังหวัด คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดนครนายก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม สานักวิชาเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จังหวัด นครศรีธรรมราช คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จังหวัดสงขลา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
  • 7. การศึกษา คณะเภสัชจะมี 2 หลักสูตรคือหลักสูตร 5 ปี กับ 6 ปี 1.หลักสูตร 5 ปี เมื่อเวลาที่จะขึ้นปี 5 จะต้องเลือกแล้วว่าสนใจทางด้านไหน สายผลิต หรือสายการ ดูแลผู้ป่วย หรือที่ภาษาอังกฤษ เรียกว่า “ Clinic ” 2.หลักสูตร 6 ปี หลักสูตรนี้มีแต่สาย การดูแลผู้ป่วยเท่านั้น และต้องศึกษาให้ดีๆเพราะบางมหาลัยมี แต่หลักสูตร 6 ปี เท่านั้น มหาลัยที่มีแต่หลักสูตร 6 ปี มีที่เดียว คือ มหาลัยนเรศวร กับ มหาสารคาม ส่วนมหาลัยที่มีแต่หลักสูตร 5 ปี ที่มหิดล
  • 8. วิชาที่เรียนในปี ต่างๆ ปี 1 General Chemistry Calculus – Statistics Principle Of Biology Principle Of Physical Principles Of Organic Chemistry I ปี 2 Genetics And Development (พันธุศาสตร์) Ordinary Differential Equation (สมการเชิงอนุพันธ) Organic Chemistry II Anatomy And Taxonomy Of Medicinal Plants (เกี่ยวกับสมุนไพร) Pharmacy Orientation (หน้าที่เภสัชในสายงานต่างๆ) Scientific English (ศัพท์ทางด้านเภสัชและแพทย์) Biochemistry (เคมีผสมชีวะ) Inorganic Pharmaceutical Chemistry (ศึกษาสารประกอบต่างๆ และวิธีสังเคราะห์สารต่างๆในยา) Human Anatomy And Physiology (เกี่ยวกับร่างกายมนุษย์) Pharmaceutical Botany (สมุนไพรที่ใช้ในโรคต่างๆ)
  • 9. ปี 3 Microbiology I (จุลชีวะและพวกสิ่งมีชีวิตเล็กๆ) Medicinal Chemistry I (โครงสร้างยาว่ามีผลต่อการรักษาอย่างไร) Pathophysiology (กระบวนการที่ทาให้เกิดโรค ต่างๆ) Pharmaceutical Analysis I (สอนการดูว่ายามีคุณภาพหรือไม่) Pharmaceutical Analysis II Pharmaceutical Technology I (สอนหลักเกี่ยวกับการทายา) Pharmaceutical Technology II Pharmacology I (สรรพคุณของยา) Public Health (ศึกษาระบบสาธารณสุขในประเทศ ไทย) ปี 4 Manufacturing Pharmacy I (การผลิตยาใน ระดับอุตสาหกรรม) Manufacturing Pharmacy II Medicinal Chemistry II Biopharmaceutics And Pharmacokinetics (การเลือกใช้ยาและดูผู้ป่วย) Pharmacology II (สรรพคุณของยา) Pharmaceutical Technology III Pharmaceutical Technology IV Pharmacy Administration (การบริหารงาน ทางเภสัชต่างๆ) Hospital Pharmacy I (งานด้านเภสัชใน โรงพยาบาล) Food And Nutrient (อาหารและสารอาหารต่างๆ) Clinical Pharmacy II (สอนหลักจ่ายยาและอธิบาย ให้คนไข้)
  • 10. ปี 5 Special Project Clinical Pharmacy II (โรค วิธีการรักษา บทบาทของเภสัชในการรักษา) Practice Clinical Pharmacy II (ศึกษาข้อมูลผู้ป่วยเพื่อจ่ายยา) Pharmacy Jurisprudence & Ethics (กฎหมายที่เภสัชต้องรู้) Clinical Pharmacology I (โรคและการวินิจฉัยโรคมาสอน โดยวิทยากรพิเศษ ควบคู่ไปกับการใช้ยารักษาโรค) Professional Practice III (ฝึกงาน 6 อาทิตย์) Hospital Pharmacy II (เกี่ยวกับงานในโรงบาล) Computor In Pharmacy (สอนงานคอมเพื่อมาปรถยุกต์ใช้ในงานด้านเภสัช) Health Economics For pharmacist (สอนการอ่านและตีความงานวินิจชัยโยวิธีต่างๆ) Drugs Control (เน้นฝึกปฏิบัติเอาความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์งานมาใช้) Cosmetic (กฎหมายเกี่ยวกับเครื่องสาอางค์ ส่วนประกอบและวิธีการทา) Formulation Of Natural Product (ค้นคว้าข้อมูลสมุนไพรจนถึงตั้งตารับเครื่องสาอางค์) Formulation Of Liquid Dosage Form (เกี่ยวกับยา เครื่องสาอางค์ที่เป็นของเหลว)
  • 11. 1.เภสัชกรอุตสาหกรรม เป็นการทางานในโรงงานผลิตยา แบ่งได้เป็น a).ฝ่ายผลิต มีหน้าที่ผลิตยาให้ถูกต้องตามหลักวิชาการ โดยใช้วัตถุดิบที่เหมาะสม และมีประสิทธิภาพดี b)ฝ่ายควบคุมคุณภาพ “ QC” มีหน้าที่ควบคุมการผลิตตั้งแต่ตัวยาที่ใช้ในกระบวนการบรรจุยา และการเก็บรักษายาไม่ให้เสื่อมสภาพอีกด้วย c)ฝ่ายวิจัยและพัฒนา “ R & D” มีหน้าที่วิจัย เพื่อพัฒนายาสาเร็จรูปใหม่ๆ ศึกษาถึงประโยชน์และ โทษของยาตัวใหม่ ปรับปรุงคุณภาพของยา ที่ผลิตอยู่แล้วให้ดียิ่งขึ้น d)ฝ่ายการตลาด แนวทางการทางาน 2.เภสัชกรการตลาด (ธุรกิจ )เป็นเภสัชกรที่ประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม โดยการนาเภสัช ภัณฑ์ไปเสนอกับแพทย์ ตามโรงพยาบาลหรือเภสัชกรชุมชนตามร้านยา การเสนอขายยาในแต่ละ ครั้ง เราจะต้องมีความรู้ในตัวยานั้นๆเป็นอย่างดี ทั้งยังต้องมีความรู้ในด้านการบริหารงานการตลาด การวางแผน การส่งเสริมการขาย การเงิน และการบัญชีด้วย (โดยรวมยิ่งรู้มากยิ่งได้เปรียบ ) คนที่จะทางานด้านนี้ต้อง “ พูดเก่ง” “ มนุษยสัมพันธ์ดี” “ซื่อสัตย์-จริงใจ”และที่สาคัญ “เอาใจเก่ง”
  • 12. 3.เภสัชกรชุมชน รู้จักกันดีในนาม “ เภสัชกรร้านยา” มีหน้าที่ให้บริการความรู้แก่ประชาชน ในด้านการใช้ยา จาหน่ายยาตามอาการผู้ป่วย สอบถามประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย เพื่อให้สามารถจ่ายยาได้อย่างเหมาะสม รวมถึงให้ คาแนะนาการใช้ยาแก่ผู้ป่วย เก็บประวัติคนไข้ และการแนะนาผู้ป่วยไปพบแพทย์ คนที่จะทางานด้านนี้ก็ต้องมีมนุษยสัมพันธ์ดี จริงใจ ใส่ใจในชีวิตของผู้ที่มาปรึกษา 4.เภสัชกรโรงพยาบาล เป็นงานที่ได้ใช้ความรู้ทางเภสัชอย่างเต็มที่ โดยงานในหน้าที่คร่าวๆมีดังนี้ a) บริหารยาและเวชภัณฑ์ในห้องยา b) รับผิดชอบการจัดยาตามใบสั่งแพทย์ ( ต้องมีความสามารถในการแกะลายมือ หมอ ) c) จัดยาส่งไปแต่ละ ward ทั้ง OPD และ IPD รวมถึงการเตรียมยาเอง ( ในบางโรงพยาบาล )
  • 13. 5.เภสัชกรคลินิค การประกอบวิชาชีพเภสัชกรรม โดยเน้นในการให้บริการข่าวสารและต้องมีความรู้ทางเภสัช วิทยา อย่างดีเยี่ยม มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าของวงการเภสัชกรรมและคอยตรวจเช็คการจ่าย ยาของแพทย์ ฉะนั้น ผู้ที่จะทางานด้านนี้จะต้อง up date ข้อมูลของตนอยู่เสมอ ใน โรงพยาบาล เภสัชกรจะต้องทางานด้านนี้ด้วย 6.เภสัชกรฝ่ายการศึกษา หรือก็ คือ อาจารย์ เป็นผู้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ให้แก่นักศึกษา ซึ่งในสาขาวิชาที่เรียน ของคณะเภสัชศาสตร์ สามารถแยกย่อยออกเป็นได้หลายแขนง ซึ่งผู้ที่จะทาหน้าที่นี้ควร มีความรู้ ความเชี่ยวชาญ และมีความสามารถในการถ่ายทอดวิชาเป็นอย่างดี 7.เภสัชกรฝ่ายบริหารงานรัฐ จะปฎิบัติงานในแต่ละหน่วยงานแตกต่างกัน ออกไป -กรมการแพทย์ เป็นเภสัชกรโรงพยาบาล -สานักงานปลัดกระทรวง เป็นเภสัชกรโรงพยาบาล ส่วนภูมิภาค หรือ เภสัชกรสานักงานสาธารณสุข จังหวัดซึ่งจะคุมร้านยา โรงพยาบาลเอกชน คลินิค แพทย์ -สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา ควบคุม การประกอบการพาณิชย์ ทางด้านยา อาหาร รวมถึงเครื่องสาอาง -อื่นๆ เช่น กระทรวงการคลัง กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพลังงาน สานักงานปรมาณูเพื่อสันติ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ทบวงมหาวิทยาลัย และรัฐวิสาหกิจ ต่างๆ
  • 14. รายชื่อกลุ่ม ชั้น ม.5/5 1 นายนวิน เก็บไว้ เลขที่ 5 2 นางสาวกนกนันท์ อินทรารักษ์ เลขที่ 11 3 นางสาวพรชนัน ตันโสรัจประเสริฐ เลขที่ 18 4 นางสาวอรณิช ศิลปรัสมี เลขที่ 19 5 นางสาวสิโรชา รอดบุญคง เลขที่ 21