SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
จั ด ทาโดย
นาย ภุ ชิ ส ส์
นาย ศุ ภ กร
นาย แทนกาย
นาย อั ช ระพนธ์
นาย ปุ ณยวี ร์

สุ ข ล้ น
ทรงพานิ ช
ใจหาญ
ศิ ล มั ธ
ชนานั นท์

ชั้ น ม.6/1
ชั้ น ม.6/1
ชั้ น ม.6/1
ชั้ น ม.6/1
ชั้ น ม.6/1

เลขที่ 13
เลขที่ 24
เลขที่ 27
เลขที่ 28
เลขที่ 29
แผ่นดินไหวเป็นปรากฏการณ์สั่นสะเทือนหรือเขย่าของพื้นผิวโลกเพื่อ
ปรับตัวให้อยู่ในสภาวะสมดุลสาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหวนั้นส่วนใหญ่เกิด
จากธรรมชาติโดยแผ่นดินไหวบางลักษณะสามารถเกิดจากการกระทาของมนุษย์
ได้ แต่มีความรุนแรงน้อยกว่าที่เกิดขึ้นเองจากธรรมชาติ ในวันหนึง ๆ จะเกิด
่
แผ่นดินไหวประมาณ 1,000 ครั้งซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นแผ่นดินไหวที่มีการ
สั่นสะเทือนเพียงเบา ๆ เท่านันคนทั่วไปไม่รู้สึก
้
แผ่นดินไหวจากธรรมชาติโดยปกติเกิดจากการเคลื่อนไหวของ
รอยเลื่อนภายในชั้นเปลือกโลกที่อยู่ด้านนอกสุดของโครงสร้างของ
โลก มีการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ อยู่เสมอ แผ่นดินไหวจะ
เกิดขึ้นเมื่อความเค้นอันเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลงมีมากเกินไป
การสร้างเขื่อนและอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ซึ่งอาจพบปัญหา
การเกิดแผ่นดินไหวเนื่องจากน้าหนักของน้าในเขื่อนกระตุ้นให้เกิด
การปลดปล่อยพลังงานท้าให้สภาวะความเครียดของแรงในบริเวณนัน
เปลี่ยนแปลงไปรวมทังท้าให้แรงดันของน้าเพิ่มสูงขึนส่งผลให้เกิด
พลังงานต้านทานที่สะสมตัวในชันหินเรียกแผ่นดินไหวลักษณะนีว่า
แผ่นดินไหวท้องถิ่นส่วนมากจะมีศูนย์กลางอยู่ที่ระดับความลึก 5-10
กิโลเมตรขนาดและความถี่ของการเกิดแผ่นดินไหวจะลดลงเรื่อย ๆ
จนกระทั่งเข้าสู่ภาวะปกติ
รายงานการเกิดแผ่นดินไหวในลักษณะเช่นนี้เคยมีที่เขื่อนฮูเวอร์
ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2488 แต่มีความรุนแรงเพียงเล็กน้อยเขื่อน
การิบาประเทศซิมบับเว เมื่อ พ.ศ. 2502 เขื่อนครีมัสต้าประเทศกรีซ เมื่อ
พ.ศ. 2506 และครั้งที่มีความรุนแรงครั้งหนึงเกิดจากเขือนคอยน่าในประเทศ
่
่
อินเดีย เมือ พ.ศ. 2508 ซึงมีขนาดถึง 6.5 ริกเตอร์ ทาให้มีผู้เสียชีวิตกว่า
่
่
180 คน
การทาเหมืองในระดับลึกซึงในการทาเหมืองจะมีการระเบิดหิน ซึ่งอาจทาให้
่
เกิดแรงสั่นสะเทือนขึนได้
้
การสูบน้าใต้ดนการสูบน้าใต้ดินขึ้นมาใช้มากเกินไป รวมถึงการสูบน้ามันและ
ิ
แก๊สธรรมชาติซึ่งอาจทาให้ชั้นหินที่รองรับเกิดการเคลื่อนตัวได้
การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ดนก่อให้เกิดความสั่นสะเทือนจากการทดลอง
ิ
ระเบิด ซึ่งมีส่วนทาให้เกิดผลกระทบต่อชั้นหินที่อยู่ใต้เปลือกโลกได้
 เกิดขึ้นในวันที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2554 เมื่อเวลา 19.51 น. ในพื้นที่เปีย

ดมอนต์ของรัฐเวอร์จิเนียสหรัฐอเมริกาศูนย์กลางแผ่นดินไหว ในลุยซาเคาน์ตี
ห่างไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของริชมอนด์ 61 กิโลเมตร และ 8 กิโลเมตร
ทางใต้-ตะวันออกเฉียงใต้ของเมืองมิเนอรัล8 กิโลเมตรแผ่นดินไหวครั้งนี้เป็น
แผ่นดินไหวระหว่างแผ่นเปลือกโลกโดยมีความรุนแรง 5.8 ริกเตอร์และมีความ
รุนแรงที่ได้รับสูงสุดในระดับ 7 แผ่นดินไหวตามหลายครัง ซึ่งมีความรุนแรง
้
สูงสุด 4.5 ริกเตอร์ เกิดขึ้นหลังการสั่นสะเทือนหลัก
 แผ่นดินไหวดังกล่าว ร่วมกับแผ่นดินไหว 5.8 ริกเตอร์บนชายแดนนิวยอร์ก-

ออนตาริโอใน พ.ศ. 2487 เป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดที่เกิดขึ้นใน
สหรัฐอเมริกาทางตะวันออกของเทือกเขาร็อกกีตั้งแต่แผ่นดินไหวใน พ.ศ.
2440 ซึ่งมีศูนย์กลางในกิลส์เคาน์ตีในเวอร์จิเนียตะวันตกโดยมีความรุนแรง
ประเมินไว้ที่ 5.8หรือ 5.9 ริกเตอร์
 แผ่นดินไหวครั้งนี้สามารถรู้สึกได้ในหลายสิบรัฐของสหรัฐอเมริกาและใน
หลายมณฑลของแคนาดาแต่ไม่มีผู้เสียชีวิตและมีรายงานผูได้รบบาดเจ็บ
้ ั
เล็กน้อย
 รอยเลื่อนนิวแมดริด (New Madrid fault) อยู่ใกล้กับเขตติดต่อของรัฐ

มิสซูรี เคนทักกี อาร์คันซอ และเทนเนสซีได้ก่อให้เกิดแผ่นดินไหวขนาด 8.0
ริกเตอร์หรือมากกว่านั้นโดยแรงสั่นสะเทือนทาให้ระฆังของโบสถ์ในบอสตันที่
อยู่ห่างออกไปถึง 1,500 ไมล์แกว่งและส่งเสียงดังนอกจากนี้ยังส่งผลทาให้
สภาพภูมิศาสตร์ของพื้นที่เปลียนแปลงไปอย่างฉับพลันคือพืนดินถูกยกขึ้น
่
้
จนแม่น้ามิสซิสซิปปีไหลย้อนขึ้นทางต้นน้าโชคดีที่บริเวณนั้นมีประชากรเบาบาง
จึงมีคนเสียชีวิตเพียงคนเดียวและทรัพย์สินเสียหายอีกเล็กน้อย
 แผ่นดินไหวกู๊ดฟรายเดย์ (Good Friday Earthquake) นับเป็นการ

สั่นสะเทือนที่รุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์ของสหรัฐอเมริกา แผ่นดินไหว
นานกว่า 3 นาทีวัดได้ 9.2 ริกเตอร์ในพื้นที่ปรินซ์ วิลเลียมซาวด์ (Prince
่
William Sound) แม้ว่าจะมีการเสียชีวิตเพียง 15 รายจากแผ่นดินไหว แต่คลื่นสึ
นามิที่สูงร่วม 200 ฟุตที่ปากทางน้าวาลเดซ (Valdez inlet) ได้คร่าชีวิตผู้คน
ไปถึง 110 ราย และความเสียหาย 311 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ โดยเมือง
แองเคอเรจ (Anchorage) เป็นพื้นที่ที่เสียหายมากที่สุด
ทวีปอเมริกาเหนือโดยรวมแล้วอาจจะพบแผ่นดินไหวไม่บ่อยมากนัก
เมื่อเทียบกับประเทศทางภูมิภาคเอเชีย บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งเป็นบริเวณ
ที่เรียกว่า Ring of Fire ซึ่งเป็นแนวที่เกิดแผ่นดินไหวขึ้นบ่อยมากๆ โดยเฉพาะ
ประเทศญี่ปุ่น อินโดนีเซีย และประเทศอื่นๆในแถบนั้น ซึ่งบางครั้ง จะทาให้เกิด
คลื่นยักษ์สนามิ ตามมาด้วย ส่วนอเมริกาเหนือก็จะมีแผ่นดินไหวบ้างและอาจ
ึ
รุนแรงเป็นบางครั้ง แต่มักจะประสบปัญหาวาตภัยเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งทั้งหมดนี้ก็
เป็นเพราะว่าภูมิประเทศบนโลกนั้นต่างกัน
คาถาม
ข้อที1
่
ข้อที2
่
ข้อที3
่
ข้อที4
่
ข้อที5
่
1.แผ่นดินไหวที่อลาสก้าคือแผ่นดินไหวที่ชื่อว่า
ก. Good Friday
ข. Boonrody
ค. Lazy Sunday
ง. Gloomy Sunday
2.เวอร์จิเนียเกิดแผ่นดินไหวเมื่อปีพ.ศ.ใด
ก. 2551
ข. 2552
ค. 2553
ง. 2554
3.แผ่นดินไหวที่มิสซูรีเกิดจากรอยเลื่อนอะไร
ก. New Old Boys
ข. New Madrid
ค. Old Barca
ง. Oldwen
4.แผ่นดินไหวที่เกิดกับเขื่อนในสหรัฐอเมริกาที่ชื่อ
ก. ฮูเวอร์
ข. โรเมอร์
ค. เวกเตอร์
ง. เฟรชเชอร์
5.แผ่นดินไหวที่เกิดจากฝีมือมนุษย์กับธรรมชาติ
อะไรมีความรุนแรงกว่ากัน
ก. มนุษย์
ข. ธรรมชาติ
ค. ความรุนแรงไม่ตา่ งกันมากนัก
ง. ความรุนแรงจะแปรผันตามสถานการณ์ โดยส่วนใหญ่แล้วถ้า
เกิดจากมนุษย์จะรุนแรงกว่า
ขออภัยเป็นอย่างสูงนะคะ!!!
คุณไม่สามารถตอบคาถามนีได้คะ
้ ่

หน้าหลัก
ขอแสดงความยินดีดวยค่ะ!!!!
้
คุณตอบคาถามได้อย่างถูกต้องแม่นยา
หน้าหลัก

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
Thanawadee Prim
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
rainacid
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
Annop Phetchakhong
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
Guntima NaLove
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
jellyjel
 

What's hot (20)

โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สึนามิ
สึนามิสึนามิ
สึนามิ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงานการเขียนแผนปฏิบัติงาน
การเขียนแผนปฏิบัติงาน
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจสรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ
 
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
03 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ที่เก็บผลไม้
ที่เก็บผลไม้ที่เก็บผลไม้
ที่เก็บผลไม้
 
บทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงานบทที่ 1-5 โครงงาน
บทที่ 1-5 โครงงาน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจลโครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
โครงงานน้ำหอมปรับอากาศชนิดเจล
 

Viewers also liked

ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
พัน พัน
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
Phakawat Owat
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
Wararit Wongrat
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
rungnapa4523
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
Jeeji Supadda Phokaew
 

Viewers also liked (9)

แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือแผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ
 
ทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ
 
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
อเมริกาเหนือ ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใหม่
 
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
แผนการเรียนรู้ฉบับย่อ ปี 56
 
กรด เบส 5
กรด เบส 5กรด เบส 5
กรด เบส 5
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
12.สภาพปัญหาของทวีปแอฟริกา
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 

แผ่นดินไหวในทวีปอเมริกาเหนือ