SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
โปรแกรมระบบห้องสมุด (Library System)
คุณลักษณะระบบโปรแกรมห้องสมุด
1. รายละเอียดทั่วไป
1.1 สามารถรองรับการจัดเก็บข้อมูลที่มีปริมาณทรัพยากรไม่น้อยกว่า 100,000 ระเบียนข้อมูล
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2 มีระบบการจัดเก็บข้อมูลของทรัพยากรสารนิเทศทุกชนิด ซึ่งแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน คือ หนั งสือ
วารสาร และโสตทัศนวัสดุ
1.3 ระบบสามารถรองรับการใช้งาน Call Number แบบ Dewey, LC, NLM หรือผู้ใช้กําหนดเอง
(Local call number)
1.4 สามารถติดตั ้งไว้บนระบบเครือข่ายของห้องสมุด
เพื่อสามารถสืบค้นหนั งสือจากฐานข้อมูลหนั งสือได้อย่างถูกต้อง
2. ระบบจัดเก็บข้อมูล ประกอบด้วย
● ระบบทะเบียนหนั งสือ
● ระบบทะเบียนวารสาร
● ระบบทะเบียนโสตทัศนวัสดุ
2.1 สามารถบันทึก ค้นหา แก้ไข ข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศได้ทุกประเภท เช่น หนั งสือ วารสาร
แฟ้ มภาพ แฟ้ มเสียง แฟ้ มสไลด์ และแฟ้ มวีดีโอ ได้
2.2 สามารถกําหนดชื่อเรื่อง หัวเรื่อง และชื่อผู้แต่งได้ไม่จํากัดจํานวน
2.3 สามารถกําหนดหนั งสือห้ามยืมออกได้
2.4 สามารถกําหนดจํานวนวันยืมของสื่อ พร้อมอัตราค่าปรับได้
2.5 สามารถกําหนดระยะเวลาการยืมต่อเนื่องได้
2.6 สามารถใส่รูปภาพสื่อ หรือ Logo หน้าจอได้
2.7 สามารถตรวจสอบการกระโดดข้ามของเลขทะเบียน เพื่อประโยชน์ในการนํามาใช้ใหม่ได้
2.8 สามารถตรวจสอบสื่อที่คีย์ซํ้ากันได้
2.9 สามารถสรุปจํานวนสื่อในห้องสมุดได้ว่าเหลืออยู่ทั ้งหมดเท่าไหร่
และสามารถสรุปแยกแต่ละประเภทหรือภาษาได้ว่ามีอยู่กี่เล่ม
2.10 ระบบสามารถทํา Barcode และสันหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุได้ ทั ้งนี้การพิมพ์ Barcode
และสันหนั งสือมีให้เลือกหลายรูปแบบ และสามารถพิมพ์ได้หลายชุดตามความต้องการของผู้ใช้
2.11 สามารถ Copy ข้อมูลที่มีสื่อซํ้ากันได้ โดยที่ผู้ใช้ระบบไม่ต้องคีย์ข้อมูล
2.12 สามารถตรวจสอบหรือเช็ค Stock หนั งสือ ตามหมวดหมู่หนั งสือและภาษาได้
2.13 กรณีที่ทําการตรวจสอบหนั งสือแล้วพบว่า หมวด/หมู่ และภาษาไม่ตรงกันกับที่กําหนดไว้
ระบบจะแสดงสัญญาณเตือนให้ทราบ
2.14 ระบบสามารถสรุปได้ว่า หนั งสือเหลืออยู่ทั ้งหมดกี่เล่ม ซึ่งแยกออกมาได้ว่า
อยู่กี่เล่ม/ยืมกี่เล่ม/จําหน่ายกี่เล่ม/สูญหายกี่เล่ม
2.15 ระบบจะสรุปจํานวนสื่อทั ้งหมดที่ได้บันทึกไว้ให้โดยอัตโนมัติ โดยระบบจะแยกตามภาษา
หรือแยกตามหมวดต่าง ๆ
2.16 ระบบสามารถสรุปสื่อได้ว่ามีอยู่จํานวนทั ้งหมดเท่าไหร่ โดยแยกตามภาษา
2.17 สามารถกําหนดวารสารเล่มปลีก/รวมเล่มได้
2.18 สามารถกําหนดดัชนีวารสาร/ดัชนีโสตทัศนวัสดุ
2.19 สามารถใส่รูปภาพสื่อ หรือ Logo หน้าจอได้
รายงานระบบทะเบียนหนั งสือ
2.20 รายงานทะเบียนหนั งสือ แยกตามหมวดหนั งสือ และเลขหมู่
2.21 รายงานทะเบียนหนั งสือ แยกตามหมวดหนั งสือและภาษา
2.22 รายงานทะเบียนแยกตามสถานที่เก็บและชั ้นวาง
2.23 รายงานทะเบียนหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ
2.24 พิมพ์ Barcode สันหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ
2.25 รายชื่อหนั งสือใหม่/วารสารใหม่/โสตทัศนวัสดุ
2.26 รายการอ้างอิง และบรรณานุกรมหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ
2.27 พิมพ์บัตรรายการ
3. ระบบทะเบียนสมาชิก
3.1 สามารถกําหนดทะเบียนสมาชิก พร้อมกับรายละเอียดสมาชิก
3.2 สามารถกําหนดอัตราการยืมของสมาชิกแต่ละรายได้
3.3 สามารถกําหนดการงดยืม/ให้ยืมของสมาชิกได้
3.4 สามารถพิมพ์บัตรสมาชิก พร้อมรหัสบาร์โค้ด โดยรหัสบาร์โค้ดมาจากฐานข้อมูลสมาชิก
ทั ้งนี้โปรแกรมสามารถใส่รูปสมาชิกได้
รายงานทะเบียนสมาชิก
3.5 รายละเอียดทะเบียนสมาชิกห้องสมุด
3.6 พิมพ์บัตรสมาชิกห้องสมุด
3.7 สถิติสมาชิก แยกตามประเภทสมาชิก
3.8 สถิติสมาชิกใหม่ประจําเดือน
4. ระบบยืม-คืน-จอง ยืมคืน
4.1 สามารถกําหนดระยะเวลาการยืม-คืน สื่อแต่ละประเภท
โดยกําหนดให้แตกต่างกันตามประเภทสมาชิกและประเภทสื่อ
4.2 สามารถใช้ Barcode หรือ Keyboard ในการยืม-คืน สื่อ
4.3 สามารถกําหนดวันหยุด หรือ ปฏิทินสําหรับการเปิดและปิดห้องสมุดได้ด้วย
เพื่อความสะดวกในการให้บริการ และโปรแกรมจะคํานวณค่าปรับ รวมถึงกําหนดการคืนให้
โดยอ้างอิงจากตารางวันหยุดที่กําหนด
4.4 สามารถทําการยืมและคืนในหน้าจอเดียวกันได้โดยไม่ต้องสลับหน้าจอ
4.5 สามารถพิมพ์เอกสารกํากับการยืม-คืน ได้ รวมทั ้งหลักฐานการรับเงินค่าปรับ
4.6 ระบบสามารถบอกจํานวนหนั งสือที่ยืมพร้อมทั ้งวันกําหนดส่งได้
4.7 ระบบจะเตือนให้ทราบหากยืมหนั งสือเกินรายการที่กําหนด
4.8 สามารถตรวจสอบรายชื่อสมาชิกที่ยืมสื่อเกินกําหนดส่ง
4.9 ในกรณีที่ยืมมีรายการจองอยู่ ระบบจะเตือนโดยอัตโนมัติ
4.10 ในกรณีที่นําสื่อมาคืนและมีรายการจองอยู่ ระบบจะมีการเตือนโดยอัตโนมัติ
4.11 หากสมาชิกต้องการยืมหนั งสือต่อ หนั งสือที่คืนระบบจะสามารถให้ยืมต่อได้ทันที
4.12 สามารถรับคืนสื่อย้อนหลังได้
4.13 หากมีหนั งสือที่เกินกําหนดส่ง ระบบจะแสดงค่าปรับพร้อมกับจํานวนวันที่เกิน
4.14 ในกรณีที่สมาชิกค้างค่าปรับ ระบบจะแสดงค่าปรับที่ค้างออกมาให้โดยอัตโนมัติ
4.15 สามารถคืนหนั งสือแบบไม่มีเลขสมาชิกได้ ในกรณีที่จําเลขทะเบียนสมาชิกไม่ได้
4.16 ระบบจะจัดลําดับการจองของสมาชิกให้โดยอัตโนมัติ โดยยึด วันที่ และ เวลาเป็นหลัก
4.17 ระบบจะแสดงข้อมูลในการจองทั ้งหมด
4.18 สมาชิกสามารถทําการจองสื่อได้ด้วยตนเองจากระบบสืบค้น
4.19 สามารถดูรายชื่อผู้ที่จองสื่อและลําดับการจองพร้อมที่อยู่ได้
4.20 ระบบสามารถลบข้อมูลการจองให้โดยอัตโนมัติ เมื่อสมาชิกยืมหนั งสือที่จองเรียบร้อยแล้ว
4.21 สามารถพิมพ์รายงานการทวงสื่อแต่ละครั ้งได้
4.22 สามารถนําข้อมูลหนั งสือจาก Cataloging Module มาออกบัตรรายการและพิมพ์ออกมาได้
4.23 สามารถปรับแก้ข้อมูลในหน้าจอก่อพิมพ์จริง โดยข้อมูลที่ปรับแก้นั ้น
จะไม่กระทบกับข้อมูลในฐานข้อมูลบรรณานุกรม
4.24 บัตรรายการที่ได้จากระบบต้องสามารถเลือกให้พิมพ์ทั ้งชุด และพิมพ์เฉพาะบางส่วนได้ เช่น
เลือกพิมพ์เฉพาะบัตรชื่อเรื่อง, บัตรหัวเรื่อง เป็นต้น
4.25 สามารถเลือกพิมพ์ Barcode และสันหนั งสือไดทั ้งชุด หรือเลือกเฉพาะบางส่วนได้
รายงานระบบยืม-คืน-จอง
4.26 รายการยืมหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ ประจําวัน
4.27 รายการคืนหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ ประจําวัน
4.28 รายการจองหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ ประจําวัน
4.29 ยอดค่าปรับประจําวัน
4.30 รายงานค้างส่งหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ
4.31 สถิติการยืมหนั งสือแต่ละประเภท
4.32 สถิติการยืมวารสารแต่ละประเภท
4.33 สถิติการยืมโสตทัศนวัสดุแต่ละประเภท
4.34 สถิติการยืมหนั งสือพิมพ์
4.35 สถิติการยืมหนั งสือแยกตามหมวดหมู่
4.36 สถิติการยืมโสตทัศนวัสดุแต่ละประเภท
4.37 สถิติการจองสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุ
4.38 สถิติการเก็บสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุ
4.39 สถิติการยืม-จองของสมาชิก
4.40 สถิติการยืม-จองของหนั งสือ
4.41 สถิติการยืม-จองของวารสาร
4.42 สถิติการยืม-จองของของโสตทัศนวัสดุ
5. ระบบการเข้าใช้บริหารห้องสมุด
5.1 สามารถใช้ร่วมงานกับเครื่องรูดบัตรได้
5.2 สามารถบันทึกเวลาเข้า-ออก ของผู้ใช้บริหารในแต่ละวันได้
โดยแยกตามจํานวนประเภทสมาชิก-ช่วงเวลา
5.3 มีรหัสผ่านสําหรับหน้าจอ การเข้าใช้บริการห้องสมุด
รายงานระบบบริหารเข้าใช้ห้องสมุด
5.4 สถิติการเข้าใช้บริการ
6. ระบบสืบค้นบน Intranet และ Internet
6.1 สามารถทํางานบนโปรแกรม Browser ทั่วไปได้ เช่น Internet Explorer เป็นต้น
6.2 สามารถสืบค้นได้หลายวิธีตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น ค้นหาตามชื่อผู้แต่ง, ชื่อเรื่อง, หัวเรื่อง,
ISBN, เลขหมู่หนั งสือ และอื่น ๆ
6.3 การสืบค้นแบบ Keyword Search จะต้องได้ผลการสืบค้นตรงตามข้อมูลที่สืบค้นได้
6.4 สมาชิกสามารถตรวจสอบประวัติการยืม, ตรวจสอบค้างส่ง, เกินกําหนด, จองสื่อต่าง ๆ ได้
6.5 สามารถทํางานผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.6 ระบบมีรหัสผ่านป้ องกันก่อนออกจากหน้าจอ
รายงานระบบสืบค้น
6.7 สถิติการให้บริการสืบค้นข้อมูล
6.8 สถิติการให้บริการจอง
6.9 สถิติการยืม/จองของหนั งสือ
6.10 สถิติการยืม/จองของวารสาร
6.11 สถิติการยืม/จองของโสตทัศนวัสดุ

More Related Content

What's hot

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลMareeyalosocity
 
Database
DatabaseDatabase
Databasepaween
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนSupaporn Khiewwan
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศNuttaput Suriyakamonphat
 
การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ 
การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ 
การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ siwaporn_jo
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลGatesiree G'ate
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 

What's hot (17)

การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
K14
K14K14
K14
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
it-09-05
it-09-05it-09-05
it-09-05
 
Database
DatabaseDatabase
Database
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
work3
work3 work3
work3
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ 
การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ 
การจัดการข้อมูลให้เป็นสารสนเทศและระดับสารสนเทศ 
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 

Similar to Librarysystem

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Nuth Otanasap
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายNote Narudaj
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2เขมิกา กุลาศรี
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นSukanya Burana
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลskiats
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจKanatip Anuchit
 

Similar to Librarysystem (10)

Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Onlinedatabase
OnlinedatabaseOnlinedatabase
Onlinedatabase
 
Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4Operating System Chapter 4
Operating System Chapter 4
 
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายสื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
สื่อการเรียนการสอน วิชาการสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต2
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูลLecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
Lecture1 การประมวลผลข้อมูล และฐานข้อมูล
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 

More from 4lifesecret

ระบบบัญชีครบวงจร
ระบบบัญชีครบวงจรระบบบัญชีครบวงจร
ระบบบัญชีครบวงจร4lifesecret
 
ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์4lifesecret
 
โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์4lifesecret
 
รางระบายน้ำ
รางระบายน้ำรางระบายน้ำ
รางระบายน้ำ4lifesecret
 
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้าอุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า4lifesecret
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย4lifesecret
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...4lifesecret
 
Dr.tamil's talk on jul 31,2010
Dr.tamil's talk on jul 31,2010Dr.tamil's talk on jul 31,2010
Dr.tamil's talk on jul 31,20104lifesecret
 
Compass workshop
Compass  workshopCompass  workshop
Compass workshop4lifesecret
 
Compass workshop
Compass  workshopCompass  workshop
Compass workshop4lifesecret
 
Compass workshop
Compass  workshopCompass  workshop
Compass workshop4lifesecret
 

More from 4lifesecret (12)

ระบบบัญชีครบวงจร
ระบบบัญชีครบวงจรระบบบัญชีครบวงจร
ระบบบัญชีครบวงจร
 
ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
ระบบเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
 
โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
โปรแกรมเช่าซื้อเงินกู้ไฟแนนซ์
 
รางระบายน้ำ
รางระบายน้ำรางระบายน้ำ
รางระบายน้ำ
 
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้าอุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
อุปกรณ์ติดตั้งงานไฟฟ้า
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย
 
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...
ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์เข้ารับการคัดเลือกเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยสายวิชาการ ตำ...
 
Dr.tamil's talk on jul 31,2010
Dr.tamil's talk on jul 31,2010Dr.tamil's talk on jul 31,2010
Dr.tamil's talk on jul 31,2010
 
Compass workshop
Compass  workshopCompass  workshop
Compass workshop
 
Compass workshop
Compass  workshopCompass  workshop
Compass workshop
 
Compass workshop
Compass  workshopCompass  workshop
Compass workshop
 
Rewards plan
Rewards planRewards plan
Rewards plan
 

Librarysystem

  • 1. โปรแกรมระบบห้องสมุด (Library System) คุณลักษณะระบบโปรแกรมห้องสมุด 1. รายละเอียดทั่วไป 1.1 สามารถรองรับการจัดเก็บข้อมูลที่มีปริมาณทรัพยากรไม่น้อยกว่า 100,000 ระเบียนข้อมูล ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.2 มีระบบการจัดเก็บข้อมูลของทรัพยากรสารนิเทศทุกชนิด ซึ่งแบ่งเป็นฐาน 3 ฐาน คือ หนั งสือ วารสาร และโสตทัศนวัสดุ 1.3 ระบบสามารถรองรับการใช้งาน Call Number แบบ Dewey, LC, NLM หรือผู้ใช้กําหนดเอง (Local call number) 1.4 สามารถติดตั ้งไว้บนระบบเครือข่ายของห้องสมุด เพื่อสามารถสืบค้นหนั งสือจากฐานข้อมูลหนั งสือได้อย่างถูกต้อง 2. ระบบจัดเก็บข้อมูล ประกอบด้วย ● ระบบทะเบียนหนั งสือ ● ระบบทะเบียนวารสาร ● ระบบทะเบียนโสตทัศนวัสดุ 2.1 สามารถบันทึก ค้นหา แก้ไข ข้อมูลทรัพยากรสารนิเทศได้ทุกประเภท เช่น หนั งสือ วารสาร แฟ้ มภาพ แฟ้ มเสียง แฟ้ มสไลด์ และแฟ้ มวีดีโอ ได้ 2.2 สามารถกําหนดชื่อเรื่อง หัวเรื่อง และชื่อผู้แต่งได้ไม่จํากัดจํานวน 2.3 สามารถกําหนดหนั งสือห้ามยืมออกได้ 2.4 สามารถกําหนดจํานวนวันยืมของสื่อ พร้อมอัตราค่าปรับได้ 2.5 สามารถกําหนดระยะเวลาการยืมต่อเนื่องได้ 2.6 สามารถใส่รูปภาพสื่อ หรือ Logo หน้าจอได้ 2.7 สามารถตรวจสอบการกระโดดข้ามของเลขทะเบียน เพื่อประโยชน์ในการนํามาใช้ใหม่ได้ 2.8 สามารถตรวจสอบสื่อที่คีย์ซํ้ากันได้ 2.9 สามารถสรุปจํานวนสื่อในห้องสมุดได้ว่าเหลืออยู่ทั ้งหมดเท่าไหร่ และสามารถสรุปแยกแต่ละประเภทหรือภาษาได้ว่ามีอยู่กี่เล่ม 2.10 ระบบสามารถทํา Barcode และสันหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุได้ ทั ้งนี้การพิมพ์ Barcode และสันหนั งสือมีให้เลือกหลายรูปแบบ และสามารถพิมพ์ได้หลายชุดตามความต้องการของผู้ใช้ 2.11 สามารถ Copy ข้อมูลที่มีสื่อซํ้ากันได้ โดยที่ผู้ใช้ระบบไม่ต้องคีย์ข้อมูล 2.12 สามารถตรวจสอบหรือเช็ค Stock หนั งสือ ตามหมวดหมู่หนั งสือและภาษาได้ 2.13 กรณีที่ทําการตรวจสอบหนั งสือแล้วพบว่า หมวด/หมู่ และภาษาไม่ตรงกันกับที่กําหนดไว้ ระบบจะแสดงสัญญาณเตือนให้ทราบ 2.14 ระบบสามารถสรุปได้ว่า หนั งสือเหลืออยู่ทั ้งหมดกี่เล่ม ซึ่งแยกออกมาได้ว่า อยู่กี่เล่ม/ยืมกี่เล่ม/จําหน่ายกี่เล่ม/สูญหายกี่เล่ม 2.15 ระบบจะสรุปจํานวนสื่อทั ้งหมดที่ได้บันทึกไว้ให้โดยอัตโนมัติ โดยระบบจะแยกตามภาษา หรือแยกตามหมวดต่าง ๆ 2.16 ระบบสามารถสรุปสื่อได้ว่ามีอยู่จํานวนทั ้งหมดเท่าไหร่ โดยแยกตามภาษา 2.17 สามารถกําหนดวารสารเล่มปลีก/รวมเล่มได้ 2.18 สามารถกําหนดดัชนีวารสาร/ดัชนีโสตทัศนวัสดุ 2.19 สามารถใส่รูปภาพสื่อ หรือ Logo หน้าจอได้
  • 2. รายงานระบบทะเบียนหนั งสือ 2.20 รายงานทะเบียนหนั งสือ แยกตามหมวดหนั งสือ และเลขหมู่ 2.21 รายงานทะเบียนหนั งสือ แยกตามหมวดหนั งสือและภาษา 2.22 รายงานทะเบียนแยกตามสถานที่เก็บและชั ้นวาง 2.23 รายงานทะเบียนหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ 2.24 พิมพ์ Barcode สันหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ 2.25 รายชื่อหนั งสือใหม่/วารสารใหม่/โสตทัศนวัสดุ 2.26 รายการอ้างอิง และบรรณานุกรมหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ 2.27 พิมพ์บัตรรายการ 3. ระบบทะเบียนสมาชิก 3.1 สามารถกําหนดทะเบียนสมาชิก พร้อมกับรายละเอียดสมาชิก 3.2 สามารถกําหนดอัตราการยืมของสมาชิกแต่ละรายได้ 3.3 สามารถกําหนดการงดยืม/ให้ยืมของสมาชิกได้ 3.4 สามารถพิมพ์บัตรสมาชิก พร้อมรหัสบาร์โค้ด โดยรหัสบาร์โค้ดมาจากฐานข้อมูลสมาชิก ทั ้งนี้โปรแกรมสามารถใส่รูปสมาชิกได้ รายงานทะเบียนสมาชิก 3.5 รายละเอียดทะเบียนสมาชิกห้องสมุด 3.6 พิมพ์บัตรสมาชิกห้องสมุด 3.7 สถิติสมาชิก แยกตามประเภทสมาชิก 3.8 สถิติสมาชิกใหม่ประจําเดือน 4. ระบบยืม-คืน-จอง ยืมคืน 4.1 สามารถกําหนดระยะเวลาการยืม-คืน สื่อแต่ละประเภท โดยกําหนดให้แตกต่างกันตามประเภทสมาชิกและประเภทสื่อ 4.2 สามารถใช้ Barcode หรือ Keyboard ในการยืม-คืน สื่อ 4.3 สามารถกําหนดวันหยุด หรือ ปฏิทินสําหรับการเปิดและปิดห้องสมุดได้ด้วย เพื่อความสะดวกในการให้บริการ และโปรแกรมจะคํานวณค่าปรับ รวมถึงกําหนดการคืนให้ โดยอ้างอิงจากตารางวันหยุดที่กําหนด 4.4 สามารถทําการยืมและคืนในหน้าจอเดียวกันได้โดยไม่ต้องสลับหน้าจอ 4.5 สามารถพิมพ์เอกสารกํากับการยืม-คืน ได้ รวมทั ้งหลักฐานการรับเงินค่าปรับ 4.6 ระบบสามารถบอกจํานวนหนั งสือที่ยืมพร้อมทั ้งวันกําหนดส่งได้ 4.7 ระบบจะเตือนให้ทราบหากยืมหนั งสือเกินรายการที่กําหนด 4.8 สามารถตรวจสอบรายชื่อสมาชิกที่ยืมสื่อเกินกําหนดส่ง 4.9 ในกรณีที่ยืมมีรายการจองอยู่ ระบบจะเตือนโดยอัตโนมัติ 4.10 ในกรณีที่นําสื่อมาคืนและมีรายการจองอยู่ ระบบจะมีการเตือนโดยอัตโนมัติ 4.11 หากสมาชิกต้องการยืมหนั งสือต่อ หนั งสือที่คืนระบบจะสามารถให้ยืมต่อได้ทันที 4.12 สามารถรับคืนสื่อย้อนหลังได้ 4.13 หากมีหนั งสือที่เกินกําหนดส่ง ระบบจะแสดงค่าปรับพร้อมกับจํานวนวันที่เกิน 4.14 ในกรณีที่สมาชิกค้างค่าปรับ ระบบจะแสดงค่าปรับที่ค้างออกมาให้โดยอัตโนมัติ 4.15 สามารถคืนหนั งสือแบบไม่มีเลขสมาชิกได้ ในกรณีที่จําเลขทะเบียนสมาชิกไม่ได้
  • 3. 4.16 ระบบจะจัดลําดับการจองของสมาชิกให้โดยอัตโนมัติ โดยยึด วันที่ และ เวลาเป็นหลัก 4.17 ระบบจะแสดงข้อมูลในการจองทั ้งหมด 4.18 สมาชิกสามารถทําการจองสื่อได้ด้วยตนเองจากระบบสืบค้น 4.19 สามารถดูรายชื่อผู้ที่จองสื่อและลําดับการจองพร้อมที่อยู่ได้ 4.20 ระบบสามารถลบข้อมูลการจองให้โดยอัตโนมัติ เมื่อสมาชิกยืมหนั งสือที่จองเรียบร้อยแล้ว 4.21 สามารถพิมพ์รายงานการทวงสื่อแต่ละครั ้งได้ 4.22 สามารถนําข้อมูลหนั งสือจาก Cataloging Module มาออกบัตรรายการและพิมพ์ออกมาได้ 4.23 สามารถปรับแก้ข้อมูลในหน้าจอก่อพิมพ์จริง โดยข้อมูลที่ปรับแก้นั ้น จะไม่กระทบกับข้อมูลในฐานข้อมูลบรรณานุกรม 4.24 บัตรรายการที่ได้จากระบบต้องสามารถเลือกให้พิมพ์ทั ้งชุด และพิมพ์เฉพาะบางส่วนได้ เช่น เลือกพิมพ์เฉพาะบัตรชื่อเรื่อง, บัตรหัวเรื่อง เป็นต้น 4.25 สามารถเลือกพิมพ์ Barcode และสันหนั งสือไดทั ้งชุด หรือเลือกเฉพาะบางส่วนได้ รายงานระบบยืม-คืน-จอง 4.26 รายการยืมหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ ประจําวัน 4.27 รายการคืนหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ ประจําวัน 4.28 รายการจองหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ ประจําวัน 4.29 ยอดค่าปรับประจําวัน 4.30 รายงานค้างส่งหนั งสือ/วารสาร/โสตทัศนวัสดุ 4.31 สถิติการยืมหนั งสือแต่ละประเภท 4.32 สถิติการยืมวารสารแต่ละประเภท 4.33 สถิติการยืมโสตทัศนวัสดุแต่ละประเภท 4.34 สถิติการยืมหนั งสือพิมพ์ 4.35 สถิติการยืมหนั งสือแยกตามหมวดหมู่ 4.36 สถิติการยืมโสตทัศนวัสดุแต่ละประเภท 4.37 สถิติการจองสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุ 4.38 สถิติการเก็บสิ่งพิมพ์และโสตทัศนวัสดุ 4.39 สถิติการยืม-จองของสมาชิก 4.40 สถิติการยืม-จองของหนั งสือ 4.41 สถิติการยืม-จองของวารสาร 4.42 สถิติการยืม-จองของของโสตทัศนวัสดุ 5. ระบบการเข้าใช้บริหารห้องสมุด 5.1 สามารถใช้ร่วมงานกับเครื่องรูดบัตรได้ 5.2 สามารถบันทึกเวลาเข้า-ออก ของผู้ใช้บริหารในแต่ละวันได้ โดยแยกตามจํานวนประเภทสมาชิก-ช่วงเวลา 5.3 มีรหัสผ่านสําหรับหน้าจอ การเข้าใช้บริการห้องสมุด รายงานระบบบริหารเข้าใช้ห้องสมุด 5.4 สถิติการเข้าใช้บริการ
  • 4. 6. ระบบสืบค้นบน Intranet และ Internet 6.1 สามารถทํางานบนโปรแกรม Browser ทั่วไปได้ เช่น Internet Explorer เป็นต้น 6.2 สามารถสืบค้นได้หลายวิธีตามความต้องการของผู้ใช้ เช่น ค้นหาตามชื่อผู้แต่ง, ชื่อเรื่อง, หัวเรื่อง, ISBN, เลขหมู่หนั งสือ และอื่น ๆ 6.3 การสืบค้นแบบ Keyword Search จะต้องได้ผลการสืบค้นตรงตามข้อมูลที่สืบค้นได้ 6.4 สมาชิกสามารถตรวจสอบประวัติการยืม, ตรวจสอบค้างส่ง, เกินกําหนด, จองสื่อต่าง ๆ ได้ 6.5 สามารถทํางานผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.6 ระบบมีรหัสผ่านป้ องกันก่อนออกจากหน้าจอ รายงานระบบสืบค้น 6.7 สถิติการให้บริการสืบค้นข้อมูล 6.8 สถิติการให้บริการจอง 6.9 สถิติการยืม/จองของหนั งสือ 6.10 สถิติการยืม/จองของวารสาร 6.11 สถิติการยืม/จองของโสตทัศนวัสดุ