SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
การย่อยอาหารของไส้เดือนดิน มีระบบทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ คือ ประกอบไปด้วย
ปาก -> คอหอย -> หลอดอาหาร -> กระเพาะพักอาหาร -> กึ๋น -> ลาไส้ -> ทวาร
การเคลื่อนที่ของไส้เดือน ประกอบไปด้วย อวัยวะดังนี้ *กล้ามเนื้อสองชุดได้แก่กล้ามเนื้อวงและ
กล้ามเนื้อตามยาว *เดือย ทาหน้าที่ช่วยบังคับทิศทางในการเคลื่อนที่โดยยึดดินเอาไว้
การรักษาสมดุลยภาพของไส้เดือนดิน มีผิวหนังแลกเปลี่ยนแก๊ส และมีระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ระบบหมุนเวียนเลือด มีโครงสร้างคือหลอดเลือดใหญ่ด้านบนและด้านล่าง ส่วนเส้นเลือดฝอยมีผนังที่
บางมากจะแตกแขนงมาจากหลอดเลือดใหญ่แล้วแทรกเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆของลาตัว และมีหัวใจเทียม
ตรงช่วงหลอดอาหารเชื่อมเส้นเลือดใหญ่ด้านบนและด้านล่าง
ระบบประสาทของไส้เดือนดิน มีปมประสาทขนาดใหญ่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางระบบประสาทรวมทั้งมี
ปมประสาทที่แต่ละปล้องของลาตัวและมีเส้นประสาทด้านท้องเชื่อมติดกันทอดยาวตลอดลาตัวและยัง
มีแขนงประสาทแยกออกไปตามผนังลาตัวเพื่อรับความรู้สึก
-
-
-
-
-
-
*
*
*
*
*
โครงสร้างเกี่ยวกับ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
1. ปาก อยู่บริเวณปล้องแรกสุด มีริมฝีปาก 3 พู ใช้ขุดดินและช่วยในการ
เคลื่อนที่
2. คอหอย อยู่บริเวณปล้องที่ 4-6 ลักษณะพองออกเล็กน้อย มีกล้ามเนื้อหนา
แข็งแรง ช่วยในการกลืนอาหารให้อาหารผ่านเข้าสู่กระเพาะพักอาหารได้
3. หลอดอาหาร อยู่บริเวณปล้องที่ 6-12 ลักษณะเป็นท่อขนาดเล็กกว่า
คอหอย เป็นทางผ่านของอาหาร
4. กระเพาะพักอาหาร อยู่บริเวณปล้องที่ 12-16 ลักษณะเป็นถุงผนังบาง
5. กึ๋น ประกอบด้วยผนังกล้ามเนื้อที่แข็งแรงมาก ทาหน้าที่บดอาหารให้มี
ขนาดเล็กลง
6. ลาไส้ เป็นทางเดินอาหารที่ยาวที่สุด เซลล์ที่บุผนังลาไส้จะปล่อยน้าย่อย
ออกมาย่อยอาหาร อาหารที่ย่อยแล้วจะถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ของร่างกาย
7. ทวารหนัก เป็นช่องเปิดปลายสุด ทาหน้าที่ขับถ่ายกากอาหารออกนอกร่างกาย
เป็นระบบหมุนเวียนเลือด ที่ยังไม่แบ่ง เส้นเลือดแดง และ เส้น
เลือดดา โดยไส้เดือนดินจะใช้เส้นเลือด ( Vessel ) ในการกระจายเลือดไป
ทั่วร่างกายโดยตรง ซึ่งในระบบการลาเลียงเลือดของไส้เดือนดิน
ประกอบด้วยเส้นเลือดหลักอยู่ 3 เส้น คือเส้นเลือดกลางหลัง เส้นเลือดใต้
ลาไส้ และเส้นเลือดด้านท้องและด้านข้างของเส้นประสาท โดยเส้นเลือดทั้ง
3 จะทอดตัวไปตลอดความยาวของลาตัว นอกจากนี้จะมีเส้น เลือดด้านข้าง
ซึ่งเป็นเส้นเลือดเชื่อมระหว่างเลือดกลางหลังกับเส้นเลือดใต้ลาไส้ในช่วง 13
ปล้องแรก เป็นเส้นเลือดขนาดใหญ่บีบหดตัวได้ดีมาก เรียกว่าหัวใจเทียม
น้าเลือด จะมีฮีโมโกลบินละลายอยู่หรือาจไม่มีก็ได้
ขอบคุณ

More Related Content

What's hot

การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติAomiko Wipaporn
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่nik2529
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011Namthip Theangtrong
 

What's hot (20)

การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
ใบกิจกรรมที่ 11 ระบบภูมิคุ้มกันและความผิดปกติ
 
ส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอกส่วนประกอบของดอก
ส่วนประกอบของดอก
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
แบบฝึกหัดแรงและการเคลื่อนที่
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
ชีทสรุประบบสืบพันธุ์และการเจริญ 2011
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆชนิดของเมฆ
ชนิดของเมฆ
 

Similar to ไส้เดือนดิน (IS-2)

ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)AmmyMoreen
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์thitichaya24
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560Aphisit Aunbusdumberdor
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายพัน พัน
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหารPinutchaya Nakchumroon
 

Similar to ไส้เดือนดิน (IS-2) (13)

ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)ไส้เดือนดิน (IS-2)
ไส้เดือนดิน (IS-2)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ ในร่างกายมนุษย์
 
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
ระบบต่าง ๆ-ในร่างกายมนุษย์
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกายการรักษาดุลยภาพของร่างกาย
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหารบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   ย่อยอาหาร
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ ย่อยอาหาร
 

ไส้เดือนดิน (IS-2)

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12. การย่อยอาหารของไส้เดือนดิน มีระบบทางเดินอาหารแบบสมบูรณ์ คือ ประกอบไปด้วย ปาก -> คอหอย -> หลอดอาหาร -> กระเพาะพักอาหาร -> กึ๋น -> ลาไส้ -> ทวาร การเคลื่อนที่ของไส้เดือน ประกอบไปด้วย อวัยวะดังนี้ *กล้ามเนื้อสองชุดได้แก่กล้ามเนื้อวงและ กล้ามเนื้อตามยาว *เดือย ทาหน้าที่ช่วยบังคับทิศทางในการเคลื่อนที่โดยยึดดินเอาไว้ การรักษาสมดุลยภาพของไส้เดือนดิน มีผิวหนังแลกเปลี่ยนแก๊ส และมีระบบหมุนเวียนเลือดเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนแก๊ส ระบบหมุนเวียนเลือด มีโครงสร้างคือหลอดเลือดใหญ่ด้านบนและด้านล่าง ส่วนเส้นเลือดฝอยมีผนังที่ บางมากจะแตกแขนงมาจากหลอดเลือดใหญ่แล้วแทรกเข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆของลาตัว และมีหัวใจเทียม ตรงช่วงหลอดอาหารเชื่อมเส้นเลือดใหญ่ด้านบนและด้านล่าง ระบบประสาทของไส้เดือนดิน มีปมประสาทขนาดใหญ่ทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางระบบประสาทรวมทั้งมี ปมประสาทที่แต่ละปล้องของลาตัวและมีเส้นประสาทด้านท้องเชื่อมติดกันทอดยาวตลอดลาตัวและยัง มีแขนงประสาทแยกออกไปตามผนังลาตัวเพื่อรับความรู้สึก
  • 13.
  • 16. โครงสร้างเกี่ยวกับ ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 1. ปาก อยู่บริเวณปล้องแรกสุด มีริมฝีปาก 3 พู ใช้ขุดดินและช่วยในการ เคลื่อนที่ 2. คอหอย อยู่บริเวณปล้องที่ 4-6 ลักษณะพองออกเล็กน้อย มีกล้ามเนื้อหนา แข็งแรง ช่วยในการกลืนอาหารให้อาหารผ่านเข้าสู่กระเพาะพักอาหารได้ 3. หลอดอาหาร อยู่บริเวณปล้องที่ 6-12 ลักษณะเป็นท่อขนาดเล็กกว่า คอหอย เป็นทางผ่านของอาหาร 4. กระเพาะพักอาหาร อยู่บริเวณปล้องที่ 12-16 ลักษณะเป็นถุงผนังบาง 5. กึ๋น ประกอบด้วยผนังกล้ามเนื้อที่แข็งแรงมาก ทาหน้าที่บดอาหารให้มี ขนาดเล็กลง 6. ลาไส้ เป็นทางเดินอาหารที่ยาวที่สุด เซลล์ที่บุผนังลาไส้จะปล่อยน้าย่อย ออกมาย่อยอาหาร อาหารที่ย่อยแล้วจะถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์ของร่างกาย 7. ทวารหนัก เป็นช่องเปิดปลายสุด ทาหน้าที่ขับถ่ายกากอาหารออกนอกร่างกาย
  • 17.
  • 18. เป็นระบบหมุนเวียนเลือด ที่ยังไม่แบ่ง เส้นเลือดแดง และ เส้น เลือดดา โดยไส้เดือนดินจะใช้เส้นเลือด ( Vessel ) ในการกระจายเลือดไป ทั่วร่างกายโดยตรง ซึ่งในระบบการลาเลียงเลือดของไส้เดือนดิน ประกอบด้วยเส้นเลือดหลักอยู่ 3 เส้น คือเส้นเลือดกลางหลัง เส้นเลือดใต้ ลาไส้ และเส้นเลือดด้านท้องและด้านข้างของเส้นประสาท โดยเส้นเลือดทั้ง 3 จะทอดตัวไปตลอดความยาวของลาตัว นอกจากนี้จะมีเส้น เลือดด้านข้าง ซึ่งเป็นเส้นเลือดเชื่อมระหว่างเลือดกลางหลังกับเส้นเลือดใต้ลาไส้ในช่วง 13 ปล้องแรก เป็นเส้นเลือดขนาดใหญ่บีบหดตัวได้ดีมาก เรียกว่าหัวใจเทียม น้าเลือด จะมีฮีโมโกลบินละลายอยู่หรือาจไม่มีก็ได้
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.