SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking)
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking)
การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking)
การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)
การคิดวิเคราะห์
(Analytical thinking)
ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบต่างๆ
ของสิ่งใดสอ่งหนึ่งซึ่งอาจจะเป็น วัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือ
เหตุการณ์ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบ
เหล่านั้น เพื่อค้นพบความจริง หรือสิ่งสาคัญ
ความหมาย
ความสาคัญ
1. ผลจากการวิเคราะห์แสดงให้เห็นถึงปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงาน
2. ผลจากการวิเคราะห์สามารถจัดกลุ่มของสาเหตุหลักและสาเหตุรอง
การนาการคิดไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
วีระ สุดสังข์ (2550 : 26-28) ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการคิดสามารถฝึกสมองให้มี
ทักษะการคิดวิเคราะห์ให้พัฒนาขึ้น สามารถฝึกตามขั้นตอนได้ดังนี้
1. กาหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์
2. กาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์
3. กาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์
4. กาหนดการพิจารณาแยกแยะ
5. สรุปคาตอบ
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
(Critical Thinking)
การคิดอย่างมีเหตุผลโดยผ่านการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบครอบ มีหลักเกณฑ์ มี
หลักฐานที่เชื่อถือได้เพื่อนาไปสู่การสรุปและตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพว่าสิ่งใดถูกต้อง
สิ่งใดควรเชื่อ สิ่งใดควรเลือก หรือสิ่งใดควรทา
ความหมาย
1. ทุกสาขาอาชีพ ทุกลักษณะงานในองค์กร จาเป็นต้องใช้ทักษะการคิดอย่างมี
วิจารณญาณในการแก้ปัญหาทั้งสิ้น
2. ผู้ที่มีทักษะด้านนี้ สามารถเข้าใจเนื้อหาความรู้ เชื่อมโยงเหตุและผลได้ จึงมีแนวโน้ม
ที่จะประสบความสาเร็จด้านการศึกษา การงาน และการใช้ชีวิต
3. การเติมทักษะนี้ให้นักเรียน จะช่วยให้พวกเขาพัฒนาและปรับปรุงการเรียนรู้ใน
ห้องเรียน เช่น การเขียน การให้เหตุผล ได้ดียิ่งขึ้นต่อไป
4. ผู้ที่มีทักษะการเรียนรู้มักไม่สร้างปัญหาให้ตนเอง และมีแนวโน้มมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ความสาคัญ
1. สร้างความกระตือรือร้น อยากรู้ อยากเห็น (Curiosity)
2. ฝึกให้มีความกล้าเสี่ยง (Risk Taking)
3. ความยุ่งยากซับซ้อน (Compkexity)
4. กระตุ้นให้เกิดจินตนาการ (Imagination)
การนาการคิดไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
5. ฝึกฝนให้ใจกว้าง (Open Mind)
6. สร้างความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence)
กระบวนการทางปัญญาที่
สามารถขยายขอบเขตความคิดที่มีอยู่เต็มสู่
ความคิดที่แปลกใหม่ แตกต่างไปจาก
ความคิดเดิมและเป็นความที่ใช้ประโยขน์ได้
อย่างเหมาะสม
การคิดสร้างสรรค์
(Creative Thinking)
ความหมาย
ความสาคัญ
ระดับบุคคล
1. สุนทรียภาพความคิดสร้างสรรค์
2. การผ่อนคลายอารมณ์
3. สร้างนิสัยที่ดีในการทางาน
4. โอกาสในการเล่นกับความคิด
ระดับสังคม
1. เกิดนวัตกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง
2. ความปลอดภัยในชีวิต
3. วิธีแก้ปัญหาทางสังคม
4. ความเจริญก้าวหน้า
การนาการคิดไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
1. ขั้นสร้างความตระหนัก : การกระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าสู่เรื่องที่จะเรียนรู้ เช่น เกม เพลง นิทาน
ลีลา ท่าทางต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดความคิดจินตนาการ
2. ขั้นระดมพลังความคิด : เป็นการดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ค้นหาคาตอบ ผู้เรียนต้องมีส่วน
ร่วม โดยผู้สอนทาหน้าที่เหมือนผู้อานวยความสะดวกทุกขั้นตอน
3. ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน : ผู้เรียนได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้คิดหาคาตอบได้แล้ว เกิด
จินตนาการในการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ
4. ขั้นนาสนอผลงาน เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่ผู้เรียนได้มีโอกาสนาเสนอผลงาน วิจารณ์ชิ้นงาน
มีการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานที่เพื่อน ๆ
5. ขั้นวัดและประเมินผล เป็นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้เครื่องมือที่
หลากหลาย ผู้เรียนรู้จักประเมินผลงานตนเองและ
6. ขั้นเผยแพร่ผลงาน ผลงานของผู้เรียนทุกคนทุกกลุ่ม ได้นาไปเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ
เช่น จัดนิทรรศการ และการนาผลงานสู่สาธารณชน
การคิดแก้ปัญหา
(Problem Solving Thinking)
ความสามารถทางสมองที่จะ
คิดพิจรณาไตร่ตรองอย่างพินิจ
พิเคราะห์สิ่งต่างๆ ที่เป็ นประเด็น
สาคัญที่ทาให้สภาวะความไม่สมดุล
เกิดขึ้น โดยพยายามหาหนทาง
คลี่คลายขจัดปัดเป่าประเด็นสาคัญ
เหล่านั้นให้กลับสู่สภาวะสมดุล หรือ
สภาวะที่เคาดหวัง
ความสาคัญ
ผู้ที่มีทักษะการคิดแก้ปัญหาจะ
สามารถเผชิญกับภาวะสังคมที่
เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง ทักษะ
การแก้ปัญหาจึงมิใช่เป็นเพียงการ
รู้จักคิดและรู้จักการใช้สมองหรือ
เป็นทักษะที่มุ่งพัฒนาสติปัญญาแต่
เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเป็น
ทักษะที่สามารถพัฒนาทัศนคติ วิธี
คิด ค่านิยมความรู้ ความเข้าใจใน
สภาพการณ์ของสังคมได้ดีอีกด้วย
การนาการคิดไปใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
ขั้นที่ 1 การเข้าถึงปัญหา เป็นขั้นของการทาความ
เข้าใจ หนึ่งหรือใช้ทุกขั้นตอนตามความชัดเจนของ
ปัญหา ซึ่งมีดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 2 การคิดวิธีการแก้ปัญหา เป็นการคิดหาวิธี
แก้ปัญหาให้มากที่สุด โดยไม่มีการตัดสินว่าความคิด
นั้นผิดหรือถูก
ขั้นที่ 3 การเลือกและเตรียมการ คือการทาให้
วิธีการแก้ปัญหามีความชัดเจนในการปฏิบัติมากยิ่งขึ้น
ขั้นที่ 4 การวางแผนการแก้ปัญหา คือการวาง
แนวทางการแก้ปัญหา
ขั้นที่ 5 การลงมือปฏิบัติ เป็นการนาแผนที่วางไว้ไป
ปฏิบัติจริง มีการกากับตนเองในการแก้ปัญหา
การคิดเชิงคานวณ
(Computational Thinking)
กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การ
จัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล และการ
สร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้นทีละตอน(หรือที่
เรียกว่าอัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่ช่วยให้รับมือ
กับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้
วิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็นในการพัฒนาแอพพลิเคชั่น
ต่างๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ แต่ในขณะเดียวกัน วิธีคิดนี้ยัง
ช่วยแก้ปัญหาในวิชาต่างๆ ได้ด้วย
ความหมาย
1. ทาให้มองเห็นปัญหาได้ครบทุกส่วน (ครบทุก
องค์ประกอบ/ขั้นตอน)
2. ทาให้แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
3. ทาให้แก้ปัญหาแต่ละส่วนได้อย่างอิสระต่อกัน
4. ใช้แบ่งหน้าที่/ความรับผิดชอบและเวลาที่ใช้
ในการแก้ปัญหาแยกกันได้
ความสาคัญ
1. Decomposition (การย่อยปัญหา)
2. Pattern Recognition (การจดจารูปแบบ)
3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม)
4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม)
การนาการคิดไปใช้ใน
การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
https://youtu.be/9A1uJXTSLB8
Kaarkhidtaang

More Related Content

What's hot

Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupTiwawan
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิดNapakan Srionlar
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดSiripornPooyodta
 
การวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะการวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะKruthai Kai
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical groupED-TA-ro
 
การคิด
การคิดการคิด
การคิดTaliw2948
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์Somporn Amornwech
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดIct Krutao
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ThanatchaphornMusika
 
Creticsl Pe
Creticsl PeCreticsl Pe
Creticsl Pemk123
 

What's hot (11)

Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
ทักษะการคิด
ทักษะการคิดทักษะการคิด
ทักษะการคิด
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
การวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะการวัดและประเมินทักษะ
การวัดและประเมินทักษะ
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
การคิด
การคิดการคิด
การคิด
 
D eblog17
D eblog17D eblog17
D eblog17
 
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
5.การประเมินและประโยชน์โครงงานคณิตศาสตร์
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
Creticsl Pe
Creticsl PeCreticsl Pe
Creticsl Pe
 

Similar to Kaarkhidtaang

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์KevalinManwong
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUpantapong
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนO-mu Aomaam
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilitypantapong
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมJirathorn Buenglee
 

Similar to Kaarkhidtaang (20)

Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking การคิด
Thinking การคิดThinking การคิด
Thinking การคิด
 
58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss58210401110 งาน1 ss
58210401110 งาน1 ss
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
การคิดกับวิชาคณิตศาสตร์
 
HR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RUHR and Organization Innovation@RU
HR and Organization Innovation@RU
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Problem based learning 3
Problem based learning 3Problem based learning 3
Problem based learning 3
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
Critical group
Critical groupCritical group
Critical group
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
Tim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capabilityTim how to assess the innovation capability
Tim how to assess the innovation capability
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
analys_web 260658
analys_web 260658analys_web 260658
analys_web 260658
 

Kaarkhidtaang

  • 1.
  • 2. การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking) การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking)
  • 3. การคิดวิเคราะห์ (Analytical thinking) ความสามารถในการจาแนก แยกแยะองค์ประกอบต่างๆ ของสิ่งใดสอ่งหนึ่งซึ่งอาจจะเป็น วัตถุ สิ่งของ เรื่องราว หรือ เหตุการณ์ และหาความสัมพันธ์เชิงเหตุผล ระหว่างองค์ประกอบ เหล่านั้น เพื่อค้นพบความจริง หรือสิ่งสาคัญ ความหมาย ความสาคัญ 1. ผลจากการวิเคราะห์แสดงให้เห็นถึงปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อการดาเนินงาน 2. ผลจากการวิเคราะห์สามารถจัดกลุ่มของสาเหตุหลักและสาเหตุรอง การนาการคิดไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน วีระ สุดสังข์ (2550 : 26-28) ได้กล่าวไว้ว่า วิธีการคิดสามารถฝึกสมองให้มี ทักษะการคิดวิเคราะห์ให้พัฒนาขึ้น สามารถฝึกตามขั้นตอนได้ดังนี้ 1. กาหนดสิ่งที่ต้องการวิเคราะห์ 2. กาหนดปัญหาหรือวัตถุประสงค์ 3. กาหนดหลักการหรือกฎเกณฑ์ 4. กาหนดการพิจารณาแยกแยะ 5. สรุปคาตอบ
  • 4. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอย่างมีเหตุผลโดยผ่านการพิจารณาไตร่ตรองอย่างรอบครอบ มีหลักเกณฑ์ มี หลักฐานที่เชื่อถือได้เพื่อนาไปสู่การสรุปและตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพว่าสิ่งใดถูกต้อง สิ่งใดควรเชื่อ สิ่งใดควรเลือก หรือสิ่งใดควรทา ความหมาย 1. ทุกสาขาอาชีพ ทุกลักษณะงานในองค์กร จาเป็นต้องใช้ทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณในการแก้ปัญหาทั้งสิ้น 2. ผู้ที่มีทักษะด้านนี้ สามารถเข้าใจเนื้อหาความรู้ เชื่อมโยงเหตุและผลได้ จึงมีแนวโน้ม ที่จะประสบความสาเร็จด้านการศึกษา การงาน และการใช้ชีวิต 3. การเติมทักษะนี้ให้นักเรียน จะช่วยให้พวกเขาพัฒนาและปรับปรุงการเรียนรู้ใน ห้องเรียน เช่น การเขียน การให้เหตุผล ได้ดียิ่งขึ้นต่อไป 4. ผู้ที่มีทักษะการเรียนรู้มักไม่สร้างปัญหาให้ตนเอง และมีแนวโน้มมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ความสาคัญ 1. สร้างความกระตือรือร้น อยากรู้ อยากเห็น (Curiosity) 2. ฝึกให้มีความกล้าเสี่ยง (Risk Taking) 3. ความยุ่งยากซับซ้อน (Compkexity) 4. กระตุ้นให้เกิดจินตนาการ (Imagination) การนาการคิดไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน 5. ฝึกฝนให้ใจกว้าง (Open Mind) 6. สร้างความมั่นใจในตนเอง (Self Confidence)
  • 5. กระบวนการทางปัญญาที่ สามารถขยายขอบเขตความคิดที่มีอยู่เต็มสู่ ความคิดที่แปลกใหม่ แตกต่างไปจาก ความคิดเดิมและเป็นความที่ใช้ประโยขน์ได้ อย่างเหมาะสม การคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) ความหมาย ความสาคัญ ระดับบุคคล 1. สุนทรียภาพความคิดสร้างสรรค์ 2. การผ่อนคลายอารมณ์ 3. สร้างนิสัยที่ดีในการทางาน 4. โอกาสในการเล่นกับความคิด ระดับสังคม 1. เกิดนวัตกรรมใหม่อย่างต่อเนื่อง 2. ความปลอดภัยในชีวิต 3. วิธีแก้ปัญหาทางสังคม 4. ความเจริญก้าวหน้า การนาการคิดไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน 1. ขั้นสร้างความตระหนัก : การกระตุ้นให้ผู้เรียนเข้าสู่เรื่องที่จะเรียนรู้ เช่น เกม เพลง นิทาน ลีลา ท่าทางต่าง ๆ ให้ผู้เรียนเกิดความคิดจินตนาการ 2. ขั้นระดมพลังความคิด : เป็นการดึงศักยภาพของผู้เรียนให้ค้นหาคาตอบ ผู้เรียนต้องมีส่วน ร่วม โดยผู้สอนทาหน้าที่เหมือนผู้อานวยความสะดวกทุกขั้นตอน 3. ขั้นสร้างสรรค์ชิ้นงาน : ผู้เรียนได้ผ่านกระบวนการเรียนรู้คิดหาคาตอบได้แล้ว เกิด จินตนาการในการสร้างสรรค์ผลงานในรูปแบบต่าง ๆ 4. ขั้นนาสนอผลงาน เป็นขั้นตอนที่สาคัญที่ผู้เรียนได้มีโอกาสนาเสนอผลงาน วิจารณ์ชิ้นงาน มีการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผลงานที่เพื่อน ๆ 5. ขั้นวัดและประเมินผล เป็นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง โดยใช้เครื่องมือที่ หลากหลาย ผู้เรียนรู้จักประเมินผลงานตนเองและ 6. ขั้นเผยแพร่ผลงาน ผลงานของผู้เรียนทุกคนทุกกลุ่ม ได้นาไปเผยแพร่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จัดนิทรรศการ และการนาผลงานสู่สาธารณชน
  • 6. การคิดแก้ปัญหา (Problem Solving Thinking) ความสามารถทางสมองที่จะ คิดพิจรณาไตร่ตรองอย่างพินิจ พิเคราะห์สิ่งต่างๆ ที่เป็ นประเด็น สาคัญที่ทาให้สภาวะความไม่สมดุล เกิดขึ้น โดยพยายามหาหนทาง คลี่คลายขจัดปัดเป่าประเด็นสาคัญ เหล่านั้นให้กลับสู่สภาวะสมดุล หรือ สภาวะที่เคาดหวัง ความสาคัญ ผู้ที่มีทักษะการคิดแก้ปัญหาจะ สามารถเผชิญกับภาวะสังคมที่ เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง ทักษะ การแก้ปัญหาจึงมิใช่เป็นเพียงการ รู้จักคิดและรู้จักการใช้สมองหรือ เป็นทักษะที่มุ่งพัฒนาสติปัญญาแต่ เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่ยังเป็น ทักษะที่สามารถพัฒนาทัศนคติ วิธี คิด ค่านิยมความรู้ ความเข้าใจใน สภาพการณ์ของสังคมได้ดีอีกด้วย การนาการคิดไปใช้ใน การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ขั้นที่ 1 การเข้าถึงปัญหา เป็นขั้นของการทาความ เข้าใจ หนึ่งหรือใช้ทุกขั้นตอนตามความชัดเจนของ ปัญหา ซึ่งมีดังต่อไปนี้ ขั้นที่ 2 การคิดวิธีการแก้ปัญหา เป็นการคิดหาวิธี แก้ปัญหาให้มากที่สุด โดยไม่มีการตัดสินว่าความคิด นั้นผิดหรือถูก ขั้นที่ 3 การเลือกและเตรียมการ คือการทาให้ วิธีการแก้ปัญหามีความชัดเจนในการปฏิบัติมากยิ่งขึ้น ขั้นที่ 4 การวางแผนการแก้ปัญหา คือการวาง แนวทางการแก้ปัญหา ขั้นที่ 5 การลงมือปฏิบัติ เป็นการนาแผนที่วางไว้ไป ปฏิบัติจริง มีการกากับตนเองในการแก้ปัญหา
  • 7. การคิดเชิงคานวณ (Computational Thinking) กระบวนการแก้ปัญหาในหลากหลายลักษณะ เช่น การ จัดลาดับเชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล และการ สร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไปทีละขั้นทีละตอน(หรือที่ เรียกว่าอัลกอริทึ่ม) รวมทั้งการย่อยปัญหาที่ช่วยให้รับมือ กับปัญหาที่ซับซ้อนหรือมีลักษณะเป็นคาถามปลายเปิดได้ วิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็นในการพัฒนาแอพพลิเคชั่น ต่างๆ สาหรับคอมพิวเตอร์ แต่ในขณะเดียวกัน วิธีคิดนี้ยัง ช่วยแก้ปัญหาในวิชาต่างๆ ได้ด้วย ความหมาย 1. ทาให้มองเห็นปัญหาได้ครบทุกส่วน (ครบทุก องค์ประกอบ/ขั้นตอน) 2. ทาให้แก้ปัญหาได้อย่างเป็นระบบ 3. ทาให้แก้ปัญหาแต่ละส่วนได้อย่างอิสระต่อกัน 4. ใช้แบ่งหน้าที่/ความรับผิดชอบและเวลาที่ใช้ ในการแก้ปัญหาแยกกันได้ ความสาคัญ 1. Decomposition (การย่อยปัญหา) 2. Pattern Recognition (การจดจารูปแบบ) 3. Abstraction (ความคิดด้านนามธรรม) 4. Algorithm Design (การออกแบบอัลกอริทึ่ม) การนาการคิดไปใช้ใน การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน