SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
วิชาวิทยาศาสตรกายภาพชีวภาพ
โดย
ผูชวยศาสตราจารยพเยาว ยินดีสุข
เรื่องแสงอาทิตยและพลังงาน
พลังงานแสงอาทิตย เปนพลังงานตามธรรมชาติที่มีปริมาณมหาศาล และจัดเปนพลังงานที่สะอาดบริสุทธิ์
เพราะไมทําใหเกิดมลภาวะ เปนพลังงานที่นักวิทยาศาสตรใหความสนใจมากที่สุด เนื่องจากสามารถใชทดแทนพลังงาน
ปโตรเลียม และกาชธรรมชาติได
พลังงานที่โลกไดรับจากดวงอาทิตย พลังงานที่โลกไดรับจากดวงอาทิตยเฉลี่ยรายปเทากับ 1,353 วัตตตอ
ตารางเมตร ซึ่งคิดเปนปริมาณเพียง ของพลังงานทั้งหมดที่ดวงอาทิตยเปลงออกมา ผิวโลกบริเวณเสนศูนยสูตร
ไดรับแสงอาทิตยโดยตรงในแนวตั้งฉาก
การทดลองที่แสดงวาเราไดพลังงานจากแสงอาทิตย ใชแวนขยาย (เลนสนูน) รวมแสงอาทิตยใหตกลงหัวไมขีดไฟ
บริเวณที่เกิดการลุกไหม คือ จุดรวมแสงของเลนสนูน
ปรากฏการณเรือนกระจก (green house effect) เปนปรากฏการณที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นเรื่อย ๆ
เนื่องจากกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ที่เกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงเขาสูบรรยากาศมากขึ้นและกาซนี้จะกั้น
พลังงานความรอนไมใหออกไปนอกโลกได
อิทธิพลของแสงอาทิตยตอสิ่งแวดลอม
อิทธิพลของแสงอาทิตยตอสิ่งแวดลอมบนผิวโลกโดยตรง
วัฎจักรของน้ํา คือ การหมุนเวียนของน้ํา
น้ําคาง คือ หยดน้ําเล็ก ๆ ที่เกาะอยูตามยอดหญาในเวลาเชา น้ําคางเกิดขึ้นเนื่องจากไอน้ําในอากาศเหนือ
พื้นดินกระทบกับอากาศเย็นพื้นดินแลวกลั่นตัวเปนละอองน้ําและรวมตัวกันเปนหยดน้ํา
จุดน้ําคาง คือ อุณหภูมิระดับหนึ่งที่ไอน้ําในอากาศกลั่นตัวเปนหยดน้ํา
หมอก คือ ละอองน้ําเล็ก ๆ ที่จับตัวเปนกลุมลอยอยูเหนือพื้น ซึ่งเกิดจากไอน้ําในอากาศที่เกิดในเวลากลางวัน
กลั่นตัวเปนละอองน้ํา เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดต่ําลงในเวลากลางคืน หรือตอนเชามืดกอนพระอาทิตยขึ้น
ลม เกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ํา เชน
ลมบก ลมทะเล ลมพายุ
ลมบก เปนลมที่พัดจากชายฝงออกสูทะเลในเวลากลางคืน
การไหลเวียนของกระแสน้ํา การไหลเวียนของกระแสน้ําเกิดจากพื้นน้ําบริเวณเสนศูนยสูตรไดรับความรอน
จากดวงอาทิตยมากกวาบริเวณขั้วโลก จึงทําใหน้ําบริเวณเสนศูนยสูตรมีอุณหภูมิสูงกวา และขยายตัวไดมากกวา มีความ
หนาแนนนอยลงจึงลอยตัวสูงขึ้น น้ําบริเวณขั้วโลกที่มีอุณหภูมิต่ํากวามีความหนาแนนมากกวาไหลเขามาแทนที่
อิทธิพลของแสงอาทิตยตอสิ่งแวดลอมบนผิวโลกโดยทางออม แสงอาทิตยทําใหเปลือกโลกพังทลาย
เนื่องจากกระแสน้ํา และกระแสลม
ประโยชนของพลังงานแสงอาทิตย มนุษยนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชประโยชนในดานตาง ๆ ดังนี้
การใชพลังงานแสงอาทิตยในกลองอบแหง แสงอาทิตยที่ตกกระทบกลองอบแหงทําใหอากาศภายในกลองมี
อุณหภูมิสูงขึ้น เปนผลทําใหน้ําในผักหรือในผลไมระเหยไป ผักและผลไมในกลองอบแหงจะแหงซึ่งเก็บไวไดนาน
การใชพลังงานแสงอาทิตยกลั่นน้ําทะเลใหจืด ประเทศที่ตองกลั่นน้ําทะเลใหเปนน้ําจืด เพื่อใชในการบริโภค
และอุปโภค คือ ฮองกง และสหรัฐอเมริกาที่เมืองซานดิเอโก
วิธีการกลั่น ความรอนจากแสงอาทิตยทําใหน้ํารอนขึ้น และระเหยกลายเปนไอไปกระทบกระจก ซึ่งมีอุณหภูมิ
ต่ํากวาไอน้ํา ทําใหไอน้ํากลั่นตัวรวมเปนหยดน้ํา ไหลลงไปตามความลาดเอียงของผิวกระจกออกไปตามรางน้ําสูทอและ
ภาชนะที่รอบรับ
การใชพลังงานแสงอาทิตยทําเตาสุริยะ เตาสุริยะใชกระจกเงาหรือโลหะสะทอนแสงทําเปนรูปทรงพาราโบลา
รับแสงอาทิตยที่สะทอนมารวมกันที่จุด ๆ หนึ่ง เรียก จุกโฟกัส ซึ่งเปนจุดที่แสงมีความเขมมากที่สุด และใหพลังงาน
สูงสุดสามารถนํามาใชประโยชนตาง ๆ ได
ผลิตเกลือ - เกลือสมุทร เปนเกลือที่ไดจากน้ําทะเล มีธาตุไอโอดีน
เซลลสุริยะ เปนเครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานแสงเปนพลังงานไฟฟา
การสังเคราะหดวยแสงของพืช เปนการเปลี่ยนพลังงานแสง เปนพลังงานเคมีดังสมการ คารบอนไดออกไชด + น้ํา
กลูโคส + น้ํา + ออกซิเจน
ผลของแสงอาทิตยตอสิ่งตาง ๆ มีดังนี้
1. ทําใหซิลเวอรโบรไมดที่ฉาบบนฟลมถายรูปเปลี่ยนเปนสีน้ําตามดํา
2. วิตามินซีเสื่อสภาพ
3. ทําใหสารละลายสีเขียวที่ไดจากปฏิกิริยาเคมีระหวางสารละลายเฟอริตแอมโมเนียมซิเครดกับโพแทสเซียม
เฮกชาไชยาโนเฟอเรตเปลี่ยนเปนสีน้ําเงิน
4. ทําใหไขมันใตผิวหนังเปลี่ยนเปนวิตามินดีได
5. ทําใหเมลานิลที่อยูใตผิวหนังเพิ่มมากขึ้นทําใหผิวคล้ํา
6. ทําใหเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง
ปโตรเลียมน้ํามันดิบ เปนของเหลวที่มีสีดําคล้ํา ซึ่งเกิดจากการทับถมของอินทรียสาร ที่ถูกยอยสลายโดยแบคทีเรีย แลว
ทับถมอยูภายใตผิวโลกดวยอุณหภูมิ และความกดดันสูง เปนเวลานานนับลาน ๆ ป
น้ํามันปโตรเลียม หรือน้ํามันดิบยังใชประโยชนไมได เพราะมีสารประกอบไฮโดรคารบอนหลายชนิดซึ่งมีสมบัตร
แตกตางกันผสมอยู การแยกสารประกอบไฮโดรคารบอนออกจากกันตองใช ขบวนการกลั่นลําดับสวน โดยใชหลัก
สารประกอบมีจุดเดือดตางกัน ซึ่งพบวา สารที่มีจุดเดือดต่ํา จะถูกแยกออกมากอน และอยูสวนบนของหอกลั่น
ชื่อสวนตาง ๆ
จุดเดือด
0
C
สถานะ
จํานวนอะตอมของ
คารบอนในโมเลกุล
ประโยชน
กาซปโตรเลียม ต่ํากลา 40 กาซ C1 – C4 ใชเปนเชื้อเพลิงตามบาน
น้ํามันเบนซิน 40 - 180 ของเหลว C5 – C10 ใชเปนเชื้อเพลิงรถยนต
น้ํามันกาด 180 - 230 ของเหลว C11 – C12 ใชเปนเชื้อเพลิงเครื่องบิน
และใชจุดตะเกียง
น้ํามันดีเซล 230 - 305 ของเหลว C13 – C14 ใชเปนเชื้อเพลิงเครื่องยนตดีเซล
น้ํามันเตา 230 - 305 ของเหลว C15 – C17 ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงไฟฟา และ
โรงงานอุตสาหกรรม
น้ํามันหลอลื่น 305 - 405 ของเหลว C18 – C25 ใชทําน้ํามันหลอลื่น
พาราฟน 405 - 515 ครึ่งแข็ง C26 – C38 ใชทําขี้ผึ้งพาราฟน และขี้ผึ้งวาสลิน
ยางมะตอย สูงกวา 515 ของแข็ง มากกวา C2a ใชราดถนน
การกําหนดคุณภาพของน้ํามันเบนซิน อาศัยหลักประสิทธิภาพในการทํางานของน้ํามันในเครื่องยนต
เชน น้ํามันที่มีสมบัติเหมือนไอโซออกเทนบริสุทธิ์ เรียกวา มีออกเทนนัมเบอรเปน 100
น้ํามันที่มีสมบัติเหมือนเฮปเทนบริสุทธิ์ เรียกวา มีออกเทนนัมเบอรเปน 0
และ น้ํามันที่มีไอโซออกเทนเปน 97% เฮปเทน 3 % เรียกวา ออกเทนนัมเบอร 97
เชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ
- กาซธรรมชาติเหลว ประกอบดวย 2 สวนคือ สวนที่เปนไฮโดรคารบอนและสวนที่ไมใชไฮโดรคารบอน
- กาซปโตรเลียมเหลว (กาซหุงตม) ไดแก โพรเพน และบิวเทน
- ถานหิน มีลิกไนต ซันบิทูมินัส บิทูมินัส และแอนทราไซต
- ถานโคก ไดจากการกลั่นสลายผลิตไนต ไดสารคอนขางบริสุทธิ์ ไมคอยมีควัน
- ถานไม ไดจากการเผาไหมในที่ซึ่งไมใหอากาศเขา
- เมธิลแอลกฮอล (เมธานอล) ไดจากการกลั่นสลายไม
- เอธิลแอลกอฮอล (เอธานอล) ไดจากการหมักสารพวกคารโบไฮเดรต ดังสมการ
- น้ําตาล เอทิลแอลกอฮอล + คารบอนไดออกไซด
พลังงานนิวเคลียร เปนพลังงานที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ
ธาตุ คือ สารที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกัน
อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุที่สามารถเขาทําปฏิกิริยาเคมี โดยไมแตกสลายเปนอนุภาคอื่น
สรางอะตอม ประกอบดวย
- โปรตอน (P)มีมวล 1.007 U เปนประจุ +
- นิวตรอน (N) มีมวล 1.008 u เปนกลาง
- อิเล็กตรอน (e)มีมวล 0.0005 u เปนประจุ - เล็กมากที่สุด
- เลขมวล (A) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอนและนิวตรอน
- เลขอะตอม (Z) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอน
- ไอโซโทป หมายถึง ธาตุชนิดเดียวกัน มีจํานวนโปรตอนเทากัน แตมีจํานวนนิวตรอนตางกัน
หรือ ธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน แตมีเลขมวลตางกัน
234 = เลขมวล = จํานวนโปรตอนกับนิวตรอน = A
H
92 = เลขอะตอม = จํานวนโปรตอน = Z
ธาตุที่เปนกลาง
จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอน
สารกัมมันตรังสี หมายถึง ธาตุที่สามารถปลอยรังสีออกมา เนื่องจากธาตุนั้นไมอยูตัว จึงมีการเปลี่ยนแปลงภายใน
นิวเคลียสเพื่อใหธาตุอยูตัว เชน ยูเรเนียม เรเดียม ทอเรียม
ชนิดของรังสี
ชนิดของรังสี สัญลักษณ ประจุ ชนิดของอนุภาค วัสดุที่กั้นรังสีได
แอลฟา α บวก นิวเคลียสของซีเลียม กระดาษหนา 0.02 mm
บีทา β ลบ อิเลคตรอน ไมหนา 0.5 cm
แกมมา γ ไมมีประจุ คลื่นแมเหล็กไฟฟา คอนกรีตหนา ตะกั่วหนา
10 cm
การตรวจสอบรังสี ใชเครื่องมือ ตอไปนี้
1. ไกเกอรเคารเตอร บรรจุกาซ ภายใตความกดดันต่ํา กาซจะนําไฟฟาไดดี วงจรไฟฟาในเครื่องมือบอกวาแสง
ผานมากหรือนอย
2. แผนฟลม ภายในบรรจุฟลม ซึ่งจะมีรอยดําขาวปรากฏอยูเมื่อโตนรังสี
3. โดซิมิเตอร เปนเครื่องตรวจรังสีที่มีขนาดเล็กที่สุดคลายปากกา กอนใชตองประจุไฟฟาใหเต็มกอน เมื่อถูก
รังสี ประจุไฟฟาจะคอย ๆ หมดไป
ครึ่งชีวิต หมายถึง ระยะเวลาในการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี จนลดเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิมสารกัมมันตรังสี
ชนิดเดียวกันจะมีครึ่งชีวิตเทากันเสมอ
ปฏิกิริยานิวเคลียร เปนปฏิกิริยาที่เกิดบริเวณนิวเคลียสของอะตอม
ชนิดของปฏิกิริยา
1. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชั่น (Fission) เกิดจากการยิงนิวตรอนเขาไปในนิวเคลียสของธาตุหนัก หรือเปน
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการแตกตัวของอะตอมภายในนิวเคลียสของธาตุขนาดใหญกลายเปนธาตุขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก
แลวสลายใหพลังงานมากมายมหาศาล เชน ปฏิกิริยาลูกโซที่เกิดบนโลก โดย ยูเรเนียม 1 กรัมใหพลังงาน 8 x 109
จูล
เครื่องปฏิกรณปรมาณู เครื่องที่ใชผลิตพลังงานนิวเคลียร และสามารถควบคุมการเกิดปฏิกิริยาลูกโซไดโดยใช
U- 235 เปนเชื้อเพลิง กราไฟตลดความเร็วของนิวตรอน แคดเมียมควบคุมการปฏิกิริยาโดยดูดนิวตรอนไว
2. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชั่น (Fusion) เปนปฏิกิริยาที่เกิดจากนิวเคลียสของธาตุเบา หลอมตัวกันไดนิวเคลียส
ของธาตุหนัก หรือเปนปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุขนาดกลาง และขนาดเล็กกลายเปนธาตุขนาด
ใหญแลวใหพลังงานมากมายมหาศาล เชน ปฏิกิริยาที่เกิดบนดวงอาทิตย ซึ่งไดจาการรวมตัวของนิวเคลียสของไฮโดรเจน
สี่ตัวกลายเปนนิวเคลียสของฮีเลียมหนึ่งตัว โดยที่ไฮโดรเจน 1 กรัม ใหพลังงาน 6.48 x 1011
จูล (Joule)
พลังงานที่ไดจากแหลงพลังงานธรรมชาติ มีพลังงานจากลม พลังงานจากน้ํา พลังงานความรอนใตพิภพ
พลังงานกาซชีวภาพและพลังงานจากแสงอาทิตยซึ่งเก็บสะสมไวบนโลกมนุษยในรูปของพลังงานเคมีในอาหารและ
เชื้อเพลิง
โลกแหงแสงสี
ดวงอาทิตย เปนแหลงกําเนิดแสงจากธรรมชาติที่สําคัญที่สุด
แสงอาทิตย มองดวยตาเปลาเรียกวา แสงขาว
การกระจายแสง คือ การที่แสงขาวผานปริซึมแลว แยกออกเปนแสงสีตาง ๆ ที่ตอเนื่องกัน
แสงอาทิตยผานปริซึม 1 อัน จะแยกเปนแสงสี 7 สีตอเนื่องกันคือ มวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง
แสงอาทิตยผานปริซึม 2 อันที่วางกลับหัวกันจะได แสงขาวเหมือนเดิม
ตัวกลางมี 3 ชนิด
1. ตัวกลางโปรงใส ยอมใหแสงผานมากที่สุด เชน เลนส ปริซึม กระจกใส
2. ตัวกลางโปรงแสง ยอมใหแสงผานเล็กนอย เชน กระจกฝา พลาสติกขุน
3. ตัวกลางทึบแสง ไมยอมใหแสงผานไปไดเลย เชน ไม เหล็ก
การเขียนทางเดินของแสงผานวัตถุโปรงใสที่มีความหนาแนนไมเทากัน
1. เมื่อแสงผานจากตัวกลาง หนาแนนนอย ไปยังตัวกลาง หนาแนนมาก ลําแสงจะหักเห เขาหาเสนปกติ
2. เมื่อแสงผานจากตัวกลาง หนาแนนมาก ไปยังตัวกลาง หนาแนนนอย ลําแสงจะเบนออกจากเสนปกติ
3. เมื่อแสงผานตัวกลางโปรงใส โดยลําแสงตั้งฉากกับตัวกลางจะไมเกิดการหักเหของแสงโดยแสงจะทะลุผาน
ไปเลย
มุมวิกฤต หมายถึง มุมตกกระทบที่ทําใหมุมหักเหกาง 900
หรือมุมตกกระทบที่ทําใหลําแสงหักเหทาบผิว
รอยตอของตัวกลางพอดีลําแสงจะตองผานตัวกลางหนาแนนมาก ไปยังตัวกลางหนาแนนนอยกวาเทานั้น
การสะทอนกลับหมด หมายถึง การที่แสงสะทอนกลับภายในตัวกลางเดินทั้งหมดไมผานไปยังตัวกลางที่สอง
เนื่องจากแสงผานจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวาไปยังตัวกลางที่มีความหนาแนนนอยวาโดยทํามุมตกกระทบโต
กวามุมวิกฤต
ดัชนีหักเหของแสง หมายถึง สมบัติเฉพาะตัวอยางหนึ่งของสารที่ทําใหลําแสงเกิดการหักเหเมื่อลําแสงผาน
ตัวกลางที่มีคาดัชนีหักเหตางกัน
สารที่มีความหนาแนนมากจะมีคาดัชนีหักเหมาก สารที่มีคาความหนาแนนนอย จะมีคาดัชนีหักเหนอย
ปรากฏการณทางธรรมชาติของแสง เกิดจากการหักเห, การสะทอนกลับและการสะทอนกลับหมดของแสง
รุง เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นบนทองฟาดานตรงขามกับดวงอาทิตยหลังฝนตกใหม ๆ ซึ่งมีสีเหมือนสีใน
สเปกตรัมของแสงอาทิตย
รุง มี 2 ชนิด คือ
1. รุงตัวลาง (รุงปฐมภูมิ)
- ลําแสงเขาทางดานบนของหยดน้ํา
- ลําแสงหักเห 2 ครั้ง
- สะทอนกลับหยด 1 ครั้ง
2. รุงตัวบน (รุงทุติยภูมิ)
- ลําแสงเขาทางดานลางของหยดน้ํา
- ลําแสงหักเห 2 ครั้ง
- สะทอนกลับหมด 2 ครั้ง
พระอาทิตยทรงกลดหรือดวงจันทรทรงกลด เกิดขึ้นเนื่องจากบริเวณที่เย็นจัดภายในเมฆมีผลึกน้ําแข็งเรียงตัว
ตามแนวเสนโคงของวงกลมรอบ ๆ ดวงอาทิตยหรือดวงจันทร เมื่อแสงขาวตกกระทบผลึกน้ําแข็งจะเกิดการหักเหภายใน
ผลึกเกิดการสะทอนกลับหมด และหักเหออกสูบรรยากาศภายนอกทํามุมพอเหมาะกับนัยนตา จึงเห็นเปนวงแหวนแถบ
แสงสีตาง ๆ หรือเห็นเปนสีขาวรอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทร
การกระเจิง เปนปรากฏการณที่แสงสองมากระทบกับอนุภาคขนาดเล็กในบรรยากาศแลวเกิดการกระจายแสง
ออกมาจากอนุภาคนั้นโดยรอบ แสงที่มีความยาวคลื่นสั้นกระเจิงไดดีกวาแสงที่มีความยาวคลื่นยาว
ภาพลวงตา (มิราจ) เกิดในชวงเวลาที่ผิวถนนไดรับความรอนจากดวงอาทิตยมากที่สุดความรอนจากดวง
อาทิตยจะถายเทใหอากาศบริเวณที่อยูใกลผิวถนน เมื่ออากาศไดรับความรอนจะขยายตัวลอยสูงขึ้น ทําใหอากาศใกลผิว
ถนนบางลง และมีดัชนีหักเหนอยกวาอากาศที่อยูเหนือขึ้นไป ลําแสงตกกระทบชั้นอากาศดวยมุมที่โตกวามุมวิกฤตจึง
สะทอนหลับหมด ทําใหเห็นอากาศลอยเปนชั้น ๆ เหนือถนนคลายน้ําหรือน้ํามันนองพื้น
ปรากฏการณแสงโพลาไรซ หมายถึง ปรากฏการณที่เห็นแสงสะทอนระยิบระยับ
โพลารอยด เปนแผนกรองแสงที่มีลักษณะพิเศษชนิดหนึ่งที่ผลิตจากการผสมพลาสติกเหลวกับสารเคมีไอโอโด
ควินินซัลเฟต โดยทําใหสารนี้เรียงตัวเปนแถวขนานไปในทิศทางเดียว ชองวางระหวางโมเลกุลจึงมีทิศทางเดียว แสงจึง
ทะลุผานไดทิศทางเดียว
แสงโพลาไรซ คือแสงที่ทะลุผานแผนโพลารอยดไดเพียงทิศทางเดียว ทําใหความเขมของแสงเหลือประมาณ
ครึ่งหนึ่งของความเขมเดิม
ทัศนูปกรณ ไดแก แวนขยาย กลองโทรทัศน เครื่องฉายภาพหนึ่งขามศีรษะ และเครื่องฉายภาพยนตร
ภาพ คือ สิ่งที่ปรากฏแกสายตาเรา เนื่องจากแสงจากวัตถุสะทอนเขาสูเราทําใหเห็นภาพปรากฏขึ้น
ภาพจริง คือภาพที่เกิดจากรังสีของแสงตัดกันจริง เอาฉากมารับได
ภาพเสมือน คือ ภาพที่เกิดจากรังสีของแสงเสมือนตัดกัน เอาฉากมารับไมได
ภาพที่เกิดจากเลนสนูน
1. ภาพจริง - เปนจุด
- ขนาดเล็กกวาวัตถุ
- ขนาดเทาวัตถุ
- ขนาดใหญกวาวัตถุ
2. ภาพเสมือน - ขนาดใหญกวาวัตถุเทานั้น
ภาพที่เกิดจากเลนสเวา
เกิดภาพเสมือนขนาดเล็กกวาวัตถุเทานั้น
กลองถายรูป ใชเลนสนูน ทําใหเกิดภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกวาวัตถุบนฟลมสวนสําคัญของกลองถายรูป มี
ดังนี้
- เลนสหนากลอง เปนเลนสนูนรวมแสงจากวัตถุไปปรากฏชัดบนฉาก
- ตัวกลอง ทําหนาที่ปองกันแสงจากภายนอกเขาไปโดนฟลม
- ไดอะแฟรม ทําหนาที่ควบคุมปริมาณแสงที่ตกบนที่ฟลม
- ชัตเตอร ทําหนาที่ปดเปดหนากลอง ควบคุมเวลาที่แสงจากบนฟลม
- ฟลม ทําหนาที่เปนฉากสําหรับบันทึกภาพ
- แฟลช ทําหนาที่ชวยเพิ่มแสงสวางใหเหมาะสม แฟลชมี 2 ชนิด แฟลชหลอด และแฟลชอิเล็กทรอนิกส
กลองถายรูปอยางงาย ประกอบดวย
- กลองทึบแสง - ปองกันแสงจากภายนอกไมเขาไปรบกวนภาพบนฉาก
- เลนสนูน – ทําหนาที่รวมแสงใหภาพของวัตถุไปปรากฏบนฟลมพอดี
- ฟลม – เปนกระดาษแอมโมเนีย ทําหนาที่เปนฟลม และกระดาษอัดภาพ
การผสมแสง คือ การนําเอาแสงที่มีสีไปรวมบนฉากสีขาวจะไดแสงสีใหม
แสงสีปฐมภูมิ คือ แสงสีที่ไมไดเกิดจากการผสม ไดแก สีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน
แสงสีทุติยภูมิ คือ แสงสีที่ไดจากการนําแสงสีปฐมมิมาผสมกันบนฉากสีขาว
แสงสีเดิมเต็ม คือ คูของแสงสีที่ผสมกันแลวไดสีขาว
นัยนตาและการเห็นภาพ สวนประกอบของนัยนตามีดังนี้
- สเคลอรา เยื่อชั้นนอกมีคอรเนีย
- คอรอยด เยื่อชั้นกลางมีเลือดและรงวัตถุ มีมานตาและพิวพิล
- เรตินา เยื่อชั้นในสุด มีเซลลรูปแทงและรูปกรวย
- โฟเวีย อยูบริเวณเรตินา รับภาพไดชัดเจนที่สุด
- จุดบอด รับภาพไมไดเลย เพราะไมมีเซลลรับแสง
- กระจกตา รับและใหแสงผานเขาสูภายใน
- มานตา ควบคุมปริมาณแสงใหพอเหมาะที่จะผานไปสูเลนสตา
- พิวพิล เปนชองใหแสงผานไปสูเลนสตา
- เลนส เปนเลนสนูนยึดหยุนได ทําหนาที่โฟกัสภาพ
การบอดสี คือการเห็นสีที่ผิดไปจากความจริง เนื่องจากเซลลรูปกรวยทํางานผิดปกติ
การเห็นภาพติดตา หมายถึง ความรูสึกในการเห็นภาพลางอยูในสมองไดชั่วขณะทั้ง ๆ ที่ไมมีภาพของวัตถุนั้น
อยูบนจอตาแลว
คนสายตาสั้น คือคนที่มองวัตถุไดชัดเจนในระยะใกลกวา 25 cm เกิดเนื่องจากกระบอกตายาวเกินไป หรือ
เลนสตาปองเกินไป
คนสายตายาว คือ คนที่มองวัตถุไดชัดเจนในระยะไกลกวา 25 cm เกิดเนื่องจากกระบอกตาสั้นเกินไป หรือ
เลนสตาแฟนเกินไป
สายตาเลียง เกิดจากความโคงของกระจกตาหรือเลนสไมเปนผิวของทรงกลม ทําใหมองเห็นวัตถุชัดเพียงแนว
เดียว
สีสรรพ
สี หมายถึง ความรูสึกในการมองเห็น เพราะคลื่นแสงในแถบสีมากระตุนประสาทนัยนตา
การมองเห็นสีของวัตถุเกิดขึ้นเนื่องจากแสงตกระทบวัตถุทึบแสง และสะทอนมาเขานัยนตา หรือแสงทะลุผาน
วัตถุโปรงใสหรือวัตถุโปรงแสงแลวมาเขาตา
สีของวัตถุ
1. วัตถุทึบแสง - วัตถุสีขาว สะทอนแสงทุกสีมาเวาตา
- วัตถุสีดํา ดูดกลั่นทุกแสงสี
- วัตถุสีตาง ๆ วัตถุใดก็ตามจะสะทอนสีนั้น ดูดกลืนสีอื่น
2. วัตถุโปรงใสและวัตถุโปรงแสง ยอมใหแสงสีเหมือนวัตถุผานมากที่สุด
การผสมตัวสี คือ การนําตัวสีตางสีมาผสมกันจะไดสีใหม ซึ่งแตกตางจากสีเดิม หรือเปนการลดปริมาณแสงสี
จะไดสีใหมที่เขมกวาเดิม
ตัวสีปฐมภูมิ คือ สีที่ไมไดเกิดจากการผสม เชน แดงมวง เหลือง น้ําเงินเขียว
ตัวสีทุติยภูมิ คือ สีที่ไดจาการนําตัวสีปฐมภูมิผสมกัน เชน
แดงมวง + เหลือง แดง
แดงมวง + น้ําเงินเขียว น้ําเงิน
เหลือง + น้ําเงินเขียว เขียว
ตัวสีเดิมเต็ม คือ คูที่ผสมกันแลวไดสีดํา เชน
แดงมวง + เขียว ดํา
เหลือง + น้ําเงิน ดํา
แดง + น้ําเงินเขียว ดํา
แดงมวง + เหลือง + น้ําเงินเขียว ดํา
การมองเห็นสีของวัตถุ การเห็นสีผสมของตัวสีในวัตถุได เนื่องจากนัยนตาเรามีเซลลรับแสงที่ไวตอแสงสี 3 สี
คือ ไวตอสีแดง ไวตอสีเขียว และไวตอสีน้ําเงิน
ฟลมสี คือ ฟลมที่ใชบันทึกภาพสี มี 2 ชนิดคือ
1. ฟลมสีชนิดเนกาทีฟ คือ ฟลมที่บันทึกภาพแนะนําไปผานกระบวนการลางฟลมแลว จะมีลักษณะโปรงใสสี
ตาง ๆ ที่เปนสีเติมเต็มกับสีของวัตถุ
2. ฟลมสีชนิดโพสิทีฟ คือ ฟลมที่บันทึกภาพ และนําไปผานกระบวนการลางแลวจะมีลักษณะโปรงใสสีตาง ๆ
ที่เปนเดียวกับสีวัตถุ
ความไวแสงของฟลม ขึ้นกับลักษณะและผลึกเกลือเงิน ผลึกเล็ก – ไวแสงสูง ถายในที่มีแสงมาก ภาพคมชัด
มากกวา ผลึกใหญ – ไวแสงต่ํา ถายในที่มีแสงนอย ภาพคมชัดนอยกวา
การถายภาพเคลื่อนไหวเร็ว ใชฟลมไวแสงสูง ถายภาพเคลื่อนไหวชา ใชฟลมที่มีคาความไวแสงต่ํา
สีสังเคราะห เปนสีที่ไดจากฏิติริยาเคมีระหวางสารเคมีบางชนิด ตัวอยาง เชน
โพแทสเซียมไอโอโดด + เลกไนเตรด เหลือง
คอปเปอร (II) ซัลเฟต + ไฮโดรเจนซัลไฟด ดํา
แยกสีโดยวิธีโครมาโตกราฟฟ คือ การแยกตัวสีที่เปนองคประกอบของสีโดยอาศัยสมบัติการละลายและการ
ดูดซึมของสาร
สีเคลือบผิว เคลือบเพื่อ
1) ใหเกิดความสวยงาม 2) ปองกันพื้นผิววัตถุ
3) เปนเครื่องหมายหรือสัญลักษณตาง ๆ 4) ใชงานดานศิลปะ
สวนประกอบของสีเคลือบผิว
1. ผงสี เปนสวนประกอบที่ทําใหเกิดสี ไมละลายในตัวยึดเกาะและตัวทําละลายสมบัติพิเศษ คือ ทําหนาที่
ดานทานการผุกรอน ชวยใหแทนไฟและทําใหเกิดเงา
2. ตัวยึดเกาะ จะเกาะแนนกับพื้นผิวโดยยึดผงสีไวในตัวยึดเกาะ
สมบัติที่สําคัญ คือ ทําใหเกิดเงา ความแข็ง ทนตอสิ่งแวดลอม
3. ตัวทําละลาย เปนของเหลวที่ใสในสีเพื่อผสมผงสีกับตัวยึดเกาะ
4. สารเติมเต็ม ใสในสี เพื่อใหผิวเรียบ ไมเกิดฟอง ปองกันเชื้อรา ทึบแสง
ชนิดของสีเคลือบผิว แบงโดยใชตัวทําละลายเปนเกณฑ แบงไดเปน สีน้ํา ใชน้ําเปนตัวทําละลาย สีน้ําที่ใช
ทาอาคารบานเรือน เรียก สีพลาสติก สีน้ํามัน ใชน้ํามันเปนตัวทําละลาย นิยมใชเอทานอล, ทินเนอร , น้ํามันสน
โรคที่เกิดจากสีทา โรคพิษสารตะกั่ว ระดับความเปนพิษของตะกั่วในผูใหญประมาณ 80 ไมโครกรัมในเลือด
100 cc ในเด็ก 40 ไมโครกรัมตอเลือด 100 cc
อาการ เวียนศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน รางกายออนเพลีย เหนื่อยงาย
กรรมวิธีในการยอมผา
1. การยอมโดนตรง ทําไดโดยจุมผาลงในสารละลายสี ขณะยอมนิยมใสโซเดียมคลอไรด หรือโซเดียมซัลเฟต
ลงไปเพื่อใหสียอมติดเสนใยดีสม่ําเสมอทนนาน
2. การยอมโดยใชสารมอรแดนท ทําไดโดยนําผาไปตนกับสารมอรแดนท เกิดตะกอนแทรกซึมไปจับเสนใย
ผา เมื่อนําไปยอม สียอมจะจับติดกับมอรแดนทไดดี
สิ่งที่ควรกระทํากรอนการยอมผา
1. ทําใหผาสะอาด ปราศจากไขมันและสิ่งสกปรกอื่น ๆ โดยนําไปตมกับโซเดียมคารบอเนต
2. ทําใหผาขาว โดยนําไปแชในสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด
ไฟฟาและเครื่องอํานวยความสะดวก
เซลลไฟฟาเคมี
ชนิดของเซลล ขั้วไฟฟา (electrode)
สารละลายนําไฟฟา
(electrolyte)
1. เซลลชนิดประจุใหม ขั้วบวก - กราไฟต แอมโมเนียมคลอไรดเปยก
ไมได ขั้วลบ - กลองสังกะสี
(ถานไฟฉาย)
2. เซลลชนิดประจุใหมได ขั้วบวก – นิกเกิลออกไซด โพแทสเซียมไฮดรอกไซด
ขั้วลบ - แคดเมียม
3. เซลลเชื้อเพลิง ขั้วบวก – คารบอน โพแทสเซี่ยมไฮดรอกไซด
ขั้วลบ - คารบอน
เซลลสุริยะ
เซลลสุริยะ ประกอบดวย แผนสารกึ่งตัวนํา 2 ชั้น คือ
ชั้นบน เปนซิลิกอน เจือดวยฟอสฟอรัส
ชั้นลาง เปนซิลิกอนเจือดวยบอรอน
กระแสไฟฟาที่ไดรับจากเซลลสุริยะ แปรผันโดยตรงกับความเขมของแสงที่ตกกระทบ
กระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา เกิดจาก
1. แมเหล็กเคลื่อนที่เขาหรือออกจากขดลวด
2. ขดลวดเคลื่อนที่เขาหรือออกจากแทงแมเหล็ก
3. ขดลวดหมุนตัดเสนแรงแมเหล็ก
กระแสไฟฟาเหนี่ยวนําจะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับ
1. ความแรงของแมเหล็ก
2. จํานวนรอบของขดลวด
3. ความเร็วในการเคลื่อนที่
การผลิตพลังงานไฟฟาสําหรับชุมชน
1. โรงไฟฟาพลังน้ํา
ศักย จลน กล ไฟฟา
2. โรงไฟฟาพลังงานรอน
เชื้อเพลิง ความรอน น้ํา ไอน้ํา แรงดัน กังหันไดนาโมไฟฟา
3. โรงไฟฟากังหันกาซ
กาซรอน ความดันสูง กังหันไดนาโม ไฟฟา
4. โรงไฟฟาพลังความรอนรวม
กาซเสีย น้ํา ไอน้ํา แรงดัน กังหันไดนาโมไฟฟา
5. โรงไฟฟาดีเซล
เชื้อเพลิง + อากาศ ระเบิด ลูกสูบเคลื่อนที่ กังหันไดนาโม ไฟฟา
6. โรงไฟฟานิวเคลียร
ปฏิกิริยานิวเคลียร ความรอน น้ํา ไอน้ํา กังหันใดนาโม ไฟฟา
การสงพลังงานไฟฟา
โรงไฟฟา หมอแปลงขึ้น สายสงไฟฟาแรงสูง
หมอแปลงลง
หมอแปลงลง
ผูใชไฟ สายสงแรงต่ํา หมอแปลงลง
หมอแปลง - ใชเฉพาะกระแสสลับเทานั้น
- สงผานพลังงานไฟฟาจากวงจรหนึ่งไปยังอีกวงจรหนึ่งไดอยางมีประสิทธิภาพ
- สามารถเพิ่มหรือลดความตางศักยได
หมอแปลงขึ้น
หมอแปลง
หมอแปลงลง
อุปกรณในวงจรไฟ
1. สะพานไฟ
2. ฟวส - เปนอุปกรณไฟฟาที่ชวยใหเกิดความปลอดภัยแตทรัพยสน
- ทําดวยโลหะผสมที่มีจุดหลอมเหลวต่ํา
3. สวิตซ
4. เตาเสียบและเตารับ
เครื่องไฟฟา เปนเครื่องมือที่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟาเปนพลังงานรูปอื่น
เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานแสงสวาง
- หลอดไฟธรรมดา ไสหลอดทําดวยทังสเตน
ภายในบรรจุกาซเฉื่อย
- หลอดวาวแสง ภายในบรรจุไอปรอท ผิวดานในฉาบดวยสารวาวแสง ที่ขั้วทั้งสอง
มีไสหลอด
อุปกรณในวงจรหลอดวาวแสง มีสตารเตอรและบัลลาสต
การทํางานของสตารตเตอร เมื่อเปดสวิตซ กระแสไฟฟาจะไหลจากแผนโลหะคู ผานกาซอารกอนไปยังโลหะ
ตัวนําที่ปลายอีกขางหนึ่ง ขณะที่กระแสไฟฟาผานกาซอารกอนจะมีประกายไฟเกิดขึ้น ทําใหโลหะคูรอน และโคงงอมาแตะ
กับอีกขั้วหนึ่งไดกระแสผานขั้ว โดยไมตองผานกาซอารกอนความรอนบนโลหะคูลดลงจนขั้วทั้งสองแยกออกจากกัน
แบลลัสต ทําหนาที่เพิ่มความตางศักย เพื่อใหหลอดเรืองแสงติดในตอนแรก และทําหนาที่ควบคุมกระแสไฟฟา
ในหลอดใหมีปริมาณพอดี โดยการเหนี่ยวนํากระแสไฟฟามาตานหรือเสริม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟาที่ผาน
ระหวางขั้วทั้งสองของหลอด
เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานความรอน
เครื่องไฟฟานี้ตองใชลวดตานทานที่มีสมบัติเฉพาะ คือ ใหความรอนมาก เร็ว และมีจุดหลอมเหลวสูง
ความรอนที่เกิดจะมากหรือนอยขั้นกับ - ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหล
- ความตานทาน
- เวลาที่ผานไป
รังสีที่เรามองไมเห็น
ดวงอาทิตย เปนแหลงกําเนิดรังสีตามธรรมชาติหลายชนิด ทั้งที่มองเห็นและมองไมเห็น
รังสีที่มองเห็น หมายถึงรังสีจากดวงอาทิตยที่ประสาทตารับรูไดหรือแสงขาวที่ประกอบดวย แสงสี 7 สี
ไดแก สีมวง สีคราม สีน้ําเงิน สีเขียว สีเหลือง สีแสด และสีแดง แสงสีเหลานี้มีความยาวคลื่นอยูในชวง
4 x 10-7
- 7 x 10-7
เมตร ตามลําดับ
รังสีที่มองไมเห็น หมายถึง รังสีจากดวงอาทิตยที่ประสาทตารับรูไมได ไดแก รังสีอัลตราไวโอเล็ต
รังสีเอกซ รังสีแกมมา รังสีอินฟราเรด และคลื่นวิทยุ รังสีเหลานี้มีความถี่มากหรือนอยกวาแสงขาว
ความถี่ของคลื่น (frequency) คือจํานวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผานจุดๆ หนึ่งไปในเวลา 1 วินาที
หนวยความถี่ของคลื่น คือ รอบตอวินาที หรือ เฮิรตซ
ความเร็วของคลื่น = ความถี่ของคลื่น x ความยาวของคลื่น
V = ƒλ
รังสีอัลตราไวโอเล็ต เกิดจาก - ดวงอาทิตย
- มนุษยประดิษฐขึ้นในหลอดเรืองแสงและหลอดรังสีอัลตราไวโอเล็ต
คุณสมบัติของรังสีอัลตราไวโอเล็ต
1. ทําใหสารวาวแสงเกิดการเรืองแสงขึ้น
2. ทําใหสารเคมีบางชนิดเกิดการเปลี่ยนแปลงไป
3. สามารถทุลุผานสิ่งกีดขวางบางชนิดได
ประโยชนของรังสีอัลตราไวโอเล็ต
1. ใชในการพิสูจนเอกสาร ตรวจสอบลายเซ็น
2. ชวยใหรางกายสังเคราะหวิตามินดี
3. ใชฆาเชื้อโรคในทางการแพทย
4. ใชตรวจสอบคุณภาพอาหาร
รังสีเอกซ - ดวงอาทิตย
- โทรทัศน
- หลอดรังสีเอกซ
เมื่อเผาไสหลอดซึ่งเปนขั้วลบจนรอนแดง electron จะหลุดจากไสหลอดและวิ่งไปชนขั้วบวกซึ่งทําดวย
ทังสเตน เมื่อ electron ที่มีพลังงานสูงมาก มาชนกับโลหะทังสเตน ทําใหเกิดรังสี x
สารที่สามารถกั้นรังสี x ได ทอง ตะกั่ว เงิน ทองแดง อะลูมิเนียม น้ํา
ประโยชนของรังสี x - ชวยวินิจฉัยโรค :- มะเร็ง, เนื้องอก, กระดูกหัก, วัณโรค,
กระเพาะอาหารเปนแผล, ความผิดปกติของรากฟน
- ใชตรวจหายราว รอยรั่วหรือรูโพรงในแผนโลหะ
โทษของรังสี x - ทําใหเกิดโรคมะเร็ง เพราะขณะที่รังสี x ผานรางกาย จะถายเทพลังงาน
ใหกับเซลล ตลอดทางที่รังสี x ผาน ซึ่งอาจทําใหเซลลเหลานั้น
คลื่นวิทยุ
เสื่อมสภาพไปหรือเซลลอาจตายได ขึ้นกับความเขมของรังสี
รังสีแกมมา - คลื่นแมเหล็กไฟฟา
- ความถี่ 1010
– 1022
HZ
- ไดจากการแผรังสีของธาตุกัมมันตรังสี มนุษยผลิตรังสี δ จากธาตุ
กัมมันตรังสีที่มนุษยประดิษฐขึ้น
- ใชแทน X-ray ในการรักษาโรคมะเร็ง
- ใชในการถนอมอาหาร และใชปรับปรุงพันธุพืช
- ไมเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กไฟฟา
- ทะลุทะลวงผานวัตถุไดมากที่สุด
- เกิดปฏิกิริยากับสารเคมีในฟลมถายรูป
รังสีอินฟราเรด - ใหพลังงานความรอน (รางกายรับรูได)
แหลงกําเนิด - ดวงอาทิตย
- วัตถุที่รอนทุกชนิด
ประโยชน - ฉายรังสีอินฟราเรดไปบนวัตถุที่แสงผานไมได ทําใหภายในวัตถุรอน
- ใชรักษาโรคผิวหนังบางชนิด, รักษากลามเนื้อแพลง
- ใชฟกไข
- ใชอบสีรถยนตหลังพน ชวยใหสีแหง อยางสม่ําเสมอ
- ใชฟลมอินฟราเรดถายภาพเพื่อคนหาสัตวในที่มืด
- ใชถายภาพของโครงการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติทางดาวเทียม
- ใชอบยางอาหาร
- ใชตรวจหาวัตถุไวไฟและน้ํามัน
- ชวยทําใหโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมที่สิ่งมีชีวิตจะดํารงชีวิตได
- คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นมากกวารังสีอินฟราเรด
- เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปสูอีกจุดหนึ่งโดยการแผรังสี และเคลื่อนที่ดวย
ความเร็ว 3 x 106
เมตร/วินาที
- ไมสามารถทะลุผานโลหะหรือสิ่งกีดขวางขนาดใหญ แตเคลื่อนยายไปบนพื้น
ผิวสัมผัสของสิ่งกีดขวางได
- ไฮนริช รูคอลฟ เฮิรตซ เปนคนแรกที่คนพบคลื่นวิทยุ จากเครื่องมือที่มี
ขดลวด 2 ขด ซึ่งทําหนาที่เปนเครื่องสงและเครื่องรับ
การผสมสัญญาณ (การผสมคลื่น) คือ การนําคลื่นความถี่เสียงซึ่งเปนสัญญาณไฟฟาของคลื่นเสียงผสม
คลื่นวิทยุหรือคลื่นพาหนะ ซึ่งเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่เทากับ 104
– 1010
เฮิรตซ สัญญาณที่ผสมแลวจะมี
แอมปลิจูดหรือความถี่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
การผสมสัญญาณมี 2 ระบบ คือ
1. การผสมสัญญาณระบบเอเอ็ม (Amplitude Modulation : A.M.)
เปนการผสมสัญญาณที่ทําให Amplitude ของสัญญาณไฟฟาเปลี่ยนไป แตความถี่คงที่
2. การผสมสัญญาณระบบ เอฟ เอ็ม (Frequency Modulation : F.M.)
เปนการผสมสัญญาณที่ทําให Frequency ของสัญญาณไฟฟาเปลี่ยนไปแต Amplitude คงที่
เหตุใดสัญญาณคลื่นวิทยุจากสถานีตางๆ จึงไมปะปนกัน
- สถานีวิทยุแตละสถานีกระจาย ดวยความถี่ตางกัน
- สํานักงานบริหารความถี่วิทยุ กรมไปรษณียโทรเลข กําหนดให
สถานีวิทยุระบบ เอ. เอ็ม แตละสถานีมีความถี่ตางกัน 9 KHz
สถานีวิทยุระบบ เอฟ. เอ็ม แตละสถานีมีความถี่ตางกัน 250 KHz
- เครื่องสงวิทยุมีความกวางของแถบความถี่ ระบบ เอ.เอ็ม กวาง 9 KHz ระบบเอฟ. เอ็ม
กวาง 180 KHz
การสงภาพไปกับคลื่นวิทยุ
การสงภาพไปกับคลื่นวิทยุอาศัยหลักการเปลี่ยนภาพใหเปนสัญญาณไฟฟาของภาพ แลวสงไปกับคลื่นวิทยุ
ภาพ เกิดจากจุดที่มีขนาดและความเขมของสีตางๆ มาตอเรียงกัน จุดเหลานี้มีความสามารถสะทอนแสงไดไมเทากัน
สีเขมสะทอนแสงไดนอยกวาสีออน
การสงโทรภาพ คือ การผสมสัญญาณไฟฟาความถี่คลื่นวิทยุกับสัญญาณไฟฟาของภาพแลวสงขึ้นไปกระจายคลื่นที่
สายอากาศ
วิธีการสงโทรภาพ - นําภาพไปพันรอบๆ กระบอกโลหะของเครื่องสง ซึ่งมีหัวตรวจสอบความเขมของ
ภาพอยูใกลๆ เมื่อกระบอกหมุน หัวตรวจสอบเคลื่อนที่ไปทั่วแผนภาพ
สัญญาณไฟฟาของภาพจะถูกสงไปผสมกับสัญญาณ ไฟฟาความถี่วิทยุแลวสงออก
อากาศ
เครื่องรับโทรภาพ - เปลี่ยนสัญญาณไฟฟาของภาพใหเปนภาพ โดยใชฟลมถายรูปพันไวรอบกระบอก
โลหะ สัญญาณภาพที่ได ---- แสดงความเขมตางกัน ---- ไปกระทบฟลม
---- ลางอัดไดภาพ
โทรทัศน โทรทัศนใชคลื่นวิทยุที่มีความถี่สูง เปนคลื่นพาหะ และมีการสงเสียงไปพรอมๆ กัน
ระบบโทรทัศนประกอบดวย 3 สวน คือ เครื่องถายโทรทัศน สถานีโทรทัศน และเครื่องรับโทรทัศน
เครื่องถายโทรทัศน - ทําใหภาพและเสียงถูกเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟา
สถานีโทรทัศน - สงคลื่นโทรทัศนทั้งภาพและเสียงออกทางเสาอากาศของสถานี ไปยัง
สายอากาศของเครื่องรับโทรทัศน
เครื่องรับโทรทัศน - เสาอากาศรับคลื่นวิทยุโทรทัศนจากเครื่องสง
แยกสัญญาณไฟฟาของเสียง ---- ลําโพง
แยกสัญญาณไฟฟาภาพ ---- หลอดภาพ
เปลี่ยนเปนภาพ
เห็นภาพเคลื่อนไหวและมีเสียง
เปรียบเทียบการทํางานของวิทยุโทรภาพและวิทยุโทรทัศน
วิทยุโทรภาพ วิทยุโทรทัศน
1. ใหภาพนิ่งพิมพติดบนฟลม 1. ใหภาพเคลื่อนไหวอยางตอเนื่อง
2. สงไดชา ไมมีเสียง 2. สงไดเร็ว มีเสียง
3. ดูภาพไมไดทันทีตองนําไปลางและอัดภาพ 3. ดูภาพไดทันที
- เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีชวงความถี่สูงถัดจากคลื่นวิทยุ
- เปนคลื่นที่สามารถควบคุมใหเปนลําเล็กๆ ได
- มีทิศทางตรง
- สามารถทะลุผานชั้นบรรยากาศไดดีและถูกดูดกลืนนอย
- เมื่อกระทบวัตถุ คลื่นที่สะทอนกลับมาจะมีความเขมสูง
- ใชในระบบ เรดาร การสื่อสาร และโทรคมนาคม
เตาไมโครเวฟ - เปนเตาที่ทําใหอาหารรอน
- ภายในมีวงจรอิเล็กทรอนิกส มีหลอดแมกนิตรอน เปนตัวผลิตไมโครเวฟความถี่ประมาณ
2,450 MHz
- คลื่นไมโครเวฟในเตามีพลังงานสูง จะแผมากระทบและถายพลังงานใหกับโมเลกุลของน้ําที่มี
ในอาหาร ทําใหอาหารรอน
การสื่อสารโทรคมนาคมของไทย
ระบบโทรคมนาคม หมายถึง การสื่อสารที่ใชไมโครเวฟเปนพาหะ
โทรคมนาคมระบบโทรพิมพ - คลายเครื่องพิมพดีด เมื่อพิมพขอความ กานอักษรที่กดลงไปจะทําใหเกิด
สัญญาณไฟฟา อักษรแตละตัวจะมีสัญญาณไฟฟาตางกัน สัญญาณไฟฟานี้
ผสมกับคลื่นไมโครเวฟทําหนาที่เปนคลื่นพาหะไปสูเครื่องรับ
เทเลกซ(TELEK) คือ การสื่อสารที่จัดบริการใหเชาเครื่องพิมพซึ่งผูเชาสามารถรับ-สง ขอความดวยเครื่องโทร
พิมพนั้น ๆ กับผูเชาอื่นๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศได
การสงเทเลกซ คือ การผสมสัญญาณไฟฟากับคลื่นไมโครเวฟ แลวสงไปยังเครื่องรับโทรพิมพ
โทรสาร (FAX ) เปนเครื่องรับ-สง เอกสารที่ตองเชื่อมเขากับคูสายของเครื่องโทรศัพท
วิธีสงโทรสาร คือเปลี่ยนภาพและตัวหนังสือจากเครื่องสงไปเปนสัญญาณไฟฟา แลวสงไปตามสายโทรศัพท เมื่อถึง
เครื่องรับจะเปลี่ยนสัญญาณไฟฟา ---- ภาพและตัวหนังสือเหมือนเดิมเอกสารที่ไดเหมือนการ
ถายทําสําเนา
การรับ – สงโทรสาร ตองอาศัยเครือขายโทรศัพท
ไมโครเวฟ
โลกและดวงดาว
วัตถุทองฟา หมายถึง สรรพสิ่งทั้งหลายที่อยูบนทองฟาอันกวางใหญ (รวมหอวิจัยลอยฟาดวย)
โลก (Earth)
ในสมัยกอนเชื่อวา โลกเปนศูนยกลางของทุกสิ่งทุกอยางบนทองฟา เพราะ เมื่ออยูบนโลก สามารถ
สังเกตเห็นดวงอาทิตย ดวงจันทร และดวงดาวอื่นๆ เคลื่อนที่จากตะวันออกไปตะวันตกทุกวัน เหมือนกับวา โคจรรอบ
โลก
นิโคลัส โคเปอรนิคัส นักดาราศาสตรชาวโปแลนด ไดเสนอวา ดวงอาทิตยเปนศูนยกลางของระบบสุริยะ
สัณฐานของโลก
1. โลกมีสัณฐานกลม เพราะขณะเกิดจันทรุปราคา เงาโคงของโลกจะไปปรากฏบนดวงจันทรเสมอ
2. โลกมีสัณฐานกลมทรงแปน ทราบจากการวิเคราะหขอมูลที่ไดจาก ดาวเทียมแวนการด
ในขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย โลกหมุนรอบตัวเองดวยแกนหมุนของโลกเอียงทํามุม (23.5°)
กับแนวตั้งฉากกับระนาบวงโคจร และ สายไปทางทิศตะวันตกอยางชา ๆ
ทิศบนโลก การกําหนดทิศบนโลกทําไดโดยสังเกตการขึ้นและตกของดวงอาทิตย ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองทิศจะ
ติดไปกับโลกเสมอ
ทิศตะวันออก คือ ทิศที่โลกหมุนไป
ทิศตะวันตก คือ ทิศที่อยูตรงขามกับการหมุนของโลก
ทิศเหนือ คือ ทิศที่อยูทางซายมือ เมื่อหันหนาไปทางทิศตะวันออกแลวกางมือออก
ทิศใต คือ ทิศที่อยูทางขวามือ เมื่อหันไปทางทิศตะวันออก และกางมือออก
เสนละติจูด เปนเสนสมมุติที่ขนานกับเสนศูนยสูตร อยูระหวางขั้วโลกเหนือกับขั้วโลกใต มี 181 เสน
เสนลองจิจูด เปนเสนสมมุติที่ลากผานขั้วโลกเหนือขั้วโลกใต โดยตั้งฉากกับเสนศูนยสูตร มี 360 เสน
เวลาบนโลก กําหนดใหโลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ (360 องศา) เปนเวลา 1 วัน หรือ 24 ชั่วโมง
การบอกตําแหนงวัตถุที่อยูสูงกวาระดับพื้นโลก
ในการบอกตําแหนงวัตถุที่แนนอนของวัตถุที่อยูสูงกวาพื้นโลก บอกโดย
1. บอกคามุมเงย
2. บอกทิศของวัตถุ
การบอกตําแหนงของวัตถุบนทองฟา มีหลายวิธี คือ
1. ใชทิศบอกตําแหนงของดาวที่สังเกตได
2. ในทางดาราศาสตร ใช ระบบเสนขอบฟา (ยึดผูสังเกตเปนหลัก)
ถาเราอยูบนที่โลง แลวมองขึ้นไปบนทองฟารอบๆ ตัวเรา จะเห็นทองฟา เปนรูปครึ่งวงกลมครอบตัวเราอยู จุด
ศูนยกลางของทรงกลม คือตําแหนงที่เราอยู ทรงกลมนี้ เรียกวา ทรงกลมทองฟา
โลกหมุนไป 1 องศา ใชเวลา 4 นาที
เสนขอบฟา คือ เสนที่ลากตามแนวของครึ่งวงกลม
เสนเหนือศีรษะ คือ จุดบนทรงกลมทองฟาที่อยูเหนือศีรษะของเรา
เสนดิ่ง คือ เสนที่ลากจากจุดเหนือศีรษะไปตามทรงกลมทองฟา และตั้งฉากกับเสนขอบฟา
มุมเงย หมายถึง มุมที่เกิดจากเสนตรงที่ลากจากยอดเสาธงมายังตากับเสนระดับสายตา
คามุมเงยเปลี่ยนแปลงตามตําแหนงของผูสังเกต
การบอกตําแหนงวัตถุใชมุมเงยอยางเดียวไมได Q วัตถุมีมุมเงยเทากัน อาจอยูคนละตําแหนงก็ได
จึงตองบอกทิศดวย
มุมอาซิมุธ หมายถึง มุมที่อยูระหวางจุดทิศเหนือไปตามแนวขอบฟาทางทิศตะวันออกไปจนถึงตําแหนงจุดตัดของ
เสนดิ่งที่ผานวัตถุนั้น
ดวงจันทร (Moon) - บริวารของโลก
- วัตถุทองฟาที่อยูใกลโลกที่สุด
- ในวันเพ็ญ มีขนาดพอ ๆ กับดวงอาทิตย
การเคลื่อนที่ของดวงจันทร - ดวงจันทรเปลี่ยนตําแหนงจากทองฟาซึกตะวันออกไปยังทิศตะวันตก
- ดวงจันทรเคลื่อนที่จากตะวันตกไปทางทิศตะวันออก
- เวลาเดียวกันของทุกคืน คามุมเงย และมุมอาซิมุธของดวงจันทร แตกตางกัน
- เวลาตางกันของคืนเดียวกัน คามุมเงย และมุมอาซีมุธของดวงจันทร แตกตางกัน
ดิถีของดวงจันทร
ขณะที่ดวงจันทรโคจรรอบโลกจะไดรับแสงอาทิตย จึงทําใหมองเห็นดวงจันทรมีลักษณะเปลี่ยนแปลงทุกคืน คือ
เห็นดวงจันทรเต็มดวงบาง เสี้ยวบาง ซึ่งเรานํามานับเปนวันขางขึ้นขางแรม
การสํารวจดวงจันทร
- เริ่มจากกาลิเลโอ สรางกลองโทรทรรศน และใชสํารวจดวงจันทร
- ก.ค. 2512 มนุษยอวกาศ 3 คน ไดนํายานอวกาศ ชื่อ อะพอลโล ไปลงบนดวงจันทร
ผูเหยียบดวงจันทร คือ นิล อารมสตรอง และแอลดริน
ผูขับยานบังคับการ “โคลัมเบีย” คือ ไมเคิล คอลลินส
การวิเคราะหหินบนดวงจันทร
- ผิวดวงจันทรประกอบดวยหินบะซอลท
- จากการคํานวณหาอายุของหินบนดวงจันทรพบวา ผิวดวงจันทรเริ่มเย็นและแข็งตัวประมาณ 4,600 ป
มาแลว
- หินที่พื้นผิวดวงจันทร เกิดจากลาวาของภูเขาไฟไหลทวมบริเวณกวางใหญ
บรรยากาศบนดวงจันทร - บรรยากาศเบาบางมาก
- อุณหภูมิดานที่ไดรับแสงอาทิตยสูงถึงจุดเดือดของน้ํา
- อุณหภูมิดานที่ไมไดรับแสงเย็นจัด
- ดวงจันทรไมมีสนามแมเหล็กเหมือนโลก
- มีกัมมันตรังสีสูงมากที่พื้นผิว
ดาวเคราะหมี 9 ดวง
ดาวเคราะหแบงเปน 2 วง โดยใชโลกเปนเกณฑ
1. ดาวเคราะหวงใน
2. ดาวเคราะหวงนอก
- ดาวเคราะหที่เห็นดวยตาเปลา ไดแก
ดาวพุธ - เปลี่ยนตําแหนงคอนขางเร็ว
- บางเดือนอยูทางทิศตะวันออกของดวงอาทิตย
- บางเดือนอยูทางทิศตะวันตกของดวงอาทิตย
- เห็นใกลขอบฟาทางทิศตะวันตกเวลาเชามือ
- เห็นใกลของฟาทางทิศตะวันออกเวลาหัวค่ํา
ดาวศุกร - ปรากฏเวลาหัวค่ําทางทิศตะวันตก
- ปรากฏเวลาเชามืดทางทิศตะวันออก
- ขนาดเล็กกวาโลกเล็กนอย
- บรรยากาศหนาแนนมาก บรรยากาศชั้นบนสะทอนแสงอาทิตยไดประมาณ 70%
- ความกดดันเฉลี่ยของบรรยากาศที่พื้นผิว 91 เทาของบรรยากาศที่ผิวโลก
- อุณหภูมิที่พื้นผิวสูงมาก
- ผิวดาวศุกรแหงแลง
- หมุนรอบตัวเองชามาก
สภาวะเอื้อชีวิตบนโลก
1. อุณหภูมิที่เหมาะสม
2. ดาวเคราะหที่มีชีวิตอยูได ควรมีรัศมีวงโคจรรอบดวงอาทิตยเฉลี่ยประมาณ 100 – 300 ลาน
เมตร
3. มวลของดาวเคราะห
ดาวอังคาร - มีลักษณะคลายโลก
- ขนาดเล็กกวาโลก เสนผานศูนยกลาง = 1/2 ของโลก
- อุณหภูมิสูงสุดบริเวณเสนศูนยสูตร
- ขั้วเหนือและขั้วใตอุณหภูมิต่ํา
- มีปลองภูเขาไฟที่ดับแลวอยางนอย 12 แหง
- มีหุบเหวและรองลึกคลายลําธาร
- ไมมีสนามแมเหล็ก
- ไมมีบรรยากาศที่หนาพอที่จะชวยกรองรังสีที่เปนอันตรายตอชีวิต
*พบธาตุ C
ดวงอาทิตย - ดาวฤกษที่อยูใกลโลกมากที่สุด
- มองจากพื้นโลกมีขนาดเทาดวงจันทร
- แสงจากดวงอาทิตยใชเวลาเดินทาง 8.3 นาที
- ขึ้นทางทิศตะวันออก และเคลื่อนไปทางทิศตะวันตก
การดูดวงอาทิตย - ตาเปลาเปนอันตราย
- ใชกลองโทรทรรศนดูโดยตรงจะเปนอันตรายมากกวาตาเปลา
- ถาใชเครื่องแอสโตรแลบ หาตําแหนงของดวงอาทิตย ซึ่งตองดูดวยตาเปลาเพื่อหาคา
มุมเงย มุมอาซิมุธทําใหเปนอันตราย
การหาตําแหนงดวงอาทิตยทําไดโดย การสังเกตเงาของดวงอาทิตยแทน
ในชวงดวงอาทิตยขึ้นและตก และเสนทางโคจรของดวงอาทิตยจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนสูงสุดแลวคอย ๆ ลดต่ําลง
มุมอาซิมุธจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
ตําแหนงขึ้นและตก และเสนทางโคจรของดวงอาทิตยบนทองฟาเปลี่ยนไปในทุกฤดูกาล จึงอาจกลาวได
วา ตําแหนงขึ้นตกและเสนของดวงอาทิตยเปรียบไดกับตัวเลขบนนาฬิกาทองฟา ซึ่งสามารถบอกวัน เวลา ในฤดูกาลตางๆ
ได
การวัดคามุมอาซิมุธ ขณะขึ้นตก และมุมเงยสูงสุดของดวงอาทิตยที่ กทม. พบวา
วันที่ 21 มี.ค. - ดวงอาทิตยขึ้นที่จุดตะวันออก และตกที่จุดทิศตะวันตก
วันที่ 22 มิ.ย. - ดวงอาทิตยขึ้นและตกไปทางเหนือมากที่สุด
วันที่ 23 ก.ย. - ดวงอาทิตยขึ้นและตกที่จุดทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี
การที่โลกหมุนรอบตัวเองโดยมีแกนหมุนทํามุม 23
2
1
องศา กับแนวที่ตั้งฉากกับระนาบวงโคจรของ
โลก ขณะเดียวกันโคจรรอบดวงอาทิตยดวย ซึ่งเปนสาเหตุทําใหเกิด
- ปรากฏการณขึ้นและตกของดวงอาทิตย
- การเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศ
- พนที่บนผิวโลกรับพลังงานแสงสวางและความรอนจากดวงอาทิตยไมเทากัน
อิทธิผลของพลังงานอื่นๆ ของดวงอาทิตย
1. พายุแมเหล็ก
ดวงอาทิตยสงอนุภาคที่มีประจุไฟฟาอิเล็กตรอน และอนุภาคที่มีประจุไฟฟาบวกที่มีความเร็ว
ต่ําเปนผลใหสนามแมเหล็กโลกถูกรบกวน
2. แสงเหนือแสงใต
- อนุภาคจากดวงอาทิตย (มีประจุไฟฟา) ไมสามารถผานแนวแมเหล็กได แตจะเขาสู
บรรยากาศของโลกทางขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต เมื่อไปชนกับกาซบางอยางทําใหเกิดแสง
เรืองรองบนทองฟา
ดาวฤกษ ดวงดาวที่อยูไกลแสนไกล
ดาวฤกษมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา แตเราเห็นดาวฤกษแตละดวงรักษาระยะหางเทากันเสมอนั้น Q ดาวฤกษอยู
ไกลมาก เราเห็นดาวฤกษอยูในลักษณะเดิมทุกวัน เรียกวา ดาวประจําที่
ดาวเหนือ
คนที่อยูเสนศูนยสูตร จะเห็นดาวเหนืออยูทางขอบฟาทางทิศเหนือ
คนที่อยูทางขั้วโลกเหนือ จะเห็นดาวเหนืออยูตรงจุดเหนือศีรษะพอดี
การเคลื่อนที่ของดาวฤกษ
ชวงเวลาที่ดาวแตละดวงปรากฏใหเราเห็นนั้นจะแตกตางกัน ดาวดวงเดียวกันถาผูสังเกตอยูคนละตําแหนงจะ
เห็นการเคลื่อนที่ปรากฏตางกัน เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเอง
กลุมดาวฤกษ มนุษยเห็นกลุมดาวบนทองฟา และจินตนาการเปนรูปสิ่งที่คุนเคย หรือรูปเทพเจา เพื่อสะดวกในการ
สังเกตและจดจํา
ในสมัยโบราณ คนอาศัยดวงดาว เพื่อ - บอกเวลา
- บอดฤดูกาล
- กําหนดวันนักขัตฤกษ
- หาทิศในการเดินทาง
ปจจุบันนักดาราศาสตร แบงกลุมดาวเปน 88 กลุม
กลุมดาวที่คนไทยรูจักและมองเห็นไดเชน - กลุมดาวจระเข
- กลุมดาวเตา
กลุมดาวจักรราศี
เมื่อโลกโคจรรอบดวงอาทิตยครบ 1 รอบ คนบนโลกเห็นดวงอาทิตยเคลื่อนที่ปรากฏผานกลุมดาวฤกษ 12
กลุม
ชวงที่ดวงอาทิตยเคลื่อนที่ปรากฏในเวลาประมาณ 1 เดือน เรียก ราศี เรียกกลุมดาว 12 กลุมวา
กลุมดาวจักรราศี
แถบราศี คือ ดวงจันทรและดาวเคราะหตาง ๆ เคลื่อนปรากฏผานกลุมดาวจักรราศีเปนแถบรอบทรงกลมทองฟา
การหากลุมดาวจักรราศี ทําไดโดยสังเกตจากกลุมดาวที่ปรากฏตรงตําแหนงที่ดวงอาทิตยกําลังลับของฟา ซึ่งจะเปน
กลุมดาวที่มีชื่อสัมพันธกับชื่อเดือน
กลุมดาวจักรราศีที่ปรากฏอยูบนทองฟา ดานทิศเหนือ มี 6 กลุม
- กลุมดาวปลา, แกะ, วัว, คนคู, ปู และกลุมดาวสิงโต
กลุมดาวจักรราศีที่ปรากฏอยูบนทองฟา ดานทิศใต มี 6 กลุม
- กลุมดาวหญิงพรหมจารี, คันชั่ง, แมงปอง, คนถือธนู, แพะทะเล และกลุมดาวคนแบกหมอน้ํา
ดาราจักรทางชางเผือกและเอกภพ
ในคืนเดือนมืดทองฟาใสไมมีเมฆหมอก จะเห็นเปนทางสีขาวสลัวพาดผานทองฟา เรียก ทางชางเผือก
- พาดจากขอบฟาทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ขอบฟาทิศตะวันออกเฉียงใต
- ประกอบดวยดาวฤกษเปนจํานวนมาก
- มีฝุนและกาซตางๆ
- แนวทางชางเผือกเคลื่อนที่ตลอดเวลา แสดงวา ทางชางเผือกจะปรากฏอยูบนทองฟารอบ
โลก
- บนทางชางเผือกมีกลุมดาวแมงปอง กลุมดาวคางคาว
ดาราจักร คือ ระบบของดวงดาว ประกอบดวย - ดาวฤกษ
- เนบิวลา
- กาซที่เปลงแสงสวาง
- ฝุนธุลีคอสมิก
- กาซและที่วาง
เอกภพ - ระบบรวมขอบดาราจักร มีวัตถุทองฟาทุกชนิด
- กวางใหญไมมีขอบเขต
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science
Science

More Related Content

What's hot

พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม AtomsBELL N JOYE
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 

What's hot (7)

พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
โครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atomsโครงสร้างอะตอม Atoms
โครงสร้างอะตอม Atoms
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
Chemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theoryChemographics : Atomic theory
Chemographics : Atomic theory
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 

Viewers also liked

Realtor Value Prop - NPF
Realtor Value Prop - NPFRealtor Value Prop - NPF
Realtor Value Prop - NPFNicole Roach
 
SALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABAD
SALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABADSALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABAD
SALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABADSagnik Bhattacharya
 
Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter twitter thermome...
Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter    twitter thermome...Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter    twitter thermome...
Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter twitter thermome...Alban Jarry
 
Exposición respiratorio
Exposición respiratorioExposición respiratorio
Exposición respiratorioEunice62
 
One Team Global binary Package and Unilevel Products
One Team Global binary Package and Unilevel ProductsOne Team Global binary Package and Unilevel Products
One Team Global binary Package and Unilevel Productsteaminternationalcorp
 
Peter Bozsoki - PhD Thesis
Peter Bozsoki - PhD ThesisPeter Bozsoki - PhD Thesis
Peter Bozsoki - PhD ThesisPeter Bozsoki
 
High concept document for 'The Nightmare'
High concept document for 'The Nightmare'High concept document for 'The Nightmare'
High concept document for 'The Nightmare'Sai Narayan
 
OPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects Summary
OPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects SummaryOPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects Summary
OPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects SummaryTomofumi Hayashi
 

Viewers also liked (11)

CRM_nov092016_v1
CRM_nov092016_v1CRM_nov092016_v1
CRM_nov092016_v1
 
Realtor Value Prop - NPF
Realtor Value Prop - NPFRealtor Value Prop - NPF
Realtor Value Prop - NPF
 
SALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABAD
SALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABADSALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABAD
SALES OPPORTUNITY OF McNROE WILD STONE DEODORANT IN MURSHIDABAD
 
Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter twitter thermome...
Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter    twitter thermome...Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter    twitter thermome...
Jeremy Ghez - Extrait livre blanc 112 regards sur twitter twitter thermome...
 
Exposición respiratorio
Exposición respiratorioExposición respiratorio
Exposición respiratorio
 
One Team Global binary Package and Unilevel Products
One Team Global binary Package and Unilevel ProductsOne Team Global binary Package and Unilevel Products
One Team Global binary Package and Unilevel Products
 
Peter Bozsoki - PhD Thesis
Peter Bozsoki - PhD ThesisPeter Bozsoki - PhD Thesis
Peter Bozsoki - PhD Thesis
 
Bolsos jeans
Bolsos jeansBolsos jeans
Bolsos jeans
 
High concept document for 'The Nightmare'
High concept document for 'The Nightmare'High concept document for 'The Nightmare'
High concept document for 'The Nightmare'
 
OPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects Summary
OPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects SummaryOPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects Summary
OPNFV Meetup Tokyo #1 / Projects Summary
 
Strategy implementation
Strategy implementationStrategy implementation
Strategy implementation
 

Similar to Science

Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistrykruannchem
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752CUPress
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
9789740330189
97897403301899789740330189
9789740330189CUPress
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้a1o1b1
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลChuanchen Malila
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์girapong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1Keatisak TAtanarua
 

Similar to Science (13)

Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Ch 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistryCh 03 nuclear chemistry
Ch 03 nuclear chemistry
 
Climate change2009
Climate change2009Climate change2009
Climate change2009
 
9789740327752
97897403277529789740327752
9789740327752
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
9789740330189
97897403301899789740330189
9789740330189
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมลเอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
เอกสารประกอบการเรียน มวล มวลอะตอม โมลและปริมาณต่อโมล
 
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ปฏิกิริยานิวเคลียร์
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1เครื่องใช้ไฟฟ้า1
เครื่องใช้ไฟฟ้า1
 

Science

  • 2. เรื่องแสงอาทิตยและพลังงาน พลังงานแสงอาทิตย เปนพลังงานตามธรรมชาติที่มีปริมาณมหาศาล และจัดเปนพลังงานที่สะอาดบริสุทธิ์ เพราะไมทําใหเกิดมลภาวะ เปนพลังงานที่นักวิทยาศาสตรใหความสนใจมากที่สุด เนื่องจากสามารถใชทดแทนพลังงาน ปโตรเลียม และกาชธรรมชาติได พลังงานที่โลกไดรับจากดวงอาทิตย พลังงานที่โลกไดรับจากดวงอาทิตยเฉลี่ยรายปเทากับ 1,353 วัตตตอ ตารางเมตร ซึ่งคิดเปนปริมาณเพียง ของพลังงานทั้งหมดที่ดวงอาทิตยเปลงออกมา ผิวโลกบริเวณเสนศูนยสูตร ไดรับแสงอาทิตยโดยตรงในแนวตั้งฉาก การทดลองที่แสดงวาเราไดพลังงานจากแสงอาทิตย ใชแวนขยาย (เลนสนูน) รวมแสงอาทิตยใหตกลงหัวไมขีดไฟ บริเวณที่เกิดการลุกไหม คือ จุดรวมแสงของเลนสนูน ปรากฏการณเรือนกระจก (green house effect) เปนปรากฏการณที่อุณหภูมิของโลกสูงขึ้นเรื่อย ๆ เนื่องจากกาซคารบอนไดออกไซด (CO2) ที่เกิดจากการเผาไหมของเชื้อเพลิงเขาสูบรรยากาศมากขึ้นและกาซนี้จะกั้น พลังงานความรอนไมใหออกไปนอกโลกได อิทธิพลของแสงอาทิตยตอสิ่งแวดลอม อิทธิพลของแสงอาทิตยตอสิ่งแวดลอมบนผิวโลกโดยตรง วัฎจักรของน้ํา คือ การหมุนเวียนของน้ํา น้ําคาง คือ หยดน้ําเล็ก ๆ ที่เกาะอยูตามยอดหญาในเวลาเชา น้ําคางเกิดขึ้นเนื่องจากไอน้ําในอากาศเหนือ พื้นดินกระทบกับอากาศเย็นพื้นดินแลวกลั่นตัวเปนละอองน้ําและรวมตัวกันเปนหยดน้ํา จุดน้ําคาง คือ อุณหภูมิระดับหนึ่งที่ไอน้ําในอากาศกลั่นตัวเปนหยดน้ํา หมอก คือ ละอองน้ําเล็ก ๆ ที่จับตัวเปนกลุมลอยอยูเหนือพื้น ซึ่งเกิดจากไอน้ําในอากาศที่เกิดในเวลากลางวัน กลั่นตัวเปนละอองน้ํา เมื่ออุณหภูมิของอากาศลดต่ําลงในเวลากลางคืน หรือตอนเชามืดกอนพระอาทิตยขึ้น ลม เกิดจากการเคลื่อนที่ของอากาศจากบริเวณที่มีความกดอากาศสูงไปยังบริเวณที่มีความกดอากาศต่ํา เชน ลมบก ลมทะเล ลมพายุ ลมบก เปนลมที่พัดจากชายฝงออกสูทะเลในเวลากลางคืน การไหลเวียนของกระแสน้ํา การไหลเวียนของกระแสน้ําเกิดจากพื้นน้ําบริเวณเสนศูนยสูตรไดรับความรอน จากดวงอาทิตยมากกวาบริเวณขั้วโลก จึงทําใหน้ําบริเวณเสนศูนยสูตรมีอุณหภูมิสูงกวา และขยายตัวไดมากกวา มีความ หนาแนนนอยลงจึงลอยตัวสูงขึ้น น้ําบริเวณขั้วโลกที่มีอุณหภูมิต่ํากวามีความหนาแนนมากกวาไหลเขามาแทนที่ อิทธิพลของแสงอาทิตยตอสิ่งแวดลอมบนผิวโลกโดยทางออม แสงอาทิตยทําใหเปลือกโลกพังทลาย เนื่องจากกระแสน้ํา และกระแสลม ประโยชนของพลังงานแสงอาทิตย มนุษยนําพลังงานแสงอาทิตยมาใชประโยชนในดานตาง ๆ ดังนี้ การใชพลังงานแสงอาทิตยในกลองอบแหง แสงอาทิตยที่ตกกระทบกลองอบแหงทําใหอากาศภายในกลองมี อุณหภูมิสูงขึ้น เปนผลทําใหน้ําในผักหรือในผลไมระเหยไป ผักและผลไมในกลองอบแหงจะแหงซึ่งเก็บไวไดนาน การใชพลังงานแสงอาทิตยกลั่นน้ําทะเลใหจืด ประเทศที่ตองกลั่นน้ําทะเลใหเปนน้ําจืด เพื่อใชในการบริโภค และอุปโภค คือ ฮองกง และสหรัฐอเมริกาที่เมืองซานดิเอโก
  • 3. วิธีการกลั่น ความรอนจากแสงอาทิตยทําใหน้ํารอนขึ้น และระเหยกลายเปนไอไปกระทบกระจก ซึ่งมีอุณหภูมิ ต่ํากวาไอน้ํา ทําใหไอน้ํากลั่นตัวรวมเปนหยดน้ํา ไหลลงไปตามความลาดเอียงของผิวกระจกออกไปตามรางน้ําสูทอและ ภาชนะที่รอบรับ การใชพลังงานแสงอาทิตยทําเตาสุริยะ เตาสุริยะใชกระจกเงาหรือโลหะสะทอนแสงทําเปนรูปทรงพาราโบลา รับแสงอาทิตยที่สะทอนมารวมกันที่จุด ๆ หนึ่ง เรียก จุกโฟกัส ซึ่งเปนจุดที่แสงมีความเขมมากที่สุด และใหพลังงาน สูงสุดสามารถนํามาใชประโยชนตาง ๆ ได ผลิตเกลือ - เกลือสมุทร เปนเกลือที่ไดจากน้ําทะเล มีธาตุไอโอดีน เซลลสุริยะ เปนเครื่องมือที่เปลี่ยนพลังงานแสงเปนพลังงานไฟฟา การสังเคราะหดวยแสงของพืช เปนการเปลี่ยนพลังงานแสง เปนพลังงานเคมีดังสมการ คารบอนไดออกไชด + น้ํา กลูโคส + น้ํา + ออกซิเจน ผลของแสงอาทิตยตอสิ่งตาง ๆ มีดังนี้ 1. ทําใหซิลเวอรโบรไมดที่ฉาบบนฟลมถายรูปเปลี่ยนเปนสีน้ําตามดํา 2. วิตามินซีเสื่อสภาพ 3. ทําใหสารละลายสีเขียวที่ไดจากปฏิกิริยาเคมีระหวางสารละลายเฟอริตแอมโมเนียมซิเครดกับโพแทสเซียม เฮกชาไชยาโนเฟอเรตเปลี่ยนเปนสีน้ําเงิน 4. ทําใหไขมันใตผิวหนังเปลี่ยนเปนวิตามินดีได 5. ทําใหเมลานิลที่อยูใตผิวหนังเพิ่มมากขึ้นทําใหผิวคล้ํา 6. ทําใหเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง ปโตรเลียมน้ํามันดิบ เปนของเหลวที่มีสีดําคล้ํา ซึ่งเกิดจากการทับถมของอินทรียสาร ที่ถูกยอยสลายโดยแบคทีเรีย แลว ทับถมอยูภายใตผิวโลกดวยอุณหภูมิ และความกดดันสูง เปนเวลานานนับลาน ๆ ป น้ํามันปโตรเลียม หรือน้ํามันดิบยังใชประโยชนไมได เพราะมีสารประกอบไฮโดรคารบอนหลายชนิดซึ่งมีสมบัตร แตกตางกันผสมอยู การแยกสารประกอบไฮโดรคารบอนออกจากกันตองใช ขบวนการกลั่นลําดับสวน โดยใชหลัก สารประกอบมีจุดเดือดตางกัน ซึ่งพบวา สารที่มีจุดเดือดต่ํา จะถูกแยกออกมากอน และอยูสวนบนของหอกลั่น ชื่อสวนตาง ๆ จุดเดือด 0 C สถานะ จํานวนอะตอมของ คารบอนในโมเลกุล ประโยชน กาซปโตรเลียม ต่ํากลา 40 กาซ C1 – C4 ใชเปนเชื้อเพลิงตามบาน น้ํามันเบนซิน 40 - 180 ของเหลว C5 – C10 ใชเปนเชื้อเพลิงรถยนต น้ํามันกาด 180 - 230 ของเหลว C11 – C12 ใชเปนเชื้อเพลิงเครื่องบิน และใชจุดตะเกียง น้ํามันดีเซล 230 - 305 ของเหลว C13 – C14 ใชเปนเชื้อเพลิงเครื่องยนตดีเซล น้ํามันเตา 230 - 305 ของเหลว C15 – C17 ใชเปนเชื้อเพลิงในโรงไฟฟา และ โรงงานอุตสาหกรรม น้ํามันหลอลื่น 305 - 405 ของเหลว C18 – C25 ใชทําน้ํามันหลอลื่น พาราฟน 405 - 515 ครึ่งแข็ง C26 – C38 ใชทําขี้ผึ้งพาราฟน และขี้ผึ้งวาสลิน ยางมะตอย สูงกวา 515 ของแข็ง มากกวา C2a ใชราดถนน
  • 4. การกําหนดคุณภาพของน้ํามันเบนซิน อาศัยหลักประสิทธิภาพในการทํางานของน้ํามันในเครื่องยนต เชน น้ํามันที่มีสมบัติเหมือนไอโซออกเทนบริสุทธิ์ เรียกวา มีออกเทนนัมเบอรเปน 100 น้ํามันที่มีสมบัติเหมือนเฮปเทนบริสุทธิ์ เรียกวา มีออกเทนนัมเบอรเปน 0 และ น้ํามันที่มีไอโซออกเทนเปน 97% เฮปเทน 3 % เรียกวา ออกเทนนัมเบอร 97 เชื้อเพลิงชนิดตาง ๆ - กาซธรรมชาติเหลว ประกอบดวย 2 สวนคือ สวนที่เปนไฮโดรคารบอนและสวนที่ไมใชไฮโดรคารบอน - กาซปโตรเลียมเหลว (กาซหุงตม) ไดแก โพรเพน และบิวเทน - ถานหิน มีลิกไนต ซันบิทูมินัส บิทูมินัส และแอนทราไซต - ถานโคก ไดจากการกลั่นสลายผลิตไนต ไดสารคอนขางบริสุทธิ์ ไมคอยมีควัน - ถานไม ไดจากการเผาไหมในที่ซึ่งไมใหอากาศเขา - เมธิลแอลกฮอล (เมธานอล) ไดจากการกลั่นสลายไม - เอธิลแอลกอฮอล (เอธานอล) ไดจากการหมักสารพวกคารโบไฮเดรต ดังสมการ - น้ําตาล เอทิลแอลกอฮอล + คารบอนไดออกไซด พลังงานนิวเคลียร เปนพลังงานที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของอะตอมของธาตุ ธาตุ คือ สารที่ประกอบดวยอะตอมชนิดเดียวกัน อะตอม คือ อนุภาคที่เล็กที่สุดของธาตุที่สามารถเขาทําปฏิกิริยาเคมี โดยไมแตกสลายเปนอนุภาคอื่น สรางอะตอม ประกอบดวย - โปรตอน (P)มีมวล 1.007 U เปนประจุ + - นิวตรอน (N) มีมวล 1.008 u เปนกลาง - อิเล็กตรอน (e)มีมวล 0.0005 u เปนประจุ - เล็กมากที่สุด - เลขมวล (A) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอนและนิวตรอน - เลขอะตอม (Z) หมายถึง ตัวเลขที่แสดงจํานวนโปรตอน - ไอโซโทป หมายถึง ธาตุชนิดเดียวกัน มีจํานวนโปรตอนเทากัน แตมีจํานวนนิวตรอนตางกัน หรือ ธาตุชนิดเดียวกันมีเลขอะตอมเทากัน แตมีเลขมวลตางกัน 234 = เลขมวล = จํานวนโปรตอนกับนิวตรอน = A H 92 = เลขอะตอม = จํานวนโปรตอน = Z ธาตุที่เปนกลาง จํานวนโปรตอน = จํานวนอิเล็กตรอน สารกัมมันตรังสี หมายถึง ธาตุที่สามารถปลอยรังสีออกมา เนื่องจากธาตุนั้นไมอยูตัว จึงมีการเปลี่ยนแปลงภายใน นิวเคลียสเพื่อใหธาตุอยูตัว เชน ยูเรเนียม เรเดียม ทอเรียม ชนิดของรังสี ชนิดของรังสี สัญลักษณ ประจุ ชนิดของอนุภาค วัสดุที่กั้นรังสีได แอลฟา α บวก นิวเคลียสของซีเลียม กระดาษหนา 0.02 mm บีทา β ลบ อิเลคตรอน ไมหนา 0.5 cm แกมมา γ ไมมีประจุ คลื่นแมเหล็กไฟฟา คอนกรีตหนา ตะกั่วหนา 10 cm
  • 5. การตรวจสอบรังสี ใชเครื่องมือ ตอไปนี้ 1. ไกเกอรเคารเตอร บรรจุกาซ ภายใตความกดดันต่ํา กาซจะนําไฟฟาไดดี วงจรไฟฟาในเครื่องมือบอกวาแสง ผานมากหรือนอย 2. แผนฟลม ภายในบรรจุฟลม ซึ่งจะมีรอยดําขาวปรากฏอยูเมื่อโตนรังสี 3. โดซิมิเตอร เปนเครื่องตรวจรังสีที่มีขนาดเล็กที่สุดคลายปากกา กอนใชตองประจุไฟฟาใหเต็มกอน เมื่อถูก รังสี ประจุไฟฟาจะคอย ๆ หมดไป ครึ่งชีวิต หมายถึง ระยะเวลาในการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสี จนลดเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิมสารกัมมันตรังสี ชนิดเดียวกันจะมีครึ่งชีวิตเทากันเสมอ ปฏิกิริยานิวเคลียร เปนปฏิกิริยาที่เกิดบริเวณนิวเคลียสของอะตอม ชนิดของปฏิกิริยา 1. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟชชั่น (Fission) เกิดจากการยิงนิวตรอนเขาไปในนิวเคลียสของธาตุหนัก หรือเปน ปฏิกิริยาที่เกิดจากการแตกตัวของอะตอมภายในนิวเคลียสของธาตุขนาดใหญกลายเปนธาตุขนาดกลาง หรือขนาดเล็ก แลวสลายใหพลังงานมากมายมหาศาล เชน ปฏิกิริยาลูกโซที่เกิดบนโลก โดย ยูเรเนียม 1 กรัมใหพลังงาน 8 x 109 จูล เครื่องปฏิกรณปรมาณู เครื่องที่ใชผลิตพลังงานนิวเคลียร และสามารถควบคุมการเกิดปฏิกิริยาลูกโซไดโดยใช U- 235 เปนเชื้อเพลิง กราไฟตลดความเร็วของนิวตรอน แคดเมียมควบคุมการปฏิกิริยาโดยดูดนิวตรอนไว 2. ปฏิกิริยานิวเคลียรฟวชั่น (Fusion) เปนปฏิกิริยาที่เกิดจากนิวเคลียสของธาตุเบา หลอมตัวกันไดนิวเคลียส ของธาตุหนัก หรือเปนปฏิกิริยาที่เกิดจากการรวมตัวของอะตอมของธาตุขนาดกลาง และขนาดเล็กกลายเปนธาตุขนาด ใหญแลวใหพลังงานมากมายมหาศาล เชน ปฏิกิริยาที่เกิดบนดวงอาทิตย ซึ่งไดจาการรวมตัวของนิวเคลียสของไฮโดรเจน สี่ตัวกลายเปนนิวเคลียสของฮีเลียมหนึ่งตัว โดยที่ไฮโดรเจน 1 กรัม ใหพลังงาน 6.48 x 1011 จูล (Joule) พลังงานที่ไดจากแหลงพลังงานธรรมชาติ มีพลังงานจากลม พลังงานจากน้ํา พลังงานความรอนใตพิภพ พลังงานกาซชีวภาพและพลังงานจากแสงอาทิตยซึ่งเก็บสะสมไวบนโลกมนุษยในรูปของพลังงานเคมีในอาหารและ เชื้อเพลิง
  • 6. โลกแหงแสงสี ดวงอาทิตย เปนแหลงกําเนิดแสงจากธรรมชาติที่สําคัญที่สุด แสงอาทิตย มองดวยตาเปลาเรียกวา แสงขาว การกระจายแสง คือ การที่แสงขาวผานปริซึมแลว แยกออกเปนแสงสีตาง ๆ ที่ตอเนื่องกัน แสงอาทิตยผานปริซึม 1 อัน จะแยกเปนแสงสี 7 สีตอเนื่องกันคือ มวง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง แสงอาทิตยผานปริซึม 2 อันที่วางกลับหัวกันจะได แสงขาวเหมือนเดิม ตัวกลางมี 3 ชนิด 1. ตัวกลางโปรงใส ยอมใหแสงผานมากที่สุด เชน เลนส ปริซึม กระจกใส 2. ตัวกลางโปรงแสง ยอมใหแสงผานเล็กนอย เชน กระจกฝา พลาสติกขุน 3. ตัวกลางทึบแสง ไมยอมใหแสงผานไปไดเลย เชน ไม เหล็ก การเขียนทางเดินของแสงผานวัตถุโปรงใสที่มีความหนาแนนไมเทากัน 1. เมื่อแสงผานจากตัวกลาง หนาแนนนอย ไปยังตัวกลาง หนาแนนมาก ลําแสงจะหักเห เขาหาเสนปกติ 2. เมื่อแสงผานจากตัวกลาง หนาแนนมาก ไปยังตัวกลาง หนาแนนนอย ลําแสงจะเบนออกจากเสนปกติ 3. เมื่อแสงผานตัวกลางโปรงใส โดยลําแสงตั้งฉากกับตัวกลางจะไมเกิดการหักเหของแสงโดยแสงจะทะลุผาน ไปเลย มุมวิกฤต หมายถึง มุมตกกระทบที่ทําใหมุมหักเหกาง 900 หรือมุมตกกระทบที่ทําใหลําแสงหักเหทาบผิว รอยตอของตัวกลางพอดีลําแสงจะตองผานตัวกลางหนาแนนมาก ไปยังตัวกลางหนาแนนนอยกวาเทานั้น การสะทอนกลับหมด หมายถึง การที่แสงสะทอนกลับภายในตัวกลางเดินทั้งหมดไมผานไปยังตัวกลางที่สอง เนื่องจากแสงผานจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวาไปยังตัวกลางที่มีความหนาแนนนอยวาโดยทํามุมตกกระทบโต กวามุมวิกฤต ดัชนีหักเหของแสง หมายถึง สมบัติเฉพาะตัวอยางหนึ่งของสารที่ทําใหลําแสงเกิดการหักเหเมื่อลําแสงผาน ตัวกลางที่มีคาดัชนีหักเหตางกัน สารที่มีความหนาแนนมากจะมีคาดัชนีหักเหมาก สารที่มีคาความหนาแนนนอย จะมีคาดัชนีหักเหนอย ปรากฏการณทางธรรมชาติของแสง เกิดจากการหักเห, การสะทอนกลับและการสะทอนกลับหมดของแสง รุง เปนปรากฏการณที่เกิดขึ้นบนทองฟาดานตรงขามกับดวงอาทิตยหลังฝนตกใหม ๆ ซึ่งมีสีเหมือนสีใน สเปกตรัมของแสงอาทิตย รุง มี 2 ชนิด คือ 1. รุงตัวลาง (รุงปฐมภูมิ) - ลําแสงเขาทางดานบนของหยดน้ํา - ลําแสงหักเห 2 ครั้ง - สะทอนกลับหยด 1 ครั้ง 2. รุงตัวบน (รุงทุติยภูมิ) - ลําแสงเขาทางดานลางของหยดน้ํา - ลําแสงหักเห 2 ครั้ง - สะทอนกลับหมด 2 ครั้ง
  • 7. พระอาทิตยทรงกลดหรือดวงจันทรทรงกลด เกิดขึ้นเนื่องจากบริเวณที่เย็นจัดภายในเมฆมีผลึกน้ําแข็งเรียงตัว ตามแนวเสนโคงของวงกลมรอบ ๆ ดวงอาทิตยหรือดวงจันทร เมื่อแสงขาวตกกระทบผลึกน้ําแข็งจะเกิดการหักเหภายใน ผลึกเกิดการสะทอนกลับหมด และหักเหออกสูบรรยากาศภายนอกทํามุมพอเหมาะกับนัยนตา จึงเห็นเปนวงแหวนแถบ แสงสีตาง ๆ หรือเห็นเปนสีขาวรอบดวงอาทิตยหรือดวงจันทร การกระเจิง เปนปรากฏการณที่แสงสองมากระทบกับอนุภาคขนาดเล็กในบรรยากาศแลวเกิดการกระจายแสง ออกมาจากอนุภาคนั้นโดยรอบ แสงที่มีความยาวคลื่นสั้นกระเจิงไดดีกวาแสงที่มีความยาวคลื่นยาว ภาพลวงตา (มิราจ) เกิดในชวงเวลาที่ผิวถนนไดรับความรอนจากดวงอาทิตยมากที่สุดความรอนจากดวง อาทิตยจะถายเทใหอากาศบริเวณที่อยูใกลผิวถนน เมื่ออากาศไดรับความรอนจะขยายตัวลอยสูงขึ้น ทําใหอากาศใกลผิว ถนนบางลง และมีดัชนีหักเหนอยกวาอากาศที่อยูเหนือขึ้นไป ลําแสงตกกระทบชั้นอากาศดวยมุมที่โตกวามุมวิกฤตจึง สะทอนหลับหมด ทําใหเห็นอากาศลอยเปนชั้น ๆ เหนือถนนคลายน้ําหรือน้ํามันนองพื้น ปรากฏการณแสงโพลาไรซ หมายถึง ปรากฏการณที่เห็นแสงสะทอนระยิบระยับ โพลารอยด เปนแผนกรองแสงที่มีลักษณะพิเศษชนิดหนึ่งที่ผลิตจากการผสมพลาสติกเหลวกับสารเคมีไอโอโด ควินินซัลเฟต โดยทําใหสารนี้เรียงตัวเปนแถวขนานไปในทิศทางเดียว ชองวางระหวางโมเลกุลจึงมีทิศทางเดียว แสงจึง ทะลุผานไดทิศทางเดียว แสงโพลาไรซ คือแสงที่ทะลุผานแผนโพลารอยดไดเพียงทิศทางเดียว ทําใหความเขมของแสงเหลือประมาณ ครึ่งหนึ่งของความเขมเดิม ทัศนูปกรณ ไดแก แวนขยาย กลองโทรทัศน เครื่องฉายภาพหนึ่งขามศีรษะ และเครื่องฉายภาพยนตร ภาพ คือ สิ่งที่ปรากฏแกสายตาเรา เนื่องจากแสงจากวัตถุสะทอนเขาสูเราทําใหเห็นภาพปรากฏขึ้น ภาพจริง คือภาพที่เกิดจากรังสีของแสงตัดกันจริง เอาฉากมารับได ภาพเสมือน คือ ภาพที่เกิดจากรังสีของแสงเสมือนตัดกัน เอาฉากมารับไมได ภาพที่เกิดจากเลนสนูน 1. ภาพจริง - เปนจุด - ขนาดเล็กกวาวัตถุ - ขนาดเทาวัตถุ - ขนาดใหญกวาวัตถุ 2. ภาพเสมือน - ขนาดใหญกวาวัตถุเทานั้น ภาพที่เกิดจากเลนสเวา เกิดภาพเสมือนขนาดเล็กกวาวัตถุเทานั้น กลองถายรูป ใชเลนสนูน ทําใหเกิดภาพจริงหัวกลับขนาดเล็กกวาวัตถุบนฟลมสวนสําคัญของกลองถายรูป มี ดังนี้ - เลนสหนากลอง เปนเลนสนูนรวมแสงจากวัตถุไปปรากฏชัดบนฉาก - ตัวกลอง ทําหนาที่ปองกันแสงจากภายนอกเขาไปโดนฟลม - ไดอะแฟรม ทําหนาที่ควบคุมปริมาณแสงที่ตกบนที่ฟลม - ชัตเตอร ทําหนาที่ปดเปดหนากลอง ควบคุมเวลาที่แสงจากบนฟลม - ฟลม ทําหนาที่เปนฉากสําหรับบันทึกภาพ - แฟลช ทําหนาที่ชวยเพิ่มแสงสวางใหเหมาะสม แฟลชมี 2 ชนิด แฟลชหลอด และแฟลชอิเล็กทรอนิกส
  • 8. กลองถายรูปอยางงาย ประกอบดวย - กลองทึบแสง - ปองกันแสงจากภายนอกไมเขาไปรบกวนภาพบนฉาก - เลนสนูน – ทําหนาที่รวมแสงใหภาพของวัตถุไปปรากฏบนฟลมพอดี - ฟลม – เปนกระดาษแอมโมเนีย ทําหนาที่เปนฟลม และกระดาษอัดภาพ การผสมแสง คือ การนําเอาแสงที่มีสีไปรวมบนฉากสีขาวจะไดแสงสีใหม แสงสีปฐมภูมิ คือ แสงสีที่ไมไดเกิดจากการผสม ไดแก สีแดง สีเขียว และสีน้ําเงิน แสงสีทุติยภูมิ คือ แสงสีที่ไดจากการนําแสงสีปฐมมิมาผสมกันบนฉากสีขาว แสงสีเดิมเต็ม คือ คูของแสงสีที่ผสมกันแลวไดสีขาว นัยนตาและการเห็นภาพ สวนประกอบของนัยนตามีดังนี้ - สเคลอรา เยื่อชั้นนอกมีคอรเนีย - คอรอยด เยื่อชั้นกลางมีเลือดและรงวัตถุ มีมานตาและพิวพิล - เรตินา เยื่อชั้นในสุด มีเซลลรูปแทงและรูปกรวย - โฟเวีย อยูบริเวณเรตินา รับภาพไดชัดเจนที่สุด - จุดบอด รับภาพไมไดเลย เพราะไมมีเซลลรับแสง - กระจกตา รับและใหแสงผานเขาสูภายใน - มานตา ควบคุมปริมาณแสงใหพอเหมาะที่จะผานไปสูเลนสตา - พิวพิล เปนชองใหแสงผานไปสูเลนสตา - เลนส เปนเลนสนูนยึดหยุนได ทําหนาที่โฟกัสภาพ การบอดสี คือการเห็นสีที่ผิดไปจากความจริง เนื่องจากเซลลรูปกรวยทํางานผิดปกติ การเห็นภาพติดตา หมายถึง ความรูสึกในการเห็นภาพลางอยูในสมองไดชั่วขณะทั้ง ๆ ที่ไมมีภาพของวัตถุนั้น อยูบนจอตาแลว คนสายตาสั้น คือคนที่มองวัตถุไดชัดเจนในระยะใกลกวา 25 cm เกิดเนื่องจากกระบอกตายาวเกินไป หรือ เลนสตาปองเกินไป คนสายตายาว คือ คนที่มองวัตถุไดชัดเจนในระยะไกลกวา 25 cm เกิดเนื่องจากกระบอกตาสั้นเกินไป หรือ เลนสตาแฟนเกินไป สายตาเลียง เกิดจากความโคงของกระจกตาหรือเลนสไมเปนผิวของทรงกลม ทําใหมองเห็นวัตถุชัดเพียงแนว เดียว
  • 9. สีสรรพ สี หมายถึง ความรูสึกในการมองเห็น เพราะคลื่นแสงในแถบสีมากระตุนประสาทนัยนตา การมองเห็นสีของวัตถุเกิดขึ้นเนื่องจากแสงตกระทบวัตถุทึบแสง และสะทอนมาเขานัยนตา หรือแสงทะลุผาน วัตถุโปรงใสหรือวัตถุโปรงแสงแลวมาเขาตา สีของวัตถุ 1. วัตถุทึบแสง - วัตถุสีขาว สะทอนแสงทุกสีมาเวาตา - วัตถุสีดํา ดูดกลั่นทุกแสงสี - วัตถุสีตาง ๆ วัตถุใดก็ตามจะสะทอนสีนั้น ดูดกลืนสีอื่น 2. วัตถุโปรงใสและวัตถุโปรงแสง ยอมใหแสงสีเหมือนวัตถุผานมากที่สุด การผสมตัวสี คือ การนําตัวสีตางสีมาผสมกันจะไดสีใหม ซึ่งแตกตางจากสีเดิม หรือเปนการลดปริมาณแสงสี จะไดสีใหมที่เขมกวาเดิม ตัวสีปฐมภูมิ คือ สีที่ไมไดเกิดจากการผสม เชน แดงมวง เหลือง น้ําเงินเขียว ตัวสีทุติยภูมิ คือ สีที่ไดจาการนําตัวสีปฐมภูมิผสมกัน เชน แดงมวง + เหลือง แดง แดงมวง + น้ําเงินเขียว น้ําเงิน เหลือง + น้ําเงินเขียว เขียว ตัวสีเดิมเต็ม คือ คูที่ผสมกันแลวไดสีดํา เชน แดงมวง + เขียว ดํา เหลือง + น้ําเงิน ดํา แดง + น้ําเงินเขียว ดํา แดงมวง + เหลือง + น้ําเงินเขียว ดํา การมองเห็นสีของวัตถุ การเห็นสีผสมของตัวสีในวัตถุได เนื่องจากนัยนตาเรามีเซลลรับแสงที่ไวตอแสงสี 3 สี คือ ไวตอสีแดง ไวตอสีเขียว และไวตอสีน้ําเงิน ฟลมสี คือ ฟลมที่ใชบันทึกภาพสี มี 2 ชนิดคือ 1. ฟลมสีชนิดเนกาทีฟ คือ ฟลมที่บันทึกภาพแนะนําไปผานกระบวนการลางฟลมแลว จะมีลักษณะโปรงใสสี ตาง ๆ ที่เปนสีเติมเต็มกับสีของวัตถุ 2. ฟลมสีชนิดโพสิทีฟ คือ ฟลมที่บันทึกภาพ และนําไปผานกระบวนการลางแลวจะมีลักษณะโปรงใสสีตาง ๆ ที่เปนเดียวกับสีวัตถุ ความไวแสงของฟลม ขึ้นกับลักษณะและผลึกเกลือเงิน ผลึกเล็ก – ไวแสงสูง ถายในที่มีแสงมาก ภาพคมชัด มากกวา ผลึกใหญ – ไวแสงต่ํา ถายในที่มีแสงนอย ภาพคมชัดนอยกวา การถายภาพเคลื่อนไหวเร็ว ใชฟลมไวแสงสูง ถายภาพเคลื่อนไหวชา ใชฟลมที่มีคาความไวแสงต่ํา สีสังเคราะห เปนสีที่ไดจากฏิติริยาเคมีระหวางสารเคมีบางชนิด ตัวอยาง เชน โพแทสเซียมไอโอโดด + เลกไนเตรด เหลือง คอปเปอร (II) ซัลเฟต + ไฮโดรเจนซัลไฟด ดํา
  • 10. แยกสีโดยวิธีโครมาโตกราฟฟ คือ การแยกตัวสีที่เปนองคประกอบของสีโดยอาศัยสมบัติการละลายและการ ดูดซึมของสาร สีเคลือบผิว เคลือบเพื่อ 1) ใหเกิดความสวยงาม 2) ปองกันพื้นผิววัตถุ 3) เปนเครื่องหมายหรือสัญลักษณตาง ๆ 4) ใชงานดานศิลปะ สวนประกอบของสีเคลือบผิว 1. ผงสี เปนสวนประกอบที่ทําใหเกิดสี ไมละลายในตัวยึดเกาะและตัวทําละลายสมบัติพิเศษ คือ ทําหนาที่ ดานทานการผุกรอน ชวยใหแทนไฟและทําใหเกิดเงา 2. ตัวยึดเกาะ จะเกาะแนนกับพื้นผิวโดยยึดผงสีไวในตัวยึดเกาะ สมบัติที่สําคัญ คือ ทําใหเกิดเงา ความแข็ง ทนตอสิ่งแวดลอม 3. ตัวทําละลาย เปนของเหลวที่ใสในสีเพื่อผสมผงสีกับตัวยึดเกาะ 4. สารเติมเต็ม ใสในสี เพื่อใหผิวเรียบ ไมเกิดฟอง ปองกันเชื้อรา ทึบแสง ชนิดของสีเคลือบผิว แบงโดยใชตัวทําละลายเปนเกณฑ แบงไดเปน สีน้ํา ใชน้ําเปนตัวทําละลาย สีน้ําที่ใช ทาอาคารบานเรือน เรียก สีพลาสติก สีน้ํามัน ใชน้ํามันเปนตัวทําละลาย นิยมใชเอทานอล, ทินเนอร , น้ํามันสน โรคที่เกิดจากสีทา โรคพิษสารตะกั่ว ระดับความเปนพิษของตะกั่วในผูใหญประมาณ 80 ไมโครกรัมในเลือด 100 cc ในเด็ก 40 ไมโครกรัมตอเลือด 100 cc อาการ เวียนศีรษะ เบื่ออาหาร คลื่นไส อาเจียน รางกายออนเพลีย เหนื่อยงาย กรรมวิธีในการยอมผา 1. การยอมโดนตรง ทําไดโดยจุมผาลงในสารละลายสี ขณะยอมนิยมใสโซเดียมคลอไรด หรือโซเดียมซัลเฟต ลงไปเพื่อใหสียอมติดเสนใยดีสม่ําเสมอทนนาน 2. การยอมโดยใชสารมอรแดนท ทําไดโดยนําผาไปตนกับสารมอรแดนท เกิดตะกอนแทรกซึมไปจับเสนใย ผา เมื่อนําไปยอม สียอมจะจับติดกับมอรแดนทไดดี สิ่งที่ควรกระทํากรอนการยอมผา 1. ทําใหผาสะอาด ปราศจากไขมันและสิ่งสกปรกอื่น ๆ โดยนําไปตมกับโซเดียมคารบอเนต 2. ทําใหผาขาว โดยนําไปแชในสารละลายโซเดียมไฮโปคลอไรด
  • 11. ไฟฟาและเครื่องอํานวยความสะดวก เซลลไฟฟาเคมี ชนิดของเซลล ขั้วไฟฟา (electrode) สารละลายนําไฟฟา (electrolyte) 1. เซลลชนิดประจุใหม ขั้วบวก - กราไฟต แอมโมเนียมคลอไรดเปยก ไมได ขั้วลบ - กลองสังกะสี (ถานไฟฉาย) 2. เซลลชนิดประจุใหมได ขั้วบวก – นิกเกิลออกไซด โพแทสเซียมไฮดรอกไซด ขั้วลบ - แคดเมียม 3. เซลลเชื้อเพลิง ขั้วบวก – คารบอน โพแทสเซี่ยมไฮดรอกไซด ขั้วลบ - คารบอน เซลลสุริยะ เซลลสุริยะ ประกอบดวย แผนสารกึ่งตัวนํา 2 ชั้น คือ ชั้นบน เปนซิลิกอน เจือดวยฟอสฟอรัส ชั้นลาง เปนซิลิกอนเจือดวยบอรอน กระแสไฟฟาที่ไดรับจากเซลลสุริยะ แปรผันโดยตรงกับความเขมของแสงที่ตกกระทบ กระแสไฟฟาเหนี่ยวนํา เกิดจาก 1. แมเหล็กเคลื่อนที่เขาหรือออกจากขดลวด 2. ขดลวดเคลื่อนที่เขาหรือออกจากแทงแมเหล็ก 3. ขดลวดหมุนตัดเสนแรงแมเหล็ก กระแสไฟฟาเหนี่ยวนําจะมากหรือนอย ขึ้นอยูกับ 1. ความแรงของแมเหล็ก 2. จํานวนรอบของขดลวด 3. ความเร็วในการเคลื่อนที่ การผลิตพลังงานไฟฟาสําหรับชุมชน 1. โรงไฟฟาพลังน้ํา ศักย จลน กล ไฟฟา 2. โรงไฟฟาพลังงานรอน เชื้อเพลิง ความรอน น้ํา ไอน้ํา แรงดัน กังหันไดนาโมไฟฟา 3. โรงไฟฟากังหันกาซ กาซรอน ความดันสูง กังหันไดนาโม ไฟฟา 4. โรงไฟฟาพลังความรอนรวม กาซเสีย น้ํา ไอน้ํา แรงดัน กังหันไดนาโมไฟฟา
  • 12. 5. โรงไฟฟาดีเซล เชื้อเพลิง + อากาศ ระเบิด ลูกสูบเคลื่อนที่ กังหันไดนาโม ไฟฟา 6. โรงไฟฟานิวเคลียร ปฏิกิริยานิวเคลียร ความรอน น้ํา ไอน้ํา กังหันใดนาโม ไฟฟา การสงพลังงานไฟฟา โรงไฟฟา หมอแปลงขึ้น สายสงไฟฟาแรงสูง หมอแปลงลง หมอแปลงลง ผูใชไฟ สายสงแรงต่ํา หมอแปลงลง หมอแปลง - ใชเฉพาะกระแสสลับเทานั้น - สงผานพลังงานไฟฟาจากวงจรหนึ่งไปยังอีกวงจรหนึ่งไดอยางมีประสิทธิภาพ - สามารถเพิ่มหรือลดความตางศักยได หมอแปลงขึ้น หมอแปลง หมอแปลงลง อุปกรณในวงจรไฟ 1. สะพานไฟ 2. ฟวส - เปนอุปกรณไฟฟาที่ชวยใหเกิดความปลอดภัยแตทรัพยสน - ทําดวยโลหะผสมที่มีจุดหลอมเหลวต่ํา 3. สวิตซ 4. เตาเสียบและเตารับ เครื่องไฟฟา เปนเครื่องมือที่มีการเปลี่ยนแปลงพลังงานไฟฟาเปนพลังงานรูปอื่น เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานแสงสวาง - หลอดไฟธรรมดา ไสหลอดทําดวยทังสเตน ภายในบรรจุกาซเฉื่อย - หลอดวาวแสง ภายในบรรจุไอปรอท ผิวดานในฉาบดวยสารวาวแสง ที่ขั้วทั้งสอง มีไสหลอด
  • 13. อุปกรณในวงจรหลอดวาวแสง มีสตารเตอรและบัลลาสต การทํางานของสตารตเตอร เมื่อเปดสวิตซ กระแสไฟฟาจะไหลจากแผนโลหะคู ผานกาซอารกอนไปยังโลหะ ตัวนําที่ปลายอีกขางหนึ่ง ขณะที่กระแสไฟฟาผานกาซอารกอนจะมีประกายไฟเกิดขึ้น ทําใหโลหะคูรอน และโคงงอมาแตะ กับอีกขั้วหนึ่งไดกระแสผานขั้ว โดยไมตองผานกาซอารกอนความรอนบนโลหะคูลดลงจนขั้วทั้งสองแยกออกจากกัน แบลลัสต ทําหนาที่เพิ่มความตางศักย เพื่อใหหลอดเรืองแสงติดในตอนแรก และทําหนาที่ควบคุมกระแสไฟฟา ในหลอดใหมีปริมาณพอดี โดยการเหนี่ยวนํากระแสไฟฟามาตานหรือเสริม เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟาที่ผาน ระหวางขั้วทั้งสองของหลอด เครื่องใชไฟฟาที่ใหพลังงานความรอน เครื่องไฟฟานี้ตองใชลวดตานทานที่มีสมบัติเฉพาะ คือ ใหความรอนมาก เร็ว และมีจุดหลอมเหลวสูง ความรอนที่เกิดจะมากหรือนอยขั้นกับ - ปริมาณกระแสไฟฟาที่ไหล - ความตานทาน - เวลาที่ผานไป
  • 14. รังสีที่เรามองไมเห็น ดวงอาทิตย เปนแหลงกําเนิดรังสีตามธรรมชาติหลายชนิด ทั้งที่มองเห็นและมองไมเห็น รังสีที่มองเห็น หมายถึงรังสีจากดวงอาทิตยที่ประสาทตารับรูไดหรือแสงขาวที่ประกอบดวย แสงสี 7 สี ไดแก สีมวง สีคราม สีน้ําเงิน สีเขียว สีเหลือง สีแสด และสีแดง แสงสีเหลานี้มีความยาวคลื่นอยูในชวง 4 x 10-7 - 7 x 10-7 เมตร ตามลําดับ รังสีที่มองไมเห็น หมายถึง รังสีจากดวงอาทิตยที่ประสาทตารับรูไมได ไดแก รังสีอัลตราไวโอเล็ต รังสีเอกซ รังสีแกมมา รังสีอินฟราเรด และคลื่นวิทยุ รังสีเหลานี้มีความถี่มากหรือนอยกวาแสงขาว ความถี่ของคลื่น (frequency) คือจํานวนลูกคลื่นที่เคลื่อนที่ผานจุดๆ หนึ่งไปในเวลา 1 วินาที หนวยความถี่ของคลื่น คือ รอบตอวินาที หรือ เฮิรตซ ความเร็วของคลื่น = ความถี่ของคลื่น x ความยาวของคลื่น V = ƒλ รังสีอัลตราไวโอเล็ต เกิดจาก - ดวงอาทิตย - มนุษยประดิษฐขึ้นในหลอดเรืองแสงและหลอดรังสีอัลตราไวโอเล็ต คุณสมบัติของรังสีอัลตราไวโอเล็ต 1. ทําใหสารวาวแสงเกิดการเรืองแสงขึ้น 2. ทําใหสารเคมีบางชนิดเกิดการเปลี่ยนแปลงไป 3. สามารถทุลุผานสิ่งกีดขวางบางชนิดได ประโยชนของรังสีอัลตราไวโอเล็ต 1. ใชในการพิสูจนเอกสาร ตรวจสอบลายเซ็น 2. ชวยใหรางกายสังเคราะหวิตามินดี 3. ใชฆาเชื้อโรคในทางการแพทย 4. ใชตรวจสอบคุณภาพอาหาร รังสีเอกซ - ดวงอาทิตย - โทรทัศน - หลอดรังสีเอกซ เมื่อเผาไสหลอดซึ่งเปนขั้วลบจนรอนแดง electron จะหลุดจากไสหลอดและวิ่งไปชนขั้วบวกซึ่งทําดวย ทังสเตน เมื่อ electron ที่มีพลังงานสูงมาก มาชนกับโลหะทังสเตน ทําใหเกิดรังสี x สารที่สามารถกั้นรังสี x ได ทอง ตะกั่ว เงิน ทองแดง อะลูมิเนียม น้ํา ประโยชนของรังสี x - ชวยวินิจฉัยโรค :- มะเร็ง, เนื้องอก, กระดูกหัก, วัณโรค, กระเพาะอาหารเปนแผล, ความผิดปกติของรากฟน - ใชตรวจหายราว รอยรั่วหรือรูโพรงในแผนโลหะ โทษของรังสี x - ทําใหเกิดโรคมะเร็ง เพราะขณะที่รังสี x ผานรางกาย จะถายเทพลังงาน ใหกับเซลล ตลอดทางที่รังสี x ผาน ซึ่งอาจทําใหเซลลเหลานั้น
  • 15. คลื่นวิทยุ เสื่อมสภาพไปหรือเซลลอาจตายได ขึ้นกับความเขมของรังสี รังสีแกมมา - คลื่นแมเหล็กไฟฟา - ความถี่ 1010 – 1022 HZ - ไดจากการแผรังสีของธาตุกัมมันตรังสี มนุษยผลิตรังสี δ จากธาตุ กัมมันตรังสีที่มนุษยประดิษฐขึ้น - ใชแทน X-ray ในการรักษาโรคมะเร็ง - ใชในการถนอมอาหาร และใชปรับปรุงพันธุพืช - ไมเบี่ยงเบนในสนามแมเหล็กไฟฟา - ทะลุทะลวงผานวัตถุไดมากที่สุด - เกิดปฏิกิริยากับสารเคมีในฟลมถายรูป รังสีอินฟราเรด - ใหพลังงานความรอน (รางกายรับรูได) แหลงกําเนิด - ดวงอาทิตย - วัตถุที่รอนทุกชนิด ประโยชน - ฉายรังสีอินฟราเรดไปบนวัตถุที่แสงผานไมได ทําใหภายในวัตถุรอน - ใชรักษาโรคผิวหนังบางชนิด, รักษากลามเนื้อแพลง - ใชฟกไข - ใชอบสีรถยนตหลังพน ชวยใหสีแหง อยางสม่ําเสมอ - ใชฟลมอินฟราเรดถายภาพเพื่อคนหาสัตวในที่มืด - ใชถายภาพของโครงการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติทางดาวเทียม - ใชอบยางอาหาร - ใชตรวจหาวัตถุไวไฟและน้ํามัน - ชวยทําใหโลกมีอุณหภูมิเหมาะสมที่สิ่งมีชีวิตจะดํารงชีวิตได - คลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความยาวคลื่นมากกวารังสีอินฟราเรด - เคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปสูอีกจุดหนึ่งโดยการแผรังสี และเคลื่อนที่ดวย ความเร็ว 3 x 106 เมตร/วินาที - ไมสามารถทะลุผานโลหะหรือสิ่งกีดขวางขนาดใหญ แตเคลื่อนยายไปบนพื้น ผิวสัมผัสของสิ่งกีดขวางได - ไฮนริช รูคอลฟ เฮิรตซ เปนคนแรกที่คนพบคลื่นวิทยุ จากเครื่องมือที่มี ขดลวด 2 ขด ซึ่งทําหนาที่เปนเครื่องสงและเครื่องรับ การผสมสัญญาณ (การผสมคลื่น) คือ การนําคลื่นความถี่เสียงซึ่งเปนสัญญาณไฟฟาของคลื่นเสียงผสม คลื่นวิทยุหรือคลื่นพาหนะ ซึ่งเปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีความถี่เทากับ 104 – 1010 เฮิรตซ สัญญาณที่ผสมแลวจะมี แอมปลิจูดหรือความถี่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา การผสมสัญญาณมี 2 ระบบ คือ
  • 16. 1. การผสมสัญญาณระบบเอเอ็ม (Amplitude Modulation : A.M.) เปนการผสมสัญญาณที่ทําให Amplitude ของสัญญาณไฟฟาเปลี่ยนไป แตความถี่คงที่ 2. การผสมสัญญาณระบบ เอฟ เอ็ม (Frequency Modulation : F.M.) เปนการผสมสัญญาณที่ทําให Frequency ของสัญญาณไฟฟาเปลี่ยนไปแต Amplitude คงที่ เหตุใดสัญญาณคลื่นวิทยุจากสถานีตางๆ จึงไมปะปนกัน - สถานีวิทยุแตละสถานีกระจาย ดวยความถี่ตางกัน - สํานักงานบริหารความถี่วิทยุ กรมไปรษณียโทรเลข กําหนดให สถานีวิทยุระบบ เอ. เอ็ม แตละสถานีมีความถี่ตางกัน 9 KHz สถานีวิทยุระบบ เอฟ. เอ็ม แตละสถานีมีความถี่ตางกัน 250 KHz - เครื่องสงวิทยุมีความกวางของแถบความถี่ ระบบ เอ.เอ็ม กวาง 9 KHz ระบบเอฟ. เอ็ม กวาง 180 KHz การสงภาพไปกับคลื่นวิทยุ การสงภาพไปกับคลื่นวิทยุอาศัยหลักการเปลี่ยนภาพใหเปนสัญญาณไฟฟาของภาพ แลวสงไปกับคลื่นวิทยุ ภาพ เกิดจากจุดที่มีขนาดและความเขมของสีตางๆ มาตอเรียงกัน จุดเหลานี้มีความสามารถสะทอนแสงไดไมเทากัน สีเขมสะทอนแสงไดนอยกวาสีออน การสงโทรภาพ คือ การผสมสัญญาณไฟฟาความถี่คลื่นวิทยุกับสัญญาณไฟฟาของภาพแลวสงขึ้นไปกระจายคลื่นที่ สายอากาศ วิธีการสงโทรภาพ - นําภาพไปพันรอบๆ กระบอกโลหะของเครื่องสง ซึ่งมีหัวตรวจสอบความเขมของ ภาพอยูใกลๆ เมื่อกระบอกหมุน หัวตรวจสอบเคลื่อนที่ไปทั่วแผนภาพ สัญญาณไฟฟาของภาพจะถูกสงไปผสมกับสัญญาณ ไฟฟาความถี่วิทยุแลวสงออก อากาศ เครื่องรับโทรภาพ - เปลี่ยนสัญญาณไฟฟาของภาพใหเปนภาพ โดยใชฟลมถายรูปพันไวรอบกระบอก โลหะ สัญญาณภาพที่ได ---- แสดงความเขมตางกัน ---- ไปกระทบฟลม ---- ลางอัดไดภาพ โทรทัศน โทรทัศนใชคลื่นวิทยุที่มีความถี่สูง เปนคลื่นพาหะ และมีการสงเสียงไปพรอมๆ กัน ระบบโทรทัศนประกอบดวย 3 สวน คือ เครื่องถายโทรทัศน สถานีโทรทัศน และเครื่องรับโทรทัศน เครื่องถายโทรทัศน - ทําใหภาพและเสียงถูกเปลี่ยนเปนสัญญาณไฟฟา สถานีโทรทัศน - สงคลื่นโทรทัศนทั้งภาพและเสียงออกทางเสาอากาศของสถานี ไปยัง สายอากาศของเครื่องรับโทรทัศน เครื่องรับโทรทัศน - เสาอากาศรับคลื่นวิทยุโทรทัศนจากเครื่องสง แยกสัญญาณไฟฟาของเสียง ---- ลําโพง แยกสัญญาณไฟฟาภาพ ---- หลอดภาพ เปลี่ยนเปนภาพ เห็นภาพเคลื่อนไหวและมีเสียง
  • 17. เปรียบเทียบการทํางานของวิทยุโทรภาพและวิทยุโทรทัศน วิทยุโทรภาพ วิทยุโทรทัศน 1. ใหภาพนิ่งพิมพติดบนฟลม 1. ใหภาพเคลื่อนไหวอยางตอเนื่อง 2. สงไดชา ไมมีเสียง 2. สงไดเร็ว มีเสียง 3. ดูภาพไมไดทันทีตองนําไปลางและอัดภาพ 3. ดูภาพไดทันที - เปนคลื่นแมเหล็กไฟฟาที่มีชวงความถี่สูงถัดจากคลื่นวิทยุ - เปนคลื่นที่สามารถควบคุมใหเปนลําเล็กๆ ได - มีทิศทางตรง - สามารถทะลุผานชั้นบรรยากาศไดดีและถูกดูดกลืนนอย - เมื่อกระทบวัตถุ คลื่นที่สะทอนกลับมาจะมีความเขมสูง - ใชในระบบ เรดาร การสื่อสาร และโทรคมนาคม เตาไมโครเวฟ - เปนเตาที่ทําใหอาหารรอน - ภายในมีวงจรอิเล็กทรอนิกส มีหลอดแมกนิตรอน เปนตัวผลิตไมโครเวฟความถี่ประมาณ 2,450 MHz - คลื่นไมโครเวฟในเตามีพลังงานสูง จะแผมากระทบและถายพลังงานใหกับโมเลกุลของน้ําที่มี ในอาหาร ทําใหอาหารรอน การสื่อสารโทรคมนาคมของไทย ระบบโทรคมนาคม หมายถึง การสื่อสารที่ใชไมโครเวฟเปนพาหะ โทรคมนาคมระบบโทรพิมพ - คลายเครื่องพิมพดีด เมื่อพิมพขอความ กานอักษรที่กดลงไปจะทําใหเกิด สัญญาณไฟฟา อักษรแตละตัวจะมีสัญญาณไฟฟาตางกัน สัญญาณไฟฟานี้ ผสมกับคลื่นไมโครเวฟทําหนาที่เปนคลื่นพาหะไปสูเครื่องรับ เทเลกซ(TELEK) คือ การสื่อสารที่จัดบริการใหเชาเครื่องพิมพซึ่งผูเชาสามารถรับ-สง ขอความดวยเครื่องโทร พิมพนั้น ๆ กับผูเชาอื่นๆ ทั้งในประเทศและตางประเทศได การสงเทเลกซ คือ การผสมสัญญาณไฟฟากับคลื่นไมโครเวฟ แลวสงไปยังเครื่องรับโทรพิมพ โทรสาร (FAX ) เปนเครื่องรับ-สง เอกสารที่ตองเชื่อมเขากับคูสายของเครื่องโทรศัพท วิธีสงโทรสาร คือเปลี่ยนภาพและตัวหนังสือจากเครื่องสงไปเปนสัญญาณไฟฟา แลวสงไปตามสายโทรศัพท เมื่อถึง เครื่องรับจะเปลี่ยนสัญญาณไฟฟา ---- ภาพและตัวหนังสือเหมือนเดิมเอกสารที่ไดเหมือนการ ถายทําสําเนา การรับ – สงโทรสาร ตองอาศัยเครือขายโทรศัพท ไมโครเวฟ
  • 18. โลกและดวงดาว วัตถุทองฟา หมายถึง สรรพสิ่งทั้งหลายที่อยูบนทองฟาอันกวางใหญ (รวมหอวิจัยลอยฟาดวย) โลก (Earth) ในสมัยกอนเชื่อวา โลกเปนศูนยกลางของทุกสิ่งทุกอยางบนทองฟา เพราะ เมื่ออยูบนโลก สามารถ สังเกตเห็นดวงอาทิตย ดวงจันทร และดวงดาวอื่นๆ เคลื่อนที่จากตะวันออกไปตะวันตกทุกวัน เหมือนกับวา โคจรรอบ โลก นิโคลัส โคเปอรนิคัส นักดาราศาสตรชาวโปแลนด ไดเสนอวา ดวงอาทิตยเปนศูนยกลางของระบบสุริยะ สัณฐานของโลก 1. โลกมีสัณฐานกลม เพราะขณะเกิดจันทรุปราคา เงาโคงของโลกจะไปปรากฏบนดวงจันทรเสมอ 2. โลกมีสัณฐานกลมทรงแปน ทราบจากการวิเคราะหขอมูลที่ไดจาก ดาวเทียมแวนการด ในขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย โลกหมุนรอบตัวเองดวยแกนหมุนของโลกเอียงทํามุม (23.5°) กับแนวตั้งฉากกับระนาบวงโคจร และ สายไปทางทิศตะวันตกอยางชา ๆ ทิศบนโลก การกําหนดทิศบนโลกทําไดโดยสังเกตการขึ้นและตกของดวงอาทิตย ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองทิศจะ ติดไปกับโลกเสมอ ทิศตะวันออก คือ ทิศที่โลกหมุนไป ทิศตะวันตก คือ ทิศที่อยูตรงขามกับการหมุนของโลก ทิศเหนือ คือ ทิศที่อยูทางซายมือ เมื่อหันหนาไปทางทิศตะวันออกแลวกางมือออก ทิศใต คือ ทิศที่อยูทางขวามือ เมื่อหันไปทางทิศตะวันออก และกางมือออก เสนละติจูด เปนเสนสมมุติที่ขนานกับเสนศูนยสูตร อยูระหวางขั้วโลกเหนือกับขั้วโลกใต มี 181 เสน เสนลองจิจูด เปนเสนสมมุติที่ลากผานขั้วโลกเหนือขั้วโลกใต โดยตั้งฉากกับเสนศูนยสูตร มี 360 เสน เวลาบนโลก กําหนดใหโลกหมุนรอบตัวเอง 1 รอบ (360 องศา) เปนเวลา 1 วัน หรือ 24 ชั่วโมง การบอกตําแหนงวัตถุที่อยูสูงกวาระดับพื้นโลก ในการบอกตําแหนงวัตถุที่แนนอนของวัตถุที่อยูสูงกวาพื้นโลก บอกโดย 1. บอกคามุมเงย 2. บอกทิศของวัตถุ การบอกตําแหนงของวัตถุบนทองฟา มีหลายวิธี คือ 1. ใชทิศบอกตําแหนงของดาวที่สังเกตได 2. ในทางดาราศาสตร ใช ระบบเสนขอบฟา (ยึดผูสังเกตเปนหลัก) ถาเราอยูบนที่โลง แลวมองขึ้นไปบนทองฟารอบๆ ตัวเรา จะเห็นทองฟา เปนรูปครึ่งวงกลมครอบตัวเราอยู จุด ศูนยกลางของทรงกลม คือตําแหนงที่เราอยู ทรงกลมนี้ เรียกวา ทรงกลมทองฟา โลกหมุนไป 1 องศา ใชเวลา 4 นาที
  • 19. เสนขอบฟา คือ เสนที่ลากตามแนวของครึ่งวงกลม เสนเหนือศีรษะ คือ จุดบนทรงกลมทองฟาที่อยูเหนือศีรษะของเรา เสนดิ่ง คือ เสนที่ลากจากจุดเหนือศีรษะไปตามทรงกลมทองฟา และตั้งฉากกับเสนขอบฟา มุมเงย หมายถึง มุมที่เกิดจากเสนตรงที่ลากจากยอดเสาธงมายังตากับเสนระดับสายตา คามุมเงยเปลี่ยนแปลงตามตําแหนงของผูสังเกต การบอกตําแหนงวัตถุใชมุมเงยอยางเดียวไมได Q วัตถุมีมุมเงยเทากัน อาจอยูคนละตําแหนงก็ได จึงตองบอกทิศดวย มุมอาซิมุธ หมายถึง มุมที่อยูระหวางจุดทิศเหนือไปตามแนวขอบฟาทางทิศตะวันออกไปจนถึงตําแหนงจุดตัดของ เสนดิ่งที่ผานวัตถุนั้น ดวงจันทร (Moon) - บริวารของโลก - วัตถุทองฟาที่อยูใกลโลกที่สุด - ในวันเพ็ญ มีขนาดพอ ๆ กับดวงอาทิตย การเคลื่อนที่ของดวงจันทร - ดวงจันทรเปลี่ยนตําแหนงจากทองฟาซึกตะวันออกไปยังทิศตะวันตก - ดวงจันทรเคลื่อนที่จากตะวันตกไปทางทิศตะวันออก - เวลาเดียวกันของทุกคืน คามุมเงย และมุมอาซิมุธของดวงจันทร แตกตางกัน - เวลาตางกันของคืนเดียวกัน คามุมเงย และมุมอาซีมุธของดวงจันทร แตกตางกัน ดิถีของดวงจันทร ขณะที่ดวงจันทรโคจรรอบโลกจะไดรับแสงอาทิตย จึงทําใหมองเห็นดวงจันทรมีลักษณะเปลี่ยนแปลงทุกคืน คือ เห็นดวงจันทรเต็มดวงบาง เสี้ยวบาง ซึ่งเรานํามานับเปนวันขางขึ้นขางแรม การสํารวจดวงจันทร - เริ่มจากกาลิเลโอ สรางกลองโทรทรรศน และใชสํารวจดวงจันทร - ก.ค. 2512 มนุษยอวกาศ 3 คน ไดนํายานอวกาศ ชื่อ อะพอลโล ไปลงบนดวงจันทร ผูเหยียบดวงจันทร คือ นิล อารมสตรอง และแอลดริน ผูขับยานบังคับการ “โคลัมเบีย” คือ ไมเคิล คอลลินส การวิเคราะหหินบนดวงจันทร - ผิวดวงจันทรประกอบดวยหินบะซอลท - จากการคํานวณหาอายุของหินบนดวงจันทรพบวา ผิวดวงจันทรเริ่มเย็นและแข็งตัวประมาณ 4,600 ป มาแลว - หินที่พื้นผิวดวงจันทร เกิดจากลาวาของภูเขาไฟไหลทวมบริเวณกวางใหญ บรรยากาศบนดวงจันทร - บรรยากาศเบาบางมาก - อุณหภูมิดานที่ไดรับแสงอาทิตยสูงถึงจุดเดือดของน้ํา - อุณหภูมิดานที่ไมไดรับแสงเย็นจัด - ดวงจันทรไมมีสนามแมเหล็กเหมือนโลก - มีกัมมันตรังสีสูงมากที่พื้นผิว ดาวเคราะหมี 9 ดวง ดาวเคราะหแบงเปน 2 วง โดยใชโลกเปนเกณฑ 1. ดาวเคราะหวงใน
  • 20. 2. ดาวเคราะหวงนอก - ดาวเคราะหที่เห็นดวยตาเปลา ไดแก ดาวพุธ - เปลี่ยนตําแหนงคอนขางเร็ว - บางเดือนอยูทางทิศตะวันออกของดวงอาทิตย - บางเดือนอยูทางทิศตะวันตกของดวงอาทิตย - เห็นใกลขอบฟาทางทิศตะวันตกเวลาเชามือ - เห็นใกลของฟาทางทิศตะวันออกเวลาหัวค่ํา ดาวศุกร - ปรากฏเวลาหัวค่ําทางทิศตะวันตก - ปรากฏเวลาเชามืดทางทิศตะวันออก - ขนาดเล็กกวาโลกเล็กนอย - บรรยากาศหนาแนนมาก บรรยากาศชั้นบนสะทอนแสงอาทิตยไดประมาณ 70% - ความกดดันเฉลี่ยของบรรยากาศที่พื้นผิว 91 เทาของบรรยากาศที่ผิวโลก - อุณหภูมิที่พื้นผิวสูงมาก - ผิวดาวศุกรแหงแลง - หมุนรอบตัวเองชามาก สภาวะเอื้อชีวิตบนโลก 1. อุณหภูมิที่เหมาะสม 2. ดาวเคราะหที่มีชีวิตอยูได ควรมีรัศมีวงโคจรรอบดวงอาทิตยเฉลี่ยประมาณ 100 – 300 ลาน เมตร 3. มวลของดาวเคราะห ดาวอังคาร - มีลักษณะคลายโลก - ขนาดเล็กกวาโลก เสนผานศูนยกลาง = 1/2 ของโลก - อุณหภูมิสูงสุดบริเวณเสนศูนยสูตร - ขั้วเหนือและขั้วใตอุณหภูมิต่ํา - มีปลองภูเขาไฟที่ดับแลวอยางนอย 12 แหง - มีหุบเหวและรองลึกคลายลําธาร - ไมมีสนามแมเหล็ก - ไมมีบรรยากาศที่หนาพอที่จะชวยกรองรังสีที่เปนอันตรายตอชีวิต *พบธาตุ C ดวงอาทิตย - ดาวฤกษที่อยูใกลโลกมากที่สุด - มองจากพื้นโลกมีขนาดเทาดวงจันทร - แสงจากดวงอาทิตยใชเวลาเดินทาง 8.3 นาที - ขึ้นทางทิศตะวันออก และเคลื่อนไปทางทิศตะวันตก การดูดวงอาทิตย - ตาเปลาเปนอันตราย - ใชกลองโทรทรรศนดูโดยตรงจะเปนอันตรายมากกวาตาเปลา
  • 21. - ถาใชเครื่องแอสโตรแลบ หาตําแหนงของดวงอาทิตย ซึ่งตองดูดวยตาเปลาเพื่อหาคา มุมเงย มุมอาซิมุธทําใหเปนอันตราย การหาตําแหนงดวงอาทิตยทําไดโดย การสังเกตเงาของดวงอาทิตยแทน ในชวงดวงอาทิตยขึ้นและตก และเสนทางโคจรของดวงอาทิตยจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนสูงสุดแลวคอย ๆ ลดต่ําลง มุมอาซิมุธจะเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ตําแหนงขึ้นและตก และเสนทางโคจรของดวงอาทิตยบนทองฟาเปลี่ยนไปในทุกฤดูกาล จึงอาจกลาวได วา ตําแหนงขึ้นตกและเสนของดวงอาทิตยเปรียบไดกับตัวเลขบนนาฬิกาทองฟา ซึ่งสามารถบอกวัน เวลา ในฤดูกาลตางๆ ได การวัดคามุมอาซิมุธ ขณะขึ้นตก และมุมเงยสูงสุดของดวงอาทิตยที่ กทม. พบวา วันที่ 21 มี.ค. - ดวงอาทิตยขึ้นที่จุดตะวันออก และตกที่จุดทิศตะวันตก วันที่ 22 มิ.ย. - ดวงอาทิตยขึ้นและตกไปทางเหนือมากที่สุด วันที่ 23 ก.ย. - ดวงอาทิตยขึ้นและตกที่จุดทิศตะวันออก ตะวันตกพอดี การที่โลกหมุนรอบตัวเองโดยมีแกนหมุนทํามุม 23 2 1 องศา กับแนวที่ตั้งฉากกับระนาบวงโคจรของ โลก ขณะเดียวกันโคจรรอบดวงอาทิตยดวย ซึ่งเปนสาเหตุทําใหเกิด - ปรากฏการณขึ้นและตกของดวงอาทิตย - การเปลี่ยนแปลงลมฟาอากาศ - พนที่บนผิวโลกรับพลังงานแสงสวางและความรอนจากดวงอาทิตยไมเทากัน อิทธิผลของพลังงานอื่นๆ ของดวงอาทิตย 1. พายุแมเหล็ก ดวงอาทิตยสงอนุภาคที่มีประจุไฟฟาอิเล็กตรอน และอนุภาคที่มีประจุไฟฟาบวกที่มีความเร็ว ต่ําเปนผลใหสนามแมเหล็กโลกถูกรบกวน 2. แสงเหนือแสงใต - อนุภาคจากดวงอาทิตย (มีประจุไฟฟา) ไมสามารถผานแนวแมเหล็กได แตจะเขาสู บรรยากาศของโลกทางขั้วโลกเหนือ และขั้วโลกใต เมื่อไปชนกับกาซบางอยางทําใหเกิดแสง เรืองรองบนทองฟา ดาวฤกษ ดวงดาวที่อยูไกลแสนไกล ดาวฤกษมีการเคลื่อนที่ตลอดเวลา แตเราเห็นดาวฤกษแตละดวงรักษาระยะหางเทากันเสมอนั้น Q ดาวฤกษอยู ไกลมาก เราเห็นดาวฤกษอยูในลักษณะเดิมทุกวัน เรียกวา ดาวประจําที่ ดาวเหนือ คนที่อยูเสนศูนยสูตร จะเห็นดาวเหนืออยูทางขอบฟาทางทิศเหนือ คนที่อยูทางขั้วโลกเหนือ จะเห็นดาวเหนืออยูตรงจุดเหนือศีรษะพอดี การเคลื่อนที่ของดาวฤกษ ชวงเวลาที่ดาวแตละดวงปรากฏใหเราเห็นนั้นจะแตกตางกัน ดาวดวงเดียวกันถาผูสังเกตอยูคนละตําแหนงจะ เห็นการเคลื่อนที่ปรากฏตางกัน เนื่องจากโลกหมุนรอบตัวเอง กลุมดาวฤกษ มนุษยเห็นกลุมดาวบนทองฟา และจินตนาการเปนรูปสิ่งที่คุนเคย หรือรูปเทพเจา เพื่อสะดวกในการ สังเกตและจดจํา
  • 22. ในสมัยโบราณ คนอาศัยดวงดาว เพื่อ - บอกเวลา - บอดฤดูกาล - กําหนดวันนักขัตฤกษ - หาทิศในการเดินทาง ปจจุบันนักดาราศาสตร แบงกลุมดาวเปน 88 กลุม กลุมดาวที่คนไทยรูจักและมองเห็นไดเชน - กลุมดาวจระเข - กลุมดาวเตา กลุมดาวจักรราศี เมื่อโลกโคจรรอบดวงอาทิตยครบ 1 รอบ คนบนโลกเห็นดวงอาทิตยเคลื่อนที่ปรากฏผานกลุมดาวฤกษ 12 กลุม ชวงที่ดวงอาทิตยเคลื่อนที่ปรากฏในเวลาประมาณ 1 เดือน เรียก ราศี เรียกกลุมดาว 12 กลุมวา กลุมดาวจักรราศี แถบราศี คือ ดวงจันทรและดาวเคราะหตาง ๆ เคลื่อนปรากฏผานกลุมดาวจักรราศีเปนแถบรอบทรงกลมทองฟา การหากลุมดาวจักรราศี ทําไดโดยสังเกตจากกลุมดาวที่ปรากฏตรงตําแหนงที่ดวงอาทิตยกําลังลับของฟา ซึ่งจะเปน กลุมดาวที่มีชื่อสัมพันธกับชื่อเดือน กลุมดาวจักรราศีที่ปรากฏอยูบนทองฟา ดานทิศเหนือ มี 6 กลุม - กลุมดาวปลา, แกะ, วัว, คนคู, ปู และกลุมดาวสิงโต กลุมดาวจักรราศีที่ปรากฏอยูบนทองฟา ดานทิศใต มี 6 กลุม - กลุมดาวหญิงพรหมจารี, คันชั่ง, แมงปอง, คนถือธนู, แพะทะเล และกลุมดาวคนแบกหมอน้ํา ดาราจักรทางชางเผือกและเอกภพ ในคืนเดือนมืดทองฟาใสไมมีเมฆหมอก จะเห็นเปนทางสีขาวสลัวพาดผานทองฟา เรียก ทางชางเผือก - พาดจากขอบฟาทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ขอบฟาทิศตะวันออกเฉียงใต - ประกอบดวยดาวฤกษเปนจํานวนมาก - มีฝุนและกาซตางๆ - แนวทางชางเผือกเคลื่อนที่ตลอดเวลา แสดงวา ทางชางเผือกจะปรากฏอยูบนทองฟารอบ โลก - บนทางชางเผือกมีกลุมดาวแมงปอง กลุมดาวคางคาว ดาราจักร คือ ระบบของดวงดาว ประกอบดวย - ดาวฤกษ - เนบิวลา - กาซที่เปลงแสงสวาง - ฝุนธุลีคอสมิก - กาซและที่วาง เอกภพ - ระบบรวมขอบดาราจักร มีวัตถุทองฟาทุกชนิด - กวางใหญไมมีขอบเขต