SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
บทที่ 5
พืชสมุนไพรใหสี
นกยูงรําแพนหาง ปลากัดสีสดสวย สีเขียวบนปกแมลงทับ เปนสิ่งที่มนุษยมองเห็นดวย
ตา สีสันแสดงถึงความสวยงามสดใส แลดูโดดเดนตางจากสิ่งอื่น ๆ รอบขาง และความสวยงาม
นี่เองที่เปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนา มนุษยลอกเลียนความสวยงามโดดเดนของสีสันจากสัตวและ
ธรรมชาติ โดยการนําสีแตงแตมหรือทาบนใบหนา หรือทาผิวหนังของตนเอง หรือนํามาประดับ
ตกแตงตัวดวยเสื้อผาแพรภัณฑสีสันตาง ๆ นอกจากนั้นแลวการประดับตกแตง อาจบงบอกถึง
ฐานะของบุคคลในชุมชน หรือการแตงกายเพื่อการเขารวมในพิธีกรรม เชนหญิงสาวชาวอินเดีย
เมื่อเขาพิธีแตงงาน จะมีการเขียนสีบนแขนและมือ ดังนั้นสีจึงมีบทบาทในชีวิตของมนุษยมาก
รวมไปจนถึงการประดับตกแตงอาหารใหมีสีสวยงาม อาหารที่มนุษยรับประทานเขาไป หรือ
ขนมสีสวยดึงดูดใจ ซึ่งมนุษยในอดีตเรียนรูวามีพืชสมุนไพรหลายชนิดที่ใหสี หรือใชยอมสีผาที่
ใชนุงหม รวมไปจนถึงการใชสีตกแตงอาหาร เพื่อความสวยงาม ชวนมอง ชวนรับประทาน
ดึงดูดใจแกผูพบเห็น เราเรียกวาพืชเหลานั้นวา พืชสมุนไพรใหสีหรือพืชสี ซึ่งพืชสมุนไพรก็ใหสี
แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับสารเคมีในตนพืชและกรรมวิธีในการสกัดสีจากพืชชนิดนั้น ๆ
ภาพที่ 5.1 ปลากัดสีสันแหงความสวยงามจากธรรมชาติ
116 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
ความหมายของพืชสมุนไพรใหสี
พืชสมุนไพรใหสี หรือพืชสี(dye plants) หมายถึงพืชที่มีสารสีหรือรงควัตถุ (pigment)
ในเซลล หรือในเนื้อเยื่อ และสามารถสกัดออกมาไดโดยกรรมวิธีตาง ๆ เชน หมัก ตม หรือแยก
ดวยน้ําหรือสารเคมี ซึ่งสารสีเหลานี้สามารถใชเปนสีได
ประเภทของพืชสมุนไพรใหสี
เราสามารถแบงพืชสมุนไพรใหสี ตามประเภทของสีที่นําใชประโยชน เปน 2 ประเภท
ดังนี้
1. พืชสมุนไพรใหสียอมผา
2. พืชสมุนไพรใหสีผสมอาหาร
พืชสมุนไพรใหสียอมผา
พืชสมุนไพรที่ใหสียอมผา หรือวัตถุอื่น ๆ เชน ฝาย ไหม สิ่งทอ หนัง และเครื่องจักสาน
เปนสีที่ติดทนนาน บางชนิดนอกจากเปนสียอมแลว ยังสามารถเปนสีผสมอาหารไดดวย ตัวอยาง
พืชสมุนไพรใหสียอม ไดแก ตนฮอม(หอม) ตนคราม ตนประดูตนโกงกาง ตนนนทรี เปนตน
ผาที่ยอมสีธรรมชาติจากพืชสมุนไพรนั้น นอกจากเปนการใชภูมิปญญาชาวบานแลว มี
รายละเอียดที่เกี่ยวของกับพืชสมุนไพรใหสียอมผา มีดังนี้
1. คุณประโยชนของสียอมธรรมชาติจากพืช
1.1.เปนผลิตภัณฑธรรมชาติที่มีความปลอดภัยตอผูผลิตและผูบริโภค
1.2.หางายใชวัตถุดิบจากทองถิ่น ราคาถูก
1.3.มีสีออน นุมนวล สบายตา
1.4.ชวยใหเสนใยคงทน
1.5.สวมใสสบายเพราะระบายความรอน
1.6.ลดการใชสารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม
1.7.ชวยลดปริมาณการนําเขาสีสังเคราะหจากตางประเทศ
1.8.สรางอาชีพที่ใหคนในชุมชนและเปนอาชีพที่จะสงผลใหคนในชุมชมมีอาชีพ
อื่น ๆ ตามมา เชน ทอผา คาขาย ทองเที่ยว ฯลฯ
พืชสมุนไพรใหสี 117
ภาพที่ 5.2 ดายที่ยอมดวยสีธรรมชาติจะมีสีออนนวลตา
ที่มา (สุนทรี เซงกิ่ง, 2533, หนา 126)
ภาพที่ 5.3 การทําผามัดหมี่ ซึ่งเปนอาชีพหนึ่งของคนในหมูบานนาขา
จังหวัดอุดรธานี ซึ่งมีบางกลุมที่ใชสียอมจากธรรมชาติ
118 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
1.9 สรางความตระหนักในการอนุรักษตนไมและสิ่งแวดลอม เพราะตนไม เปนทั้ง
อาหาร ยา ขาวของเครื่องใช เชื้อเพลิง สียอม สวยงาม ประดับตกแตง งานศิลปะ
1.10 สรางความตระหนักใหคนในชาติ ในเรื่องการฟนฟูและอนุรักษองคความรู
และภูมิปญญาของไทยการทอผา การยอมสีธรรมชาติ การปลูกการดูแลรักษาพืชสมุนไพร ฯลฯ
ภาพที่ 5.4 การเก็บพืชสมุนไพรใหสีจากธรรมชาติจะตองเก็บ
อยางระมัดระวังเพื่อใหตนไมไมเปนอันตราย
ที่มา (สุนทรี เซงกิ่ง, 2533, หนา 120).
2. สาเหตุที่การใชพืชสมุนไพรใหสียังไมแพรหลาย
2.1. ยากตอการเก็บรักษาวัตถุดิบที่นํามาทําสี เนื่องจากพืชสมุนไพรใหสีธรรมชาติ
ที่เราเก็บในชวงที่มีมากนั้น เมื่อยังไมใชงานอาจมีการเปลี่ยนแปลงเนาเสียได ดังนั้นการจะเก็บ
รักษาวัตถุดิบไว ควรตองมีการศึกษาการเก็บถนอมเพื่อใหมีใชในชวงที่ตองการจะใชยอมสีผาได
พืชสมุนไพรใหสี 119
2.2. เสียเวลาในการสกัดสีจากวัตถุดิบ เชนการยอมสีครามนั้น เมื่อเก็บใบคราม
มาแลวตองหมักใบครามไวสัก 2-3 วัน จนใบครามเปอย จึงเอาใบออก เหลือเฉพาะน้ําสีเขียวใส
ๆ ใหใสปูนขาวที่ไดจากการเผาเปลือกหอยกวนใหเขากัน ทิ้งไว 1 คืน ตะกอนที่ตกอยูกนภาชนะ
คือสีที่จะนํามาใชยอมผาได
2.3. ขาดแคลนความรูเกี่ยวกับชนิดพืช เนื่องจากผูที่มีความชํานาญในการยอมผาสี
ธรรมชาติมีอายุมาก และไมสามารถออกไปเก็บพืชสมุนไพรได อีกทั้งการเรียกชื่อพืชก็เรียก
แตกตางกันไปในแตละทองถิ่น หรือพืชสมุนไพรตองมีอายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม
2.4. ขาดแคลนความรูเกี่ยวกับถิ่นและการกระจายพันธุของพืชใหสี ซึ่งบางชนิด
ขึ้นเองตามปาเขา ซึ่งยากแกการไปหามาใชประโยชน
2.5. ขาดแคลนความรูเกี่ยวกับการใชพืชสีแตละชนิด ขั้นตอนการสกัดสีของพืช
สมุนไพรใหสีแตละชนิดมีขั้นตอนที่แตกตางกันไป ซึ่งผูที่มีความชํานาญในการทําสวนใหญมัก
เปนผูเฒาผูแกในหมูบาน ซึ่งควรตองมีการถายทอดมายังคนรุนหลังตอไป
3. ตัวอยางของผายอมสีจากใชพืชสมุนไพร มีดังนี้
3.1. เสื้อผาหมอฮอม บานทุงโฮง อําเภอเมือง จังหวัดแพร พบวา เสื้อผาที่ยอมจาก
ตนฮอม เมื่อซักแลวจะไมยับงาย และคงทนมากกวาเสื้อที่ยอมดวยสีเคมี เนื้อผาจะทนทานนาน
กวา 4-5 ป และสวมใสสบายกวา
3.2. ผาไหมหรือผามัดหมี่ ที่บานนาแหว ตําบลสวาย อําเภอเมือง จังหวัดสุรินทร
ที่ยอมดวยพืชสมุนไพรที่ใชสียอมตามธรรมชาติ พบวาเมื่อดมดูจะมีกลิ่นเนื้อไมติดอยูกับผา ถา
มองจากที่ไกลจะเห็นเงาที่สะทอนจากผาไหมมากกวาผาที่ยอมดวยสีเคมี และอายุการใชงานก็
นานกวา และที่สําคัญพืชสมุนไพรที่ใชยอมผามีสรรพคุณรักษาผิวกายไดดวย(ศิริ ผาสุก, 2535)
4. สวนของพืชที่ใหสี สวนของพืชที่มีสารสี ไดแก
4.1 ใบ เชน ใบหูกวางใหสีเขียวในการยอมฝาย
4.2 เมล็ด เชน คําเงาะคําแสด สวนของเมล็ดใหสีแดง
4.3 ราก เชน รากของขนุนสามารถใหสีเหลืองใชยอมไหมและฝาย
4.4 ผล เชน ผลของมะเกลือใหสีดําใชในการยอมไหมและฝาย
4.5 ลําตนหรือเนื้อไมหรือแกน เชน เนื้อไมตนเขใหสีเหลืองในการยอมไหม เนื้อไม
ฝางใหสีแดง ทั้งลําตนของครามใหสีน้ําเงินใชยอมฝายและ ไหม
120 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
5. ชนิดพืชสมุนไพรที่ใหสียอมผา
5.1.พืชสมุนไพรที่ใหสีแดง มีหลายชนิดดวยกันคือ
5.1.1. ตนยอปา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Morinda coreia Ham.
วงศ Rubitaceae
ตนยอปา สวนที่ใชในการยอมผา คือ เปลือกราก ราด เนื้อไมและใบสับ
แลวตมในน้ําเดือดเปนเวลานานไดสีแดง เคี่ยวใหแหงเก็บในรูปผงได
5.1.2. ตนสัก
ชื่อสามัญ Teak
ชื่อวิทยาศาสตร Tectona grandis Linn.
วงศ Verbenaceae
ตนสักเปนไมยืนตน ขนาดใหญ ลําตนเกลี้ยง ใบกลมขนาดใหญ ผิวใบ
สาก ดอกเปนชอขนาดใหญ ผลเปนรูปกลมสีเขียว เนื้อไมทนทาน มีคุณภาพในการกอสราง
บานเรือน เดิมมีมากทางภาดเหนือของประเทศไทย ปจจุบันนี้มีการปลูกเปนสวนปา ใบใชรักษา
อาการประจําเดือนผิดปกติ ลดน้ําตาลในเลือด ดอกชวยขับปสสาวะ เปลือกเปนยาฝาดสมาน
สวนที่ใชยอมผาคือ ใชใบจะใหสีแดง ใชแกนจะใหสีเหลือง
5.1.3. ตนมะกล่ําตน
ชื่อสามัญ Red sandalwood tree
ชื่อวิทยาศาสตร Adenanthera pavonina Linn.
วงศ Mimosaceae
ตนมะกล่ําตนเปนไมยืนตนขนาดใหญ ใบรวมขนาดเล็กรูปไข ออก
ตรงกันขาม ดอกออกเปนชอสีเหลือง ผลเปนฝกบิดงอ ภายในมีเมล็ดสีแดงเปนมัน รากมีรส
เปรี้ยวแกเสมหะในลําคอ แกรอนในแกอาเจียน เมล็ดใชฆาพยาธิ ใบแกริดสีดวงทวาร
สวนที่ใชยอมผาคือ ใชแกนสับใหปนตมในน้ําเดือดจะไดสีแดง
5.1.4. ตนสมเสี้ยวหรือตนกาหลง
ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร Buahinia variegata Linn.
พืชสมุนไพรใหสี 121
วงศ Caesalpiniaceae
ตนสมเสี้ยวเปนไมยืนตนขนาดเล็ก สูงประมาณ 2 เมตร ใบออกตามขอ
ลักษณะใบพับเขาหากันคลายสองใบประกบกัน ดอกออกเปนชอ ๆ ละ 5-6 ดอก ทยอยบานทีละ
ดอก ดอกมีสีขาว ดอกใชรักษาความดันโลหิต แกปวดศีรษะ ขับเสมหะและเลือดออกตามไรฟน
สวนที่ใชยอมผา คือ ใชเปลือกสับแลวตมในน้ําเดือดจะไดสีแดงเขม
เกือบเปนสีดํา ใชยอมแหอวน หนังไดเปนอยางดี
5.2.พืชสมุนไพรใหสีเหลือง ไดแก
5.2.1. ตนมะพูด
ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร Garcinia dulcis Kurz.
วงศ Guttiferae
สวนที่ใชยอมผา คือ ใชเปลือกสับใหปนตมในน้ําเดือดจะไดสีเหลือง
5.2.2. ตนเข(ตนแกแล)
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Maclura coehinchinensis Lour.
วงศ Moraceae
ตนเขหรือตนแกแล สวนที่ใชยอมผา คือ ใชแกนสับใหปนตมในน้ําเดือด
จะไดสีเหลือง ใชยอมผาหรือผสมอาหารได นําไปกรองน้ําสีไว เอาแกแลที่กรองไวไปตมน้ํา
เดือดตอไปไดสีที่ออนกวาหมอแรก เก็บน้ําสีไวทําแบบเดียวกัน จนไดน้ําสีครบ 3 หมอ จะไดน้ํา
สีออนจนถึงสีแก เอาดายลงยอมในน้ําหมอสีที่ 3 ซึ่งเปนสีออนสุด ยกดายกลับไปกลับมา เพื่อให
สียอมติดในเนื้อไดอยางทั่วถึง ไมดาง ทิ้งไวสักพัก จึงน้ําดายขึ้นบิดพอหมาด นําไปยอมในหมอที่
2 และ หมอที่ 1 ทําแบบนี้จนครบ 3 หมอ นําดายขึ้นซักน้ําจนสีไมตก เอาขึ้นผึ่งใหแหง
5.2.3. ตนเสนียด
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Justicia adhatoda Linn.
วงศ Acanthaceae
ตนเสนียดเปนไมพุมแตกกิ่งกานสาขามาก สูงประมาณ 3 เมตร ใบเดี่ยว
ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกออกเปนชอ ตามงามใบ กลีบดอกดานบนมี 2 แฉก ดานลางมี 3
122 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
แฉก สีขาวประมวง ตนและรากเปนยาบํารุงปอด รักษาวัณโรค ใบใชหามเลือด ฝ แกหืด แกไอ
ขับเสมหะ
สวนที่ใชยอมผา คือ ใชใบสด ใหสีเหลือง
5.2.4. ตนแค
ชื่อสามัญ Cock wood tree
ชื่อวิทยาศาสตร Sesbenia grandiflora Linn.
วงศ Pappilionaceae
ไมยืนตนขนาดเล็ก กิ่งกานเปราะหักงาย ใบประกอบมีใบยอยขนาดเล็ก
ขอบใบเรียบปลายใบมน ดอกออกเปนกระจุก ๆ ละ 2-4 ดอก กลีบดอกสีขาวหรือแดง ดอกกิน
เปนผักหรือใสแกงสมแกไขหัวลม ฝกแบนยาวคลายถั่ว เปลือกตนมีรสฝาด รักษาอาการทองรวง
รากแกเสมหะ
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลือง
5.2.5. ตนฝรั่ง
ชื่อสามัญ Guava
ชื่อวิทยาศาสตร Psidium guajava Linn.
วงศ Myrtaceae
ฝรั่งเปนพืชพื้นเมืองของอเมริกา เปนไมยืนตน ผิวเปลือกเรียบ ใบ
คอนขางหนา ใตทองใบเปนริ้วเสนใบชัดเจน ดอกออกเปนชอ ดอกยอยขนาดเล็กมีสีขาวนวล
กลีบเลี้ยงแข็ง ผลกลมรี เมื่อผลยังออนมีสีเขียวออนและเปลี่ยนเปนสีเหลืองเมื่อสุก ภายในมีเมล็ด
จํานวนมาก ใบปงไฟชงน้ําดื่มแกทองเสีย บิด บวนปากระงับกลิ่นปาก รากตมน้ํากินแกน้ําเหลือง
เสีย ชวยใหน้ําหนองแหง
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลือง
5.2.6. ตนไพลเหลือง
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Zingiber montanum Link ex Dietr.
วงศ Zingiberaceae
ตนไพลเหลือง หรือวานไฟ เปนพืชลมลุกมีหัวใตดินลําตนกลม ใบสี
เขียวเรียวยาว เหงาแกปวดทอง ทองผูก จุกเสียด น้ํามันไพลแกปวดบวม
สวนที่ใชยอมผา คือ ใชหัวใหสีเหลือง
พืชสมุนไพรใหสี 123
5.2.7. ตนสุพรรณิการ
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Cochlospermum religiosum Linn.
วงศ Bixaceae
ตนสุพรรณิการเปนไมยืนตนมีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย นิยมปลูก
ประดับตามบานหรือสวนสาธารณะ เปนไมผลัดใบสูง 7-15 เมตร ใบเดี่ยวรูปหัวใจ ขอบใบเปน
คลื่น ดอกมีสีเหลือง เกสรสีเหลือง ผลกลม เมื่อแกจะแตกออกเปน 3-5 พู ใบออนใชสระผม ดอก
และใบแหงใชเปนยาบํารุงกําลัง
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลือง
5.2.8. ตนปบหรือกาสะลอง
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Millingtonia hortensis Linn.
วงศ Bignoniaceae
ตนปบและกาสะลองเปนไมยืนตนมีความสูงถึง 25 เมตร เปลือกตน
ขรุขระ ใบประกอบแบบขนนก ใบยอยรูปไข ปลายใบแหลม ดอกออกเปนชอใหญ ทยอยบาน
กลีบดอกสีขาวแยกเปน 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมตอกัน ผลเปนฝกยาว ภายในมีเมล็ดจํานวนมาก
ดอกใชสูบแกหืด รากใชบํารุงปอดรักษาวัณโรค
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลืองออน
5.2.9. ตนมหากาฬ
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Gynura pseudochina DC.
วงศ Compositae
ตนมหากาฬหรือวานมหากาฬเปนพืชลมลุก หัวใตดิน ใบขนาดใหญคลุม
ดิน ใบหนา ขอบใบหยัก ใบออนมีสีมวง กานใบที่แกจะเปลี่ยนเปนสีขาว ดอกคลายดอกดาวเรือง
ขนาดเล็ก มีสีเหลือง ปลูกประดับตามบาน ใบโขลกผสมกับเหลา ใชพอกฝ ถอนพิษรักษาอาการ
ปวดแสบปวดรอน หัวใชรักษาพิษไข
สวนที่ใชยอมผา คือ หัวใหสีเหลือง
124 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
5.2.10. ตนขี้เหล็ก
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Cassia siamea Linn.
วงศ Caesalpiniaceae
ไมยืนตนที่นิยมปลูกริมถนน ความสูง 3-5 เมตร ใบประกอบแบบขนนก
ดอกออกเปนชอ กลีบดอกมีสีเหลือง ฝกแบนขนาดยาว 15 เซนติเมตร แกนไมใชฟอกเลือดใน
สตรี ใบและดอกเปนอาหาร เปนยาระบายและชวยใหนอนหลับ รากใชขับพยาธิ
สวนที่ใชยอมผา คือ ใบใหสีเหลือง
ภาพที่ 5.5 ตนขี้เหล็กพืชที่ใชประโยชนไดทั้งตน
5.2.11. ตนขี้เหล็กเลือด
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Senna timoriensis Irwin & Barnerby
วงศ Caesalpiniaceae
ไมยืนตนขนาดเล็ก กิ่งออน มีขนสีเหลืองทอง ใบประกอบแบบขนนก
ดอกออกเปนชอ ผลเปนฝกแบน แกนใชรักษาอาการประจําเดือนผิดปกติ บํารุงโลหิต แกกษัย
เปลือกแกโรคหิด
สวนที่ใชยอมผา คือ ใบใหสีเหลือง
พืชสมุนไพรใหสี 125
5.2.12. ดอกกรรณิการ
ชื่อสามัญ Night jasmine
ชื่อวิทยาศาสตร Nyclanthes abor-tristis Linn.
วงศ Oleceae
ไมพุมขนาดเล็กนิยมปลูกเปนไมประดับ ใบเดี่ยวมีผิวหยาบสากมือ ดอก
ออกเปนชอ โคนดอกสีสมแดง กลีบดอกสีขาว 5-7 กลีบ รูปกงจักร ดอกมีกลิ่นหอม
สวนที่ยอมผาใช คือ กานดอกผสมน้ําขยี้ใหสีเหลืองสม เติมสารสมลงไป
เล็กนอย เพื่อชวยใหสีติดแนน นําผาที่จะยอมแชทิ้งไวประมาณ 1 ชั่วโมง นําผาออกผึ่งลมใหแหง
5.2.13. ตนพุดปา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Gardenia collinsae Craib
วงศ Rubiaceae
สวนที่ใช คือ ผลแกใหสีเหลืองนวล
5.3. พืชสมุนไพรใหสีน้ําตาล ไดแก
5.3.1.ตนโกงกางใบใหญ
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Rhizophora sp.
วงศ Rhizophoraceae
สวนที่ใชยอมผา คือ ใชเปลือกสับใหปนตมในน้ําเดือดจะไดสีน้ําตาล
5.3.2.ตนโกงกางใบเล็ก
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Rhizophora apiculata Blume
วงศ Rhizophoraceae
ไมตนขนาดใหญ มีรากเสริมออกมาเหนือโคนตน รากค้ํายันลําตนแตก
แขนงระเกะระกะไมเปนระเบียบ ใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉาก ใบคูลางๆ จะรวงไปเหลือแต
คูใบ 2-4 คู เปนกลุมที่ปลายกิ่ง รูปรี แผนใบหนา หูใบแคบ ปลายแหลมยาวประกบกันเปนคู
ระหวางคูใบ ชอดอกสั้นมาก ออกตามงามใบที่ใบรวงไปแลว ดอกตูมรูปไข ใบประดับที่ฐาน
ดอกติดกันคลายรูปถวย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รวงงาย ผลคลายรูปไขกลับสีน้ําตาล
126 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
คล้ํา ผิวคอนขางขรุขระ ลําตนรูปทรงกระบอก เรียวโคงเล็กนอย มีขนาดโตขึ้นที่สวนปลาย ผิว
เปนมัน สีเขียวหรือเขียวอมมวง คอนขางเรียบหรือมีตุมขรุขระกระจัดกระจาย ใชทําเสาและหลัก
ในที่น้ําทะเลขึ้นถึง มีความทนทาน ใชสรางบานตามชายทะเล ใชทําถาน น้ําจากเปลือกใชชะลาง
แผล หามเลือด กินแกทองรวง แกบิด สวนที่ใชยอมผา แห อวน หนัง ฯลฯ คือ ใชเปลือกสับให
ปนตมในน้ําเดือดใหน้ําฝาดประเภท catechol ใชยอมผา จะไดสีน้ําตาล
5.3.3.ตนคาง จามรีดง จามรีปา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Albizzia odoratissima
วงศ Leguminosae
สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกใหสีน้ําตาล
5.3.4.ตนโปรงขาว
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร -
วงศ -
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาล
5.3.5.ตนสนทะเล
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Casuarin equisetifolia J.R.& G.Frost.
วงศ Casuarinaceae
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลแกมแดง
5.3.6.ตนแสมดํา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร -
วงศ -
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลแกมแดง
5.3.7.ตนฝางแดง
ชื่อสามัญ Sappan
ชื่อวิทยาศาสตร Caesalpinia sappen Linn.
วงศ Caesalpiniaceae
พืชสมุนไพรใหสี 127
ฝางเปนที่มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย เปนไมยืนตนขนาดกลาง สูง 5-8
เมตร ตามลําตน กิ่งมีหนามแข็งโคง ใบประกอบแบบขนนก ดอกออกเปนชอ กลีบดอก 5 กลีบ สี
เหลือง ฝกมีลักษณะแบนรูปสีเหลี่ยมผืนผาโดยมีสวนปลายบนยื่นยาวเรียงออกไป แกนหรือเนื้อ
ไมมีสารสีแดงชื่อ sappan red ใหสีแดงใชแตงสีอาหารและน้ํายาอุทัย นอกจากนั้นแลวฝางยังมี
tannin สูง ฝางนิยมใชเปนยาฝาดสมาน สรรพคุณบํารุงโลหิต รักษาอาการทองรวง ฝางฝนกับน้ํา
เปนยาทาภายนอก
สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกใหสีอิฐ
5.3.8. ตนนนทรี
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Peltophorum pterocarpum
วงศ Leguminosae
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลอมเหลือง
5.3.9. ตนมะหาด
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Artocarpus lakppcha Roxb.
วงศ Moraceae
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลอมเหลือง(ไพฑูรย เจนเจริญพันธ, 2545)
5.3.10. ตนขนุน
ชื่อสามัญ Jack fruit
ชื่อวิทยาศาสตร Artocarpus heterophyllus Lamk.
วงศ Moraceae
พืชยืนตน สูงประมาณ 5 เมตร ตนมียางสีขาว ใบเดี่ยวรวงหลุดงาย ดอก
ออกเปนชอ ดอกตัวผูตัวเมียแยกชอ ชอดอกตัวเมียออกตามตน และกิ่งกานใหญ ผลเปนผลรวม
เนื้อหุมเมล็ดสีเหลืองรสชาติหอมหวานอรอย ใชรับประทานเปนผลไม เมล็ดตมสุกใช
รับประทานเปนของวาง ชวยบํารุงรางกาย ขับน้ํานมในสตรีหลังคลอด ใบออนกินเปนผัก ยางใช
รักษาอาการอักเสบ รากบํารุงเลือดรักษา กามโรค
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนและรากใหสีน้ําตาลแกมเหลือง
128 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
5.3.11. ตนคูน
ชื่อสามัญ golden shower
ชื่อวิทยาศาสตร Cassia fistula Linn.
วงศ Caesalpiniaceae
ไมยืนตน สูงประมาณ 15 เมตร นิยมปลูกตามริมทาง ปลูกประดับตาม
บาน เปลือกลําตนมีสีเทา ผิวเรียบ ใบเปนใบประกอบ ดอกออกเปนชอหอยลงมาตามงามใบ แต
ละดอกมี 5 กลีบสีเหลืองสด ผลเปนฝกยาว เมื่อฝกแกจะเปนสีดํา เปลือกนอกแข็ง ภายในมีแผน
กั้นเปนหองตามขวาง รากเปนยาถาย แกนใชเปนยาขับพยาธิ เปลือกตนแกทองรวง ใบเปนยาถาย
ตําพอกรักษาแกกลากเกลื้อนทาถูแกปวดขอ ดอกเปนยาถาย ฝกใชขับพยาธิ เมล็ดเปนยาระบาย
ทําใหอาเจียน
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําตาลแกมเหลือง
ภาพที่ 5.6 ตนคูนไมมงคลที่มีความสวยงามและสารพัดประโยชน
5.3.12. ตนติ้วขน
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Cratoxylum formosum Dyer.
วงศ Guttiferae
ไมยืนตนสูง 8-15 เมตร มีน้ํายางเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม รูปวงรี
แกมไข ผิวใบมีขนละเอียดทั้งสองดาน ดอกชอ ออกเปนกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ กลีบ
พืชสมุนไพรใหสี 129
ดอกสีชมพูออน ผลแหงแตกได รูปไขแกมกระสวย รากตมผสมกับหัวแหวหมูและราก
ปลาไหลเผือกตมดื่มวันละ 3 เวลา แกอาการปสสาวะขัด
สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกใหสีน้ําตาลคล้ํา
5.3.13. ตนอาราง
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Peltophorum dasyrachis Kurz.
วงศ Leguminosae
ไมยืนตนสูงใหญถึง 30 เมตร กิ่งออนมีขนละเอียดสีน้ําตาล ใบประกอบ
แบบขนนก ดอกออกเปนชอออกตามซอกใบ หอยลงมา กลีบดอกสีเหลือง ผลเปนฝกแบน สี
น้ําตาลแดง เมล็ดเรียงตามขวาง เปลือกตนรักษาโรคเกี่ยวกับเสมหะและโลหิต แกทองรวง ขับลม
สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกและผลใหสีน้ําตาล
5.3.14. ตนตะโก
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Diosporos rhodocalyx Kurz.
วงศ Ebenaceae
ไมยืนตนสูงไดถึง 15 เมตร ใบเดี่ยวรูปไข เรียงสลับ ดอกแยกเพศ ดอกตัว
ผูเปนชอ ดอกตัวเมียเปนดอกเดี่ยว ผลมีขนละเอียด เปลือกและแกนบํารุงธาตุ รักษาโรคกามตาย
ดาน เปนยาอายุวัฒนะ ใชอมรักษาเหงือกบวมและรํามะนาด แกปวดฟน
สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกและผลใหสีน้ําตาล
5.3.15. ตนทองหลางใบมน
ชื่อสามัญ Indian coral
ชื่อวิทยาศาสตร Erythrina indica Lamk.
วงศ Papilionaceae
ไมยืนตนสูง 10-20 เมตร ลําตนมีหนามสั้น ๆ ใบมีใบยอย 3 ใบ ดอกชอ
ออกเปนกระจุก กลีบดอกแบบดอกถั่วมีสีแดงหรือสีสม ผลเปนฝกยาว รูปทรงกระบอกสีน้ําตาล
โคงเล็กนอยมีเมล็ดจํานวนมาก เปลือกตนหอดวยใบพลับพลึงใชประคบแกบวม
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําตาล
5.3.16. ตนทองหลางน้ํา
ชื่อสามัญ -
130 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
ชื่อวิทยาศาสตร Erythrina orientalis
วงศ Papilionaceae
ไมเนื้อออนยืนตน ปลูกเปนรั้ว ใบและยอดออนกินเปนผักแนมกับเมี่ยง
คํา หรือปลาแนม ใบมีโปรตีนสูง
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําตาล
5.4.พืชสมุนไพรใหสีน้ําเงิน
5.4.1. ตนคราม
ชื่อสามัญ Indigo
ชื่อวิทยาศาสตร Baphicacanthus cusia.
วงศ Acanthaceae
ไมพุม สูงไดถึง 1 เมตร ลําตนและเหงารูปทรงกระบอก บริเวณขอโปง
พอง ใบเดี่ยว ขอบใบหยักเปนฟนเลื่อย ดอกเปนชอออกที่ซอกใบกลีบดอกสีมวงเชื่อมกันเปน
หลอดโคงงอเล็กนอย ผลแหงแตกได ใบตมดื่มแกไข ปวดศีรษะเนื่องจากหวัด เจ็บคอ หลอดลม
อักเสบ แพทยจีนทดลองใหคนไขโรคเอดสที่เปนงูสวัด ดื่มน้ําตมใบแหงผสมกับพืชสมุนไพรอีก
3 ชนิดคือ Coptis chinensis, Arnebia euchroma และ Paeonia moutan พบวาแผลหายเร็วภายใน
สองสัปดาห (วงศสถิตย ฉั่วกุล, พรอมจิต ศรลัมภ, วิชิต เปานิล และรุงระวี เต็มศิริฤกษกุล, 2539)
สวนที่ใชยอมผา คือ ตนและใบใหสีน้ําเงิน โดยมีวิธีการใช ดังนี้
วิธีที่ 1 นําตนครามสดสับเปนชิ้นเล็ก ๆ นํามาหมักไว 1-2 วัน จะไดสารสี
น้ําเงินที่กนภาชนะ เทใสถุงหนา ๆ ทับใหน้ําแหง จะไดผงสีน้ําเงิน ซึ่งเมื่อนํามายอมผาแลว ผาที่
ไดเรียกวาผาหมอฮอม
วิธีที่ 2 ตัดตนครามมามวนและมัดเปนฟอน ๆ ไปแชน้ําไวในภาชนะที่
เตรียมไวประมาณ 2-3 วัน จนใบครามเปอย จึงแกมัดครามออกเพื่อใหใบครามหลุดออกจากลํา
ตน นําลําตนทิ้งไป เอาปูนขาวนอัตราสวนที่เหมาะสมกับน้ําที่แชครามผสมลงไปแทนตนคราม
จากนั้นนําเอาขี้เถาซึ่งไดจากเหงากลวยเผาจนดํา ผสมลงไป ทิ้งไวประมาณ 2-3 วันจนกวาน้ําที่
กวนใส รินน้ําที่ใสออกทิ้ง จะไดน้ําสีครามตามตองการอาจใชผาขาวบางกรองเพื่อจะไดน้ําคราม
ที่ละเอียด นําฝายที่จะยอมลงขยําในหมอครามพยายามอยาใหดายพันกัน ใหน้ําสีเขาเนื้อดายฝาย
อยางทั่วถึง จนกระทั่งไดสีเขมตามตองการ จึงยกฝายขึ้นจากหมอ บิดใหหมาดลางน้ําสะอาด
นําไปขึ้นราวตากใหแหง
พืชสมุนไพรใหสี 131
ภาพที่ 5.7 ตนครามหรือตนฮอมพืชสมุนไพรใหสีน้ําเงิน
ที่มา (วงศสถิตย ฉั่วกุล, พรอมจิต ศรลัมภ, วิชิต เปานิล และรุงระวี เต็มศิริฤกษกุล, 2539,
หนา 43)
5.4.2. ตนพิลังกาสา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Ardisia polycephala Wall.ex A.DC.
วงศ Myrsinaceae
ไมยืนตนขนาดเล็กสูงประมาณ 2-3 เมตร ลําตนแตกกิ่งกานออกโดยรอบ
ใบเดี่ยวออกเปนคู ขอบใบเรียบใบหนา เปนมันสีเขียว ดอกออกเปนชอตรงปลายยอด สีเหลือง
ออน ผลเปนเม็ดเมื่อยัง ออนสีแดง คอยเปลี่ยนเปนสีมวงดําเมื่อแกจัด ใบรักษาตับพิการ ผลใช
รักษาไขจากอาการทองเสีย
สวนที่ใชยอมผา คือ รากใหสีน้ําเงิน
5.4.3. ตนลําดวน
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Melodorumfruticosum Lour.
วงศ Annonaceae
ลําดวนเปนไมพุมสูงประมาณ 3-8 เมตร ขึ้นตามปาเบญจพรรณ นิยม
ปลูกตามวัด ตามสวนสาธารณะและตามบาน ใบเดี่ยว ดอกเรียงสลับตามลําตน ขอบใบเปนคลื่น
เล็กนอย ผิวใบเรียบมัน ดอกสีเหลืองออน มี 6 กลีบ ชั้นละ 3 กลีบ ผลสีเขียวออน เกสรเปนยาชู
กําลัง บํารุงหัวใจ แกลม
132 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําเงิน
5.4.4. ตนเถาคัน
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Pathenocissus vitacea Aitch.
วงศ Vitidaceae
ไมเถาเลื้อยพันตนไมอื่น ใบเปนใบยอย 3 ใบ ขอบใบหยักเปนฟนเลื่อย
ผลดิบสีเขียว จะเปลี่ยนเปนสีดําเมื่อสุก น้ําในผลเมื่อสัมผัสผิวทําใหคัน เถาใชรักษาโรคกษัย ใบ
อังไฟใชพอกฝหนอง
สวนที่ใชยอมผา คือ เถาและใบใหสีน้ําเงิน
5.5.พืชสมุนไพรใหสีเขียว ไดแก
5.5.1. ตนเลี่ยน
ชื่อสามัญ Bastard cedar, Persian lilac
ชื่อวิทยาศาสตร Melia azedarach Linn.
วงศ Meliaceae
เลี่ยนเปนไมพุมถึงไมยืนตนขนาดใหญพบทั่ว ๆ ไปในทวีปเอเชียเขต
รอน ทุกสวนของตนมีรสขมใบเปนใบประกอบแบบขนนกหลายชั้น ดอกมีสีมวงออน (Lilac)
กลิ่นหอม เปนชอ ผลคอนขางกลม ในหนึ่งผลประกอบดวยเมล็ดหลายเมล็ด ผลเมื่อออนมีสีเขียว
มีรสขม เมื่อสุกมีสีเหลืองและมีรสหวาน เมื่อแหงมีสีมวงดํา
สวนที่ใช คือ ใบใหสีเขียว
5.5.2. ตนสมอพิเภก
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia bellerica Linn.
วงศ Combretceae
สวนที่ใช คือ เปลือกและผลใหสีเขียวขี้มา เอาเปลือกสมอมาตมเคี่ยวให
แหงพอสมควร รินเอาแตน้ําใสหมอดิน เอาดายฝายที่ผานการยอมครามมาครั้งหนึ่งแลว ลงยอม
น้ําสีที่ยังรอนอยู ตมตออีกประมาณ 1 ชั่วโมง หมั่นกลับดายไปมา เพื่อใหดูดซึมอยางสม่ําเสมอ
พอไดสีตามที่ตองการ ยกดายขึ้นกระตุก ตากใหแหง จะไดสีเขียว
พืชสมุนไพรใหสี 133
5.5.3. ตนหูกวาง
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia catappa Linn.
วงศ Combretaceae
สวนที่ใช คือ แกนและใบใหสีเขียวขี้มา เอาใบหูกวางตมคั้นน้ํากรองตม
ใหเดือด เอาผาลงยอมหมั่นยกดายกลับไปมา เพื่อใหสีติดไดทั่วถึง พอไดสีเขมตามตองการจึงยก
บิดพอหมาด ซักน้ําผึ่งใหแหง
5.5.4. ตนตะขบ
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Flacoutia indica Merr.
วงศ Flacourtiaceae
สวนที่ใช คือ ใบใหสีเขียว
5.6.พืชสมุนไพรใหสีกากี ไดแก
5.6.1. ตนเพกา(ลิ้นฟา)
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Oroxylumindicum Linn.
วงศ Bignoniaceae
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีกากี เอาเปลือกเพกามาหั่นหรือสับเปนชิ้นเล็ก
นําไปตมนาน 20 นาที ชอนเอาเปลือกออก ตมเถาถั่วแปบเอาแตน้ําใสใสลงไป กรองใหเหลือแต
น้ําสีที่จะยอม นําเอาน้ํายอมตั้งไฟพออุน นําผาฝายชุบน้ําบิดพอหมาด จุมลงในอางยอม ตมตอไป
นาน 20 นาที จนไดสีตามตองการ ยกดายฝายออก ซักน้ําสะอาดใสรางกระตุกตากจนแหง จะได
กากีตามตองการ
5.7.พืชสมุนไพรใหสีดํา
5.7.1. ตนมะกอกเลื่อม(ตนมะเกิ้ม)
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Carnarium subulatum Linn.
วงศ Burseraceae
สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา
134 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
5.7.2. ตนสมอไทย
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia chebula Linn.
วงศ Comrbetaceae
สมอไทยเปนไมยืนตน ดอกมีสีเหลืองและมีกลิ่นหอม ผลรูปไขสีเหลือง
เมล็ดเดี่ยวและแข็ง ผลสุกสีน้ําตาลมีรอยยนตามยาว ไมมีกลิ่นรสฝาด เมื่อชิมจะขมเล็กนอยใน
ตอนแรก และหวานในตอนหลัง
สวนที่ใช คือ เปลือก และใบใหสีดํา เอาเปลือกสมอมาตมเคี่ยวใหแหงจน
งวด พอสมควร รินเอาแตน้ําใสหมอดิน เอาดายฝายที่เตรียมไวลงยอมขณะที่สียังรอนอยู จะไดสี
ดําแกมเขียวเขม ถาตองการไดสีเขียวใชดายฝายที่ผานการยอมสีครามมายอม จะไดสีเขียวตาม
ตองการ
5.7.3. ตนรกฟา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia alata Heyne ex Roxb.
วงศ Combretacea
ไมยืนตนสูง20-30 เมตร ผลัดใบ ใบเดี่ยวรูปไขขอบขนาน เนื้อใบหนา
คลายแผนหนัง กิ่งออนมีขนนุม ดอกชอ ออกที่ซอกใบปลายกิ่ง ผลแหงแข็งมีปก 5 ปก มีเมล็ด
เดียว ลําตนตมน้ําดื่มแกกษัยเสน มีการทดลองสกัดสารจากใบและลําตนแหงโดยใชเมทานอล ที่
ความเขมขน 200 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร สามารถยับยั้งการทํางานของเอนไซมของเชื้อ HIV-1
reverse transcriptase นอกจากนั้นยังพบวา สารสกัดแอลกอฮอล 50 % จากเปลือกตนแหง มีฤทธิ์
ลดความดันโลหิตสุนัข แตพบวามีความเปนพิษ ซึ่งควรทําการวิจัยตอไป(นพมาศ สุนทรเจริญ
นนท, ธนุชา บุญจรัส, รุงระวี เต็มศิริฤกษกุล, วิชิต เปานิล และอาทร ริ้วไพบูลย(บก.), 2543)
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีดํา โดยการแชเปลือกตนรกฟาในปริมาณ
พอสมควรไวนาน 3 วัน แลวตั้งไฟตมใหเดือด จนเห็นวาสีออกหมดดีแลว จึงเทน้ํายอมใสลงใน
อางยอมหมักแชไว 1 คืนนําเอาเปลือกไมผึ่งแดดจนแหง เก็บไวใชตอไป สีเปลือกไมนี้ถาถูกตม
จะกลายเปนสีดําได
5.7.4. ตนตับเตา(มะเมียง)
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Diosporos ehretioides Wall ex G Don.
พืชสมุนไพรใหสี 135
วงศ Ebenaceae
สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา
5.7.5. ตนมะเกลือ
ชื่อสามัญ Ebony tree
ชื่อวิทยาศาสตร Diosporos mollis Griff.
วงศ Ebenaceae
มะเกลือเปนไมยืนตน ขนาดกลางถึงใหญ มีขนนุมที่ใบและยอดออน
รูปรางใบคลายรูปไข ดานบนใบเรียบ ดานใตใบสีเขียวซีด ดอกมีขนาดเล็ก ออกเปนชอ สีเหลือง
ออนมีขน ชอดอกมีตั้งแต 3 ดอกขึ้นไป ผลกลมเขียวคล้ํา มีเมล็ด 2-3 เมล็ด ทุกสวนของมะเกลือ
เมื่อแหงจะเปลี่ยนเปนสีดําเนื้อไมใชทําเครื่องเรือน ผลสีเขียวกินเพื่อฆาพยาธิ
สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา นําผลมะเกลือที่แกจัดมาตํา เทลงในภาชนะที่จะ
ใชยอมตมกับน้ําใหเดือด นําผายอมชุบน้ําบิดใหแหงใสลงไปตมนาน 10-20 นาที นําผาขึ้นผึ่งให
แหงบางคนนิยมใชตนกระเม็งตํารวมกับผลมะเกลือใชยอมผาจะทําใหผาที่ยอมได มีคุณภาพดี
ยิ่งขึ้น
5.7.6. ตนคนทา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Harrisonia .perforata Merr.
วงศ Simaroubaceae
ไมพุมสูงประมาณ 3-6 เมตร ลําตนมีสีเทา มีหนามตามกิ่ง ใบยอยรูปไข
มีครีบบริเวณกานใบ ใบสีแดงออน และใบมีรสขม ดอกสีขาว ผลกลมชุมน้ํา เปลือกรากรักษาไข
แกรอนในกระหายน้ํา โรคลําไส แกบิด แกทองเสีย
สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา
5.7.7. ตนมะยมปา
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Ailanthus triphysa Alston.
วงศ -
สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีดํา
136 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
5.7.8. ตนมะขามเทศ
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Pithecellobium dul Benth.
วงศ -
สวนที่ใช คือ เปลือกใหน้ําฝาดดําใชยอมผา แห อวน
6. ขั้นตอนการยอมสี
6.1.จัดหาหรือเตรียมพืชสมุนไพรใหสีตามสีที่ตองการ ดวยภูมิปญญาชาวบานใน
การเก็บสวนของพืชสมุนไพร ถาเปนแกนก็จะตัดกิ่งที่มีขนาดพอเหมาะ ถาเปนเปลือกไม จะถาก
เอาสวนเปลือกมาพอประมาณ โดยรูวาจะถากอยางไรไมใหตนไมตาย และจะมีการเอาดินเหนียว
ปะบริเวณรอบถาก ชวยใหตนไมจะซอมแซมตนเองได(สุนทรี เซงกิ่ง, 2533)
6.2.ตัด หั่น สับใหเปนชิ้นเล็ก ๆ ตมเคี่ยวใหไดสี กรองแยกเอากากออก
6.3.นําผาลงยอมในน้ําสี หากตองการใหสีเขม ใหยอมหลายครั้ง อาจแชเสนดายใน
น้ําสีคางคืน เพื่อใหสีซึมเขาเสนใยดายใหทั่วถึง
6.4.ผึ่งใหแหง
ภาพที่ 5.8 การยอมผาโดยใชสีธรรมชาติ
ที่มา (สุนทรี เซงกิ่ง, 2533, หนา 120).
พืชสมุนไพรใหสี 137
พืชสมุนไพรใหสีผสมอาหาร
คนไทยรูจักวิธีปรุงแตงอาหารใหมีสีสันนารับประทานมาเนิ่นนาน กอนที่จะมีการผลิตสี
สังเคราะหดวยกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร ที่ใชกันอยางแพรหลาย ดังในปจจุบัน อาหารที่เรานิยม
แตงสีใหสวยงาม สวนใหญเปนของวางหรือของหวาน แมแตอาหารคาวของเราก็มีสีชวน
รับประทานดวยสีจากพืชเชนเดียวกัน เชน แกงเผ็ดมีสีแดงจากสีจากพริกแหง แกงเขียวหวานที่มี
สีเหลืองปนเขียว เพราะสีจากพริกชี้ฟารวมกับสีเขียวจากใบพริกหรือใบผักชีที่เราโขลกรวมไป
ในเครื่อง น้ําพริกแกง หรือแมแตน้ําพริก (ที่ใชรับประทานกับขนมจีน มีน้ํามันสีแดงลอยหนา
แลดูชวนใหรับประทานก็เพราะการผัดพริกแหงปน ในน้ํามัน ใหสีแดงของพริกละลายอยูใน
น้ํามัน แลวจึงใชแตงหนาน้ําพริกใหแลดูนารับประทานยิ่งขึ้น(กรมสงเสริมการเกษตร, 2545)
หลักฐานที่บงวาคนไทยรูจักใชสีเพิ่มความสวยงามใหแกอาหาร นั่นก็คือ พระราชนิพนธ
ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เรื่อง กาพยเหเรือชมเครื่องหวาน ซึ่งเปนราชนิพนธ
ที่มีอายุเกือบ 200 ปแลว ดังมีตอนหนึ่ง ดังนี้
สังขยาหนาตั้งไข เขาเหนียวใสสีโสกแสดง
เปนนัยไมเคลือบแคลง แจงวาเจาเศราโศรกเหลือ
ชอมวงเหมาะมีรส หอมปรากฏกลโกสุม
คิดสีสไบคลุม หุมหมมวงดวงพุดตาน
จากการสํารวจอาหารที่วางจําหนายในทองตลาดพบวา รอยละ 40 เปนสีที่ไดรับอนุญาต
จากกระทรวงสาธารณสุข รอยละ 28 เปนสียอมผา รอยละ 18ไมรูวาเปนสีอะไร และรอยละ 14
เปนสีที่ไดจากธรรมชาติ (ศิริ ผาสุก, 2535)
สีตาง ๆ ที่ใชแตงสีอาหารในสมัยกอนนั้น ใชสีที่ไดจากธรรมชาติ เชน สีจากพืช และ
สัตวบางชนิด และสีจากพืชสมุนไพรที่นิยมใชกัน มีดังนี้คือ
1. พืชสมุนไพรใหสีเหลือง ไดแก
1.1 ขมิ้นชัน
ชื่อสามัญ Curcuma,Turmeric
ชื่อวิทยาศาสตร Curcuma longa Linn
วงศ Zingiberaceae
สวนที่ใช เหงา นํามาลางดินใหสะอาด ปอกเปลือกแลวโขลกละเอียด เติมน้ําแต
นอย เทใสผาขาวบางคั้นเอาแตน้ําไดสีเหลืองเขม ขมิ้นหลังจากบีบเอาน้ําขมิ้นออกแลว สวนกาก
138 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
ที่เหลือสามารถนําไปอบใหแหงและบดใหละเอียดจะไดผงขมิ้น ผงขมิ้นที่ไดนําไปรอนผาน
ตะแกรง ละเอียดอีกครั้งหนึ่ง สวนที่เปนผงละเอียดใชเปนสีอาหารได สวนที่หยาบสามารถสกัด
สีของขมิ้นออกได โดยใชน้ํามันพืช หรือแอลกอฮอล ซึ่งจะสามารถเก็บไวใชไดเปนระยะ
เวลานาน นิยมใชกับ ขาวเหนียวมูน หนากุง ขาวพอง วุน อาหารคาว ขาวหมาก แกงกะหรี่ แกง
เหลือง แกงพุงปลา และอื่น ๆ โดยเฉพาะอาหารของภาคใตแทบทุกชนิด ใชขมิ้นแตงสีและกลิ่น
1.2 ขมิ้นออย
ชื่อสามัญ Turmeric
ชื่อวิทยาศาสตร Curcuma zedoaria Rosc.
วงศ Zingiberaceae
พืชลมลุกมีลักษณะใกลเคียงกับขมิ้นชัน มีเหงาใตดิน ใชเปนเครื่องเทศ ใชปรุง
แตงกลิ่นรสของอาหาร
สวนที่ใชแตงสีอาหาร เหงาใหสีเหลืองดอกบวบ ในตางประเทศนิยมใชใชขมิ้น
แตงสีเนยสด เนยแข็ง ผักดอง ขาวเหนียวหนากุง ขนมเบื้องญวน และอื่น ๆ
1.3 ลูกพุด
ชื่อสามัญ Gardenia, cape jasmine
ชื่อวิทยาศาสตร Gardenia jasminoides
วงศ Rubiaceae
ไมพุมเตี้ย ใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ดอกเดี่ยวออกตามงาม กลีบดอกซอนหลาย
ชั้น มีกลิ่นหอมออน ดอกใชผสมน้ํามันเปนยารักษาโรคผิวหนัง รากแกไข เปลือกแกปวดทอง
ผลใชขับพยาธิ
สวนที่ใช คือ ผลแกหรือแหงแชน้ํารอน ใชกับ เตาหูเหลือง เพราะถิ่นเดิมอยูใน
ประเทศจีน เนื่องจากปจจุบันหายากจึงไมคอยมีใช อาจซื้อไดจากรานขายยาแผนโบราณ
1.4 หญาฝรั่น
ชื่อสามัญ Saffron
ชื่อวิทยาศาสตร Crocus sativus Linn.
วงศ Iridaceae
พืชที่มีลําตนใตดินที่เรียกวา corm เปนพืชอายุหลายป ดอกโผลขึ้นมาจากดิน
การเก็บเกี่ยวดอก เมื่อดอกเริ่มบาน เกสรตัวเมียมีสีแดงเขมใหแยกเกสรตัวเมียออกดวยมือ นํามา
พืชสมุนไพรใหสี 139
ทําใหแหงโดยการยางบนเตาถาน สารสีที่มีไดแก picrocrocin มีกลิ่นหอมและขม เมื่อสลายตัวให
สาร safranal
สวนที่ใช คือ เกสรตัวเมียของหญาฝรั่น ตากแหงเก็บไวใหทั้งสีและกลิ่นหอม
แตราคาสูงมาก เพราะตองสั่งนําเขามาจากตางประเทศ (อาจใชกลีบดอกคําฝอยแทน) วิธีทําใช
เกสรตัวเมียของหญาฝรั่นชงดวยน้ํารอนแลวกรองเอาแตน้ํา หรือบดละเอียดผสมลงในอาหารนั้น
หรือใสทั้งเปนเสนก็ได นิยมใชกับขาวปรุงรสตํารับตางประเทศ เชน ขาวหมาก ขาวบุหรี่ ขาว
สเปน ขาวพิลาฟ
ภาพที่ 5.9 หญาฝรั่นที่ใหสีเหลืองผสมอาหาร
1.5 ดอกคําฝอย
ชื่อสามัญ Safflower
ชื่อวิทยาศาสตร : Carthomas tinctorius Linn.
วงศ Compositae
สวนที่ใช คือ กลีบดอกตากแดดใหแหงเก็บไวใชไดนานใหสีเหลืองออน วิธีใช
ใสน้ําพอทวมกลีบดอก นําขึ้นตมใหเดือดประมาณ 5 นาที แลวกรองเอากากทิ้ง นิยมใชแทน
หญาฝรั่น และใสขนมตาง ๆ ที่ตองการสีเหลือง
1.6 เมล็ดคําแสด
ชื่อสามัญ Annatto
ชื่อวิทยาศาสตร Bixa orellana Linn.
วงศ Bixaceae
140 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
คําแสดเรียกอีกชื่อหนึ่งวาคําเงาะคําแสด หรือ คําไท เปนไมพื้นเมืองอเมริกา
กลางบราซิล กัวเตมาลา และเม็กซิโก ในประเทศไทยปลูกประดับทั่วไป คําแสดเปนไมพุม ใบ
คลายใบโพธิ์ ผลคลายเงาะเมื่อผลแกจะแตกออกมีเมล็ดสีแดงอยูภายใน เมล็ดมีสาร Bixin
สวนที่ใช คือ เมล็ดแหง วิธีการสกัดสีทําได 2 วิธี ดังนี้
1.6.1 นําเมล็ดมาบุบมาในแชน้ํารอน แลวกรองเอาแตน้ํา สีเหลืองแสด ปลอย
ใหสีเคลือบเมล็ดหลุดออกมา เห็นเปนตะกอนละเอียด แยกเมล็ดออก ทิ้งใหน้ําสกัดสีเกิดการบูด
เนา อีก1 สัปดาห สีที่ไดเรียกวา annatto จะจมลงกนถัง กรองสีทําใหเปนแผนทิ้งใหแหง สี
annatto ใชแตงสีเนย เนยแข็ง มาการีน แตงสีไขแดง นอกจากนั้นแลวยังใชแตงสียาขัดพื้น ยาขัด
รองเทา ครีมใสผม และยอมผา แตสีไมคงทนซีดงาย
1.6.2 เมล็ดคําแสดไปสกัดดวยน้ํามันพืช โดยใชอุณหภูมิไมเกิน 130 องศา
เซลเซียส หลังจากนั้นกรอง นําสวนที่ละลายออกมา ไดจะใหสีเหลือง-แดง ใชในอาหารประเภท
ที่มีไขมันเปนสวนประกอบ การสกัดสีโดยใชสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด หรือโปรแตส
เซียมไฮดรอกไซด ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส กรองสารละลายที่ได นําไปใชเปนสีผสมอาหาร
และสามารถเก็บไวใชได นิยมใชกับขนมตาง ๆ ที่ตองการสีเหลือง ในตางประเทศใชแตงสีเนย
แข็ง
1.6.3 นําเมล็ดมาตมกับโซเดียมคารบอเนต กรองและทําใหเปนกรด แลวตมกับ
โซเดียมคลอไรด สีจะตกตะกอน กรองและทําใหสีแหง
1.7 ดอกกรรณิการ
ชื่อสามัญ Night jasmine
ชื่อวิทยาศาสตร Nyclanthes abor-tristis Linn.
วงศ Verbenacee
ไมพุมขนาดเล็กนิยมปลูกเปนไมประดับ ใบเดี่ยว มีผิวใบหยาบสากมือ ดอก
ออกเปนชอ โคนดอกสีสมแดง กลีบดอกสีขาว 5-7 กลีบ รูปกงจักร ดอกมีกลิ่นหอม
สวนที่ใช คือ กานดอก นํามาผสมน้ําขยี้แลวกรองไดน้ําสีเหลืองสม ใชผสม
อาหารได หรือใชเปนสียอมผาได(ทัศนีย โรจนไพบูลย, จุฑามาศ เอกะวิภาต และวารุณี วารัญญา
นนท, 2545, สิงหาคม 5).
1.8 ตาล
ชื่อสามัญ Sugar Palm
ชื่อวิทยาศาสตร Borassus flabellifera Linn.
พืชสมุนไพรใหสี 141
วงศ Palmaceae
ไมยืนตน สูงประมาณ 20 เมตร แตกใบบริเวณปลายยอด ใบแผกลมรูปพัด มี
กานแบนเมื่อหลุดรวงจะมีรอยตามลําตน ผลอยูรวมกันเปนทะลาย ลักษณะกลมเปลือกสีน้ําตาล
ดํา ชอดอกตัวผูใหน้ําตาลและใชเปนยาขับปสสาวะ
สวนที่ใช คือ ลูกตาลสุกจะใหทั้งสีและกลิ่นหอมเฉพาะตัว โดยเลือกลูกตาลสุก
อยาใหงอก ลอกเปลือกแข็งออกใหหมด ใสลงในชามเติมน้ําพอทวม ใชมือนวดเอาเนื้อที่แทรก
อยูตามเสนใยออกจนหมด เติมน้ําอีกเทาตัวคนใหเขากันแลวเทใสถุงผา ผูกปากใหแนนทับน้ําให
แหง ใชผสมแปงทําขนมตาล(วนิดา สุบรรณเสณี, สมควร ศวิตชาติ และประเชิญ สรอยทองคํา,
2531)
ภาพที่ 5.10 ลูกตาลสุกที่นํามาวางขายในตลาดสด
1.9 แครอท
ชื่อสามัญ carrot, bee’ s nest plant, bird’s nest root, Queen Anne’s lace
ชื่อวิทยาศาสตร Daucus carota Linn.
วงศ Umbelliferae
แครอทพืชพื้นเมืองยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ เปนพืชลมลุก อายุ 1-2 ป
ปลูกเพื่อเปนอาหาร ใบเปนฝอย รากสะสมอาหารมีสีสม เมล็ดใชแตงกลิ่นอาหารเครื่องดื่มและ
142 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
ไมมีแอลกอฮอล อาหารแชแข็ง รากเมื่อสกัดดวยตัวทําละลายใชเปนยา เพราะมี เบตาแคโรทีน
ใชทาผิวใชทาปองกันแสงแดด
สวนที่ใชเปนสีผสมอาหาร คือ รากมีสีเหลืองอมสม ใชผสมในอาหาร เชน
ผสมในถั่วกวนใชทําขนมลูกชุบ น้ําแครอท น้ําผลไมรวม
นอกจากพืชสมุนไพรที่กลาวถึงแลว ยังมีพืชอื่น ๆ ที่ใหสีเหลืองอีกหลายชนิดที่
ใชเพิ่มสีสันแกอาหารได เชน ดอกดาวเรืองก็ใหสีเหลือง แตตองใชวิธีสกัดสีพิเศษไมคอยสะดวก
ที่ทําใชเอง พริกเหลือง ก็ชวยเพิ่มสีสันไดดวย การโขลกละเอียด แลวผสม เปนน้ําจิ้มสีเหลือง น้ํา
สมเขียวหวานคั้นสด ๆ ใสลงในขนมเค็กใหรสสมและสีสม และแตงสีขนมปง สีจะเหลืองสวย
และมีกลิ่นหอมชวนรับประทานยิ่งขึ้น
1.10 ฟกทอง
ชื่อสามัญ Pumpkin
ชื่อวิทยาศาสตร Cucurbita maxima Duchesne
วงศ Cucurbitaceae
ไมเถาเลื้อยทอดไปตามฟน ใบเดี่ยวเรียงสลับ ขอบใบหยักเวาเปนแฉกตื้น ๆ มี
ขนทั้งสองดาน ลําตนแข็งกลมหรือเปนเหลี่ยมมน ดอกเดี่ยวออกตามงามใบดอกเพศผูและดอก
ตัวเมียอยูบนตนเดียวกัน ผลมีกานเปน 5 เหลี่ยม ลักษณะกลมแปน มีพูเล็ก ๆ รอบผล สีเขียวอม
น้ําเงินหรือเทา มีรอยดางแตม เปนจุดเนื้อผลมีสีเหลือง ตรงกลางผลมีเมล็ดจํานวนมาก ดอกและ
ยอดออนรับประทานเปนผัก ผลใชประกอบอาหารคาวหวาน
สวนที่ใชเปนสีผสมอาหาร คือ เนื้อใชเปนอาหารใชแตงสี เชนขนมฟกทองหรือ
ทําขนมบัวลอยฟกทอง
2. พืชสมุนไพรใหสีเขียว ไดแก
2.1 ใบเตยหอม
ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร Pandanus odorus Ridl.
วงศ Pandanaceae
สวนที่ใช คือ ใบ สีเขียวและกลิ่นหอม ควรเลือกใชใบคอนขางแก โดยนําใบหั่น
ขวางใบใหฝอยแลวโขลกโม หรือปน (ในเครื่องปน) ใหละเอียดเติมน้ําแลวคั้นเอาแตน้ํา นิยมใช
กับ: มะพราวแกว ขนมชั้น เปยกปูนใบเตย ขาวเหนียวมูนหนาเนื้อเค็มผัด ขนมเคก ลอดชอง
ขนมน้ําดอกไม ฯลฯ
พืชสมุนไพรใหสี 143
2.2 ใบยานาง
ชื่อสามัญ
ชื่อวิทยาศาสตร: Tiliacora triandra Diels.
วงศ Menispermaceae
ไมเลื้อย ใบแข็งมีสีเขียว เถาแข็ง เสนใยจากเถาใชทําเชือกได
สวนที่ใช คือ ใบ ใหสีเขียว ควรเลือกใชใบคอนขางแกโดยขยําใบแกกับน้ํา
กรองเอาน้ําสีเขียวใสแกง หนอไม ยอดหวาย แกงลาว หรือใสซุบหนอไม
ภาพที่ 5.11 ใบยานางใหสีเขียวในแกงและซุบหนอไม
3. พืชสมุนไพรใหสีแดง ไดจาก
3.1 กระเจี๊ยบ
ชื่อสามัญ Roselle
ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus sabdariffa Linn.
วงศ Malvaceae
สวนที่ใช คือ กลีบเลี้ยงมีสีแดงเปนสารประเภท anthocyanin กลีบเลี้ยงนํามาทํา
ผลไมกวน แยม ไวน เยลลี่ หรือน้ํากระเจี๊ยบ
3.2 ฝาง
ชื่อสามัญ Sappan
ชื่อวิทยาศาสตร Caesalpinia sappan Linn.
144 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร
วงศ Caesalpiniaceae
สวนที่ใช คือ แกนตมกับน้ํา ใหสารสีแดง sappan red ใชเปนหลักในการปรุง
น้ํายาอุทัย
3.3 มะเขือเทศ
ชื่อสามัญ Tomato
ชื่อวิทยาศาสตร Lycopersicum esculentum Mill.
วงศ Solanaceae
พืชลมลุก ลําตนและใบมีขน ขนาดของผลแตกตางกัน ผลเมื่อดิบยังเขียวอยู
เมื่อสุกสีแดงอมสม มีคุณคาทางอาหารสูง
สวนที่ใช คือ ผล ใชทํา ซอส น้ํามะเขือเทศ อาจใช หัวบีท มะละกอ ชวยในการ
ผสมอาหารที่ตองการใหสีแดงได
4. พืชสมุนไพรใหสีน้ําเงินหรือมวงหรือดําไดจาก
4.1 ดอกอัญชัน
ชื่อสามัญ Butterfly pea
ชื่อวิทยาศาสตร Clitorea ternatea Linn.
วงศ Papilionaceae
สวนที่ใช คือ กลีบดอกมีสารสีน้ําเงินพวก anthocyanin ใชกลีบดอกขยี้กับน้ําใช
ผสมขนมชอมวง ขนมชั้น ผสมกับน้ํามะขามไดสีมวง
4.2 ขาวเหนียวดํา(ขาวเหนียวกันยา)
ชื่อสามัญ Black sticky rice
ชื่อวิทยาศาสตร Oryza sativa glutinosa
วงศ Graminae
ขาวเหนียวสายพันธุหนึ่ง เมล็ดขาวมีสีดํา เนื้อในเมล็ดมีสีมวงถึงสีดําของสาร
anthocyanin
สวนที่ใช คือ เมล็ดมีสีมวงดํา มีสาร anthocyanin ใชเมล็ดแตงสีอาหาร เชนขนม
จาก ขาวเหนียวเปยก ขาวหลาม ขนมสอดไส (นิจศิริ เรืองรังสี, 2542).
4.3 ดอกดิน
ชื่อสามัญ -
ชื่อวิทยาศาสตร Aeginatia indica Roxb.
พืชสมุนไพรใหสี 145
วงศ Orobanchaceae
ดอกดินเปนพืชที่ชอบขึ้นใตตนไผ ที่ชื้นและรม ดอกมีกานยาว กลีบดอกสีมวง
เขมเปน 2 ปาก ดอกมีสาร Aucubin เมื่อสัมผัสกับอากาศจะเปลี่ยนเปนสีมวงหรือดํา
สวนที่ใช คือดอกสดหรือแหงคั้นน้ํา ไดน้ําสีมวงแตงสีอาหารทําขนมดอกดิน
4.4 ลูกหวา
ชื่อสามัญ Jambolan
ชื่อวิทยาศาสตร Euginia cumini Druce.
วงศ Myrtaceae
ไมยืนตน ผลใชเปนผลไม สวนที่ใช คือ ผล ใหสีมวงใชทําน้ําลูกหวา
4.5 ถั่วดํา
ชื่อสามัญ Black bean
ชื่อวิทยาศาสตร Phaseolus mungo L
วงศ Leguminosae
สวนที่ใช คือ เมล็ด ตมบดละเอียดทําไสขนม ทําของหวาน หรืออาจใชถานที่ได
จากการเผาใบยอ ใบคนทีสอ หรือใบจาก ถานไม กาบหรือกะลามะพราวเผาไฟ หรือรวงตาลเผา
ไฟ
นอกจากนี้เรายังใชพืชตอไปนี้ เชน ใบพริก ใบผักชี ใบมะตูม ใบตะไคร พริกเขียว
พืชเหลานี้ใชสําหรับแตงสีอาหารคาว เชน แกงเขียวหวาน แกงบวน เปนตน
บทสรุป
พืชสมุนไพรที่มีคุณสมบัติใหสารสี สามารถนํามาใชในการปรุงแตงอาหารทําใหนา
รับประทานมากขึ้น และปลอดภัยตอการบริโภค รวมไปจนถึงพืชสมุนไพรที่ใชเปนสียอมผา ซึ่ง
จะพบวางานยอมผาฝาย หรือผาไหม ลวนมีเสนหและความโดดเดนในตัวเอง จัดเปนงาน
สรางสรรคศิลปะ ความสวยงามมีเสนหนั้นเปนที่ตองการของชาวไทยและตางประเทศ ดังนั้น
การที่ประเทศของเรามีภูมิปญญาในดานศิลปะในการทําอาหารไทย และศิลปะในการยอมผา
ยอมวัสดุ เชน เสื่อ สิ่งถักทอ วัสดุใชงานอื่น ๆ เชนนี้ เราควรมีการพัฒนาใหมีความหลากหลาย
มากขึ้น ควรมีการสงเสริมไปจนถึงการจดสิทธิบัตรเพื่อปองกันทรัพยสินทางปญญา มีการ
ถายทอดภูมิปญญาพื้นบานจากรุนหนึ่งไปสูรุนลูกหลาน อีกทั้งควรอนุรักษพืชสมุนไพรที่เปน
พรรณไมที่ใหสีใหคงอยูในชุมชนและในสภาพธรรมชาติ
สมุนไพรให้สี

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย Nawakhun Saensen
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นAkkradet Keawyoo
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าจริงใจ รักจริง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
โครงงาน เรื่อง การศึกษาปัญหาการอ่านหนังสือของคนไทย
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

Similar to สมุนไพรให้สี

งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจkhuwawa
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..preeyanuch2
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่plernpit19
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้นNew Nan
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีKrittamook Sansumdang
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรaromdjoy
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook BioTitiratHu
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 

Similar to สมุนไพรให้สี (20)

Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจ
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
ชุดโลกของพืช เรื่
ชุดโลกของพืช  เรื่ชุดโลกของพืช  เรื่
ชุดโลกของพืช เรื่
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
ประเภทต้น
ประเภทต้นประเภทต้น
ประเภทต้น
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดีโครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
โครงงานเรื่องดอกไม้ในวรรณคดี
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 

สมุนไพรให้สี

  • 1. บทที่ 5 พืชสมุนไพรใหสี นกยูงรําแพนหาง ปลากัดสีสดสวย สีเขียวบนปกแมลงทับ เปนสิ่งที่มนุษยมองเห็นดวย ตา สีสันแสดงถึงความสวยงามสดใส แลดูโดดเดนตางจากสิ่งอื่น ๆ รอบขาง และความสวยงาม นี่เองที่เปนสิ่งที่ทุกคนปรารถนา มนุษยลอกเลียนความสวยงามโดดเดนของสีสันจากสัตวและ ธรรมชาติ โดยการนําสีแตงแตมหรือทาบนใบหนา หรือทาผิวหนังของตนเอง หรือนํามาประดับ ตกแตงตัวดวยเสื้อผาแพรภัณฑสีสันตาง ๆ นอกจากนั้นแลวการประดับตกแตง อาจบงบอกถึง ฐานะของบุคคลในชุมชน หรือการแตงกายเพื่อการเขารวมในพิธีกรรม เชนหญิงสาวชาวอินเดีย เมื่อเขาพิธีแตงงาน จะมีการเขียนสีบนแขนและมือ ดังนั้นสีจึงมีบทบาทในชีวิตของมนุษยมาก รวมไปจนถึงการประดับตกแตงอาหารใหมีสีสวยงาม อาหารที่มนุษยรับประทานเขาไป หรือ ขนมสีสวยดึงดูดใจ ซึ่งมนุษยในอดีตเรียนรูวามีพืชสมุนไพรหลายชนิดที่ใหสี หรือใชยอมสีผาที่ ใชนุงหม รวมไปจนถึงการใชสีตกแตงอาหาร เพื่อความสวยงาม ชวนมอง ชวนรับประทาน ดึงดูดใจแกผูพบเห็น เราเรียกวาพืชเหลานั้นวา พืชสมุนไพรใหสีหรือพืชสี ซึ่งพืชสมุนไพรก็ใหสี แตกตางกันไป ขึ้นอยูกับสารเคมีในตนพืชและกรรมวิธีในการสกัดสีจากพืชชนิดนั้น ๆ ภาพที่ 5.1 ปลากัดสีสันแหงความสวยงามจากธรรมชาติ
  • 2. 116 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร ความหมายของพืชสมุนไพรใหสี พืชสมุนไพรใหสี หรือพืชสี(dye plants) หมายถึงพืชที่มีสารสีหรือรงควัตถุ (pigment) ในเซลล หรือในเนื้อเยื่อ และสามารถสกัดออกมาไดโดยกรรมวิธีตาง ๆ เชน หมัก ตม หรือแยก ดวยน้ําหรือสารเคมี ซึ่งสารสีเหลานี้สามารถใชเปนสีได ประเภทของพืชสมุนไพรใหสี เราสามารถแบงพืชสมุนไพรใหสี ตามประเภทของสีที่นําใชประโยชน เปน 2 ประเภท ดังนี้ 1. พืชสมุนไพรใหสียอมผา 2. พืชสมุนไพรใหสีผสมอาหาร พืชสมุนไพรใหสียอมผา พืชสมุนไพรที่ใหสียอมผา หรือวัตถุอื่น ๆ เชน ฝาย ไหม สิ่งทอ หนัง และเครื่องจักสาน เปนสีที่ติดทนนาน บางชนิดนอกจากเปนสียอมแลว ยังสามารถเปนสีผสมอาหารไดดวย ตัวอยาง พืชสมุนไพรใหสียอม ไดแก ตนฮอม(หอม) ตนคราม ตนประดูตนโกงกาง ตนนนทรี เปนตน ผาที่ยอมสีธรรมชาติจากพืชสมุนไพรนั้น นอกจากเปนการใชภูมิปญญาชาวบานแลว มี รายละเอียดที่เกี่ยวของกับพืชสมุนไพรใหสียอมผา มีดังนี้ 1. คุณประโยชนของสียอมธรรมชาติจากพืช 1.1.เปนผลิตภัณฑธรรมชาติที่มีความปลอดภัยตอผูผลิตและผูบริโภค 1.2.หางายใชวัตถุดิบจากทองถิ่น ราคาถูก 1.3.มีสีออน นุมนวล สบายตา 1.4.ชวยใหเสนใยคงทน 1.5.สวมใสสบายเพราะระบายความรอน 1.6.ลดการใชสารเคมีที่เปนอันตรายตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม 1.7.ชวยลดปริมาณการนําเขาสีสังเคราะหจากตางประเทศ 1.8.สรางอาชีพที่ใหคนในชุมชนและเปนอาชีพที่จะสงผลใหคนในชุมชมมีอาชีพ อื่น ๆ ตามมา เชน ทอผา คาขาย ทองเที่ยว ฯลฯ
  • 3. พืชสมุนไพรใหสี 117 ภาพที่ 5.2 ดายที่ยอมดวยสีธรรมชาติจะมีสีออนนวลตา ที่มา (สุนทรี เซงกิ่ง, 2533, หนา 126) ภาพที่ 5.3 การทําผามัดหมี่ ซึ่งเปนอาชีพหนึ่งของคนในหมูบานนาขา จังหวัดอุดรธานี ซึ่งมีบางกลุมที่ใชสียอมจากธรรมชาติ
  • 4. 118 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร 1.9 สรางความตระหนักในการอนุรักษตนไมและสิ่งแวดลอม เพราะตนไม เปนทั้ง อาหาร ยา ขาวของเครื่องใช เชื้อเพลิง สียอม สวยงาม ประดับตกแตง งานศิลปะ 1.10 สรางความตระหนักใหคนในชาติ ในเรื่องการฟนฟูและอนุรักษองคความรู และภูมิปญญาของไทยการทอผา การยอมสีธรรมชาติ การปลูกการดูแลรักษาพืชสมุนไพร ฯลฯ ภาพที่ 5.4 การเก็บพืชสมุนไพรใหสีจากธรรมชาติจะตองเก็บ อยางระมัดระวังเพื่อใหตนไมไมเปนอันตราย ที่มา (สุนทรี เซงกิ่ง, 2533, หนา 120). 2. สาเหตุที่การใชพืชสมุนไพรใหสียังไมแพรหลาย 2.1. ยากตอการเก็บรักษาวัตถุดิบที่นํามาทําสี เนื่องจากพืชสมุนไพรใหสีธรรมชาติ ที่เราเก็บในชวงที่มีมากนั้น เมื่อยังไมใชงานอาจมีการเปลี่ยนแปลงเนาเสียได ดังนั้นการจะเก็บ รักษาวัตถุดิบไว ควรตองมีการศึกษาการเก็บถนอมเพื่อใหมีใชในชวงที่ตองการจะใชยอมสีผาได
  • 5. พืชสมุนไพรใหสี 119 2.2. เสียเวลาในการสกัดสีจากวัตถุดิบ เชนการยอมสีครามนั้น เมื่อเก็บใบคราม มาแลวตองหมักใบครามไวสัก 2-3 วัน จนใบครามเปอย จึงเอาใบออก เหลือเฉพาะน้ําสีเขียวใส ๆ ใหใสปูนขาวที่ไดจากการเผาเปลือกหอยกวนใหเขากัน ทิ้งไว 1 คืน ตะกอนที่ตกอยูกนภาชนะ คือสีที่จะนํามาใชยอมผาได 2.3. ขาดแคลนความรูเกี่ยวกับชนิดพืช เนื่องจากผูที่มีความชํานาญในการยอมผาสี ธรรมชาติมีอายุมาก และไมสามารถออกไปเก็บพืชสมุนไพรได อีกทั้งการเรียกชื่อพืชก็เรียก แตกตางกันไปในแตละทองถิ่น หรือพืชสมุนไพรตองมีอายุเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม 2.4. ขาดแคลนความรูเกี่ยวกับถิ่นและการกระจายพันธุของพืชใหสี ซึ่งบางชนิด ขึ้นเองตามปาเขา ซึ่งยากแกการไปหามาใชประโยชน 2.5. ขาดแคลนความรูเกี่ยวกับการใชพืชสีแตละชนิด ขั้นตอนการสกัดสีของพืช สมุนไพรใหสีแตละชนิดมีขั้นตอนที่แตกตางกันไป ซึ่งผูที่มีความชํานาญในการทําสวนใหญมัก เปนผูเฒาผูแกในหมูบาน ซึ่งควรตองมีการถายทอดมายังคนรุนหลังตอไป 3. ตัวอยางของผายอมสีจากใชพืชสมุนไพร มีดังนี้ 3.1. เสื้อผาหมอฮอม บานทุงโฮง อําเภอเมือง จังหวัดแพร พบวา เสื้อผาที่ยอมจาก ตนฮอม เมื่อซักแลวจะไมยับงาย และคงทนมากกวาเสื้อที่ยอมดวยสีเคมี เนื้อผาจะทนทานนาน กวา 4-5 ป และสวมใสสบายกวา 3.2. ผาไหมหรือผามัดหมี่ ที่บานนาแหว ตําบลสวาย อําเภอเมือง จังหวัดสุรินทร ที่ยอมดวยพืชสมุนไพรที่ใชสียอมตามธรรมชาติ พบวาเมื่อดมดูจะมีกลิ่นเนื้อไมติดอยูกับผา ถา มองจากที่ไกลจะเห็นเงาที่สะทอนจากผาไหมมากกวาผาที่ยอมดวยสีเคมี และอายุการใชงานก็ นานกวา และที่สําคัญพืชสมุนไพรที่ใชยอมผามีสรรพคุณรักษาผิวกายไดดวย(ศิริ ผาสุก, 2535) 4. สวนของพืชที่ใหสี สวนของพืชที่มีสารสี ไดแก 4.1 ใบ เชน ใบหูกวางใหสีเขียวในการยอมฝาย 4.2 เมล็ด เชน คําเงาะคําแสด สวนของเมล็ดใหสีแดง 4.3 ราก เชน รากของขนุนสามารถใหสีเหลืองใชยอมไหมและฝาย 4.4 ผล เชน ผลของมะเกลือใหสีดําใชในการยอมไหมและฝาย 4.5 ลําตนหรือเนื้อไมหรือแกน เชน เนื้อไมตนเขใหสีเหลืองในการยอมไหม เนื้อไม ฝางใหสีแดง ทั้งลําตนของครามใหสีน้ําเงินใชยอมฝายและ ไหม
  • 6. 120 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร 5. ชนิดพืชสมุนไพรที่ใหสียอมผา 5.1.พืชสมุนไพรที่ใหสีแดง มีหลายชนิดดวยกันคือ 5.1.1. ตนยอปา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Morinda coreia Ham. วงศ Rubitaceae ตนยอปา สวนที่ใชในการยอมผา คือ เปลือกราก ราด เนื้อไมและใบสับ แลวตมในน้ําเดือดเปนเวลานานไดสีแดง เคี่ยวใหแหงเก็บในรูปผงได 5.1.2. ตนสัก ชื่อสามัญ Teak ชื่อวิทยาศาสตร Tectona grandis Linn. วงศ Verbenaceae ตนสักเปนไมยืนตน ขนาดใหญ ลําตนเกลี้ยง ใบกลมขนาดใหญ ผิวใบ สาก ดอกเปนชอขนาดใหญ ผลเปนรูปกลมสีเขียว เนื้อไมทนทาน มีคุณภาพในการกอสราง บานเรือน เดิมมีมากทางภาดเหนือของประเทศไทย ปจจุบันนี้มีการปลูกเปนสวนปา ใบใชรักษา อาการประจําเดือนผิดปกติ ลดน้ําตาลในเลือด ดอกชวยขับปสสาวะ เปลือกเปนยาฝาดสมาน สวนที่ใชยอมผาคือ ใชใบจะใหสีแดง ใชแกนจะใหสีเหลือง 5.1.3. ตนมะกล่ําตน ชื่อสามัญ Red sandalwood tree ชื่อวิทยาศาสตร Adenanthera pavonina Linn. วงศ Mimosaceae ตนมะกล่ําตนเปนไมยืนตนขนาดใหญ ใบรวมขนาดเล็กรูปไข ออก ตรงกันขาม ดอกออกเปนชอสีเหลือง ผลเปนฝกบิดงอ ภายในมีเมล็ดสีแดงเปนมัน รากมีรส เปรี้ยวแกเสมหะในลําคอ แกรอนในแกอาเจียน เมล็ดใชฆาพยาธิ ใบแกริดสีดวงทวาร สวนที่ใชยอมผาคือ ใชแกนสับใหปนตมในน้ําเดือดจะไดสีแดง 5.1.4. ตนสมเสี้ยวหรือตนกาหลง ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Buahinia variegata Linn.
  • 7. พืชสมุนไพรใหสี 121 วงศ Caesalpiniaceae ตนสมเสี้ยวเปนไมยืนตนขนาดเล็ก สูงประมาณ 2 เมตร ใบออกตามขอ ลักษณะใบพับเขาหากันคลายสองใบประกบกัน ดอกออกเปนชอ ๆ ละ 5-6 ดอก ทยอยบานทีละ ดอก ดอกมีสีขาว ดอกใชรักษาความดันโลหิต แกปวดศีรษะ ขับเสมหะและเลือดออกตามไรฟน สวนที่ใชยอมผา คือ ใชเปลือกสับแลวตมในน้ําเดือดจะไดสีแดงเขม เกือบเปนสีดํา ใชยอมแหอวน หนังไดเปนอยางดี 5.2.พืชสมุนไพรใหสีเหลือง ไดแก 5.2.1. ตนมะพูด ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Garcinia dulcis Kurz. วงศ Guttiferae สวนที่ใชยอมผา คือ ใชเปลือกสับใหปนตมในน้ําเดือดจะไดสีเหลือง 5.2.2. ตนเข(ตนแกแล) ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Maclura coehinchinensis Lour. วงศ Moraceae ตนเขหรือตนแกแล สวนที่ใชยอมผา คือ ใชแกนสับใหปนตมในน้ําเดือด จะไดสีเหลือง ใชยอมผาหรือผสมอาหารได นําไปกรองน้ําสีไว เอาแกแลที่กรองไวไปตมน้ํา เดือดตอไปไดสีที่ออนกวาหมอแรก เก็บน้ําสีไวทําแบบเดียวกัน จนไดน้ําสีครบ 3 หมอ จะไดน้ํา สีออนจนถึงสีแก เอาดายลงยอมในน้ําหมอสีที่ 3 ซึ่งเปนสีออนสุด ยกดายกลับไปกลับมา เพื่อให สียอมติดในเนื้อไดอยางทั่วถึง ไมดาง ทิ้งไวสักพัก จึงน้ําดายขึ้นบิดพอหมาด นําไปยอมในหมอที่ 2 และ หมอที่ 1 ทําแบบนี้จนครบ 3 หมอ นําดายขึ้นซักน้ําจนสีไมตก เอาขึ้นผึ่งใหแหง 5.2.3. ตนเสนียด ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Justicia adhatoda Linn. วงศ Acanthaceae ตนเสนียดเปนไมพุมแตกกิ่งกานสาขามาก สูงประมาณ 3 เมตร ใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ดอกออกเปนชอ ตามงามใบ กลีบดอกดานบนมี 2 แฉก ดานลางมี 3
  • 8. 122 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร แฉก สีขาวประมวง ตนและรากเปนยาบํารุงปอด รักษาวัณโรค ใบใชหามเลือด ฝ แกหืด แกไอ ขับเสมหะ สวนที่ใชยอมผา คือ ใชใบสด ใหสีเหลือง 5.2.4. ตนแค ชื่อสามัญ Cock wood tree ชื่อวิทยาศาสตร Sesbenia grandiflora Linn. วงศ Pappilionaceae ไมยืนตนขนาดเล็ก กิ่งกานเปราะหักงาย ใบประกอบมีใบยอยขนาดเล็ก ขอบใบเรียบปลายใบมน ดอกออกเปนกระจุก ๆ ละ 2-4 ดอก กลีบดอกสีขาวหรือแดง ดอกกิน เปนผักหรือใสแกงสมแกไขหัวลม ฝกแบนยาวคลายถั่ว เปลือกตนมีรสฝาด รักษาอาการทองรวง รากแกเสมหะ สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลือง 5.2.5. ตนฝรั่ง ชื่อสามัญ Guava ชื่อวิทยาศาสตร Psidium guajava Linn. วงศ Myrtaceae ฝรั่งเปนพืชพื้นเมืองของอเมริกา เปนไมยืนตน ผิวเปลือกเรียบ ใบ คอนขางหนา ใตทองใบเปนริ้วเสนใบชัดเจน ดอกออกเปนชอ ดอกยอยขนาดเล็กมีสีขาวนวล กลีบเลี้ยงแข็ง ผลกลมรี เมื่อผลยังออนมีสีเขียวออนและเปลี่ยนเปนสีเหลืองเมื่อสุก ภายในมีเมล็ด จํานวนมาก ใบปงไฟชงน้ําดื่มแกทองเสีย บิด บวนปากระงับกลิ่นปาก รากตมน้ํากินแกน้ําเหลือง เสีย ชวยใหน้ําหนองแหง สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลือง 5.2.6. ตนไพลเหลือง ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Zingiber montanum Link ex Dietr. วงศ Zingiberaceae ตนไพลเหลือง หรือวานไฟ เปนพืชลมลุกมีหัวใตดินลําตนกลม ใบสี เขียวเรียวยาว เหงาแกปวดทอง ทองผูก จุกเสียด น้ํามันไพลแกปวดบวม สวนที่ใชยอมผา คือ ใชหัวใหสีเหลือง
  • 9. พืชสมุนไพรใหสี 123 5.2.7. ตนสุพรรณิการ ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Cochlospermum religiosum Linn. วงศ Bixaceae ตนสุพรรณิการเปนไมยืนตนมีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย นิยมปลูก ประดับตามบานหรือสวนสาธารณะ เปนไมผลัดใบสูง 7-15 เมตร ใบเดี่ยวรูปหัวใจ ขอบใบเปน คลื่น ดอกมีสีเหลือง เกสรสีเหลือง ผลกลม เมื่อแกจะแตกออกเปน 3-5 พู ใบออนใชสระผม ดอก และใบแหงใชเปนยาบํารุงกําลัง สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลือง 5.2.8. ตนปบหรือกาสะลอง ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Millingtonia hortensis Linn. วงศ Bignoniaceae ตนปบและกาสะลองเปนไมยืนตนมีความสูงถึง 25 เมตร เปลือกตน ขรุขระ ใบประกอบแบบขนนก ใบยอยรูปไข ปลายใบแหลม ดอกออกเปนชอใหญ ทยอยบาน กลีบดอกสีขาวแยกเปน 5 กลีบ โคนกลีบเชื่อมตอกัน ผลเปนฝกยาว ภายในมีเมล็ดจํานวนมาก ดอกใชสูบแกหืด รากใชบํารุงปอดรักษาวัณโรค สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีเหลืองออน 5.2.9. ตนมหากาฬ ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Gynura pseudochina DC. วงศ Compositae ตนมหากาฬหรือวานมหากาฬเปนพืชลมลุก หัวใตดิน ใบขนาดใหญคลุม ดิน ใบหนา ขอบใบหยัก ใบออนมีสีมวง กานใบที่แกจะเปลี่ยนเปนสีขาว ดอกคลายดอกดาวเรือง ขนาดเล็ก มีสีเหลือง ปลูกประดับตามบาน ใบโขลกผสมกับเหลา ใชพอกฝ ถอนพิษรักษาอาการ ปวดแสบปวดรอน หัวใชรักษาพิษไข สวนที่ใชยอมผา คือ หัวใหสีเหลือง
  • 10. 124 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร 5.2.10. ตนขี้เหล็ก ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Cassia siamea Linn. วงศ Caesalpiniaceae ไมยืนตนที่นิยมปลูกริมถนน ความสูง 3-5 เมตร ใบประกอบแบบขนนก ดอกออกเปนชอ กลีบดอกมีสีเหลือง ฝกแบนขนาดยาว 15 เซนติเมตร แกนไมใชฟอกเลือดใน สตรี ใบและดอกเปนอาหาร เปนยาระบายและชวยใหนอนหลับ รากใชขับพยาธิ สวนที่ใชยอมผา คือ ใบใหสีเหลือง ภาพที่ 5.5 ตนขี้เหล็กพืชที่ใชประโยชนไดทั้งตน 5.2.11. ตนขี้เหล็กเลือด ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Senna timoriensis Irwin & Barnerby วงศ Caesalpiniaceae ไมยืนตนขนาดเล็ก กิ่งออน มีขนสีเหลืองทอง ใบประกอบแบบขนนก ดอกออกเปนชอ ผลเปนฝกแบน แกนใชรักษาอาการประจําเดือนผิดปกติ บํารุงโลหิต แกกษัย เปลือกแกโรคหิด สวนที่ใชยอมผา คือ ใบใหสีเหลือง
  • 11. พืชสมุนไพรใหสี 125 5.2.12. ดอกกรรณิการ ชื่อสามัญ Night jasmine ชื่อวิทยาศาสตร Nyclanthes abor-tristis Linn. วงศ Oleceae ไมพุมขนาดเล็กนิยมปลูกเปนไมประดับ ใบเดี่ยวมีผิวหยาบสากมือ ดอก ออกเปนชอ โคนดอกสีสมแดง กลีบดอกสีขาว 5-7 กลีบ รูปกงจักร ดอกมีกลิ่นหอม สวนที่ยอมผาใช คือ กานดอกผสมน้ําขยี้ใหสีเหลืองสม เติมสารสมลงไป เล็กนอย เพื่อชวยใหสีติดแนน นําผาที่จะยอมแชทิ้งไวประมาณ 1 ชั่วโมง นําผาออกผึ่งลมใหแหง 5.2.13. ตนพุดปา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Gardenia collinsae Craib วงศ Rubiaceae สวนที่ใช คือ ผลแกใหสีเหลืองนวล 5.3. พืชสมุนไพรใหสีน้ําตาล ไดแก 5.3.1.ตนโกงกางใบใหญ ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Rhizophora sp. วงศ Rhizophoraceae สวนที่ใชยอมผา คือ ใชเปลือกสับใหปนตมในน้ําเดือดจะไดสีน้ําตาล 5.3.2.ตนโกงกางใบเล็ก ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Rhizophora apiculata Blume วงศ Rhizophoraceae ไมตนขนาดใหญ มีรากเสริมออกมาเหนือโคนตน รากค้ํายันลําตนแตก แขนงระเกะระกะไมเปนระเบียบ ใบเดี่ยวเรียงตรงขามสลับตั้งฉาก ใบคูลางๆ จะรวงไปเหลือแต คูใบ 2-4 คู เปนกลุมที่ปลายกิ่ง รูปรี แผนใบหนา หูใบแคบ ปลายแหลมยาวประกบกันเปนคู ระหวางคูใบ ชอดอกสั้นมาก ออกตามงามใบที่ใบรวงไปแลว ดอกตูมรูปไข ใบประดับที่ฐาน ดอกติดกันคลายรูปถวย กลีบเลี้ยง 4 กลีบ กลีบดอก 4 กลีบ รวงงาย ผลคลายรูปไขกลับสีน้ําตาล
  • 12. 126 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร คล้ํา ผิวคอนขางขรุขระ ลําตนรูปทรงกระบอก เรียวโคงเล็กนอย มีขนาดโตขึ้นที่สวนปลาย ผิว เปนมัน สีเขียวหรือเขียวอมมวง คอนขางเรียบหรือมีตุมขรุขระกระจัดกระจาย ใชทําเสาและหลัก ในที่น้ําทะเลขึ้นถึง มีความทนทาน ใชสรางบานตามชายทะเล ใชทําถาน น้ําจากเปลือกใชชะลาง แผล หามเลือด กินแกทองรวง แกบิด สวนที่ใชยอมผา แห อวน หนัง ฯลฯ คือ ใชเปลือกสับให ปนตมในน้ําเดือดใหน้ําฝาดประเภท catechol ใชยอมผา จะไดสีน้ําตาล 5.3.3.ตนคาง จามรีดง จามรีปา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Albizzia odoratissima วงศ Leguminosae สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกใหสีน้ําตาล 5.3.4.ตนโปรงขาว ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร - วงศ - สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาล 5.3.5.ตนสนทะเล ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Casuarin equisetifolia J.R.& G.Frost. วงศ Casuarinaceae สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลแกมแดง 5.3.6.ตนแสมดํา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร - วงศ - สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลแกมแดง 5.3.7.ตนฝางแดง ชื่อสามัญ Sappan ชื่อวิทยาศาสตร Caesalpinia sappen Linn. วงศ Caesalpiniaceae
  • 13. พืชสมุนไพรใหสี 127 ฝางเปนที่มีถิ่นกําเนิดในประเทศอินเดีย เปนไมยืนตนขนาดกลาง สูง 5-8 เมตร ตามลําตน กิ่งมีหนามแข็งโคง ใบประกอบแบบขนนก ดอกออกเปนชอ กลีบดอก 5 กลีบ สี เหลือง ฝกมีลักษณะแบนรูปสีเหลี่ยมผืนผาโดยมีสวนปลายบนยื่นยาวเรียงออกไป แกนหรือเนื้อ ไมมีสารสีแดงชื่อ sappan red ใหสีแดงใชแตงสีอาหารและน้ํายาอุทัย นอกจากนั้นแลวฝางยังมี tannin สูง ฝางนิยมใชเปนยาฝาดสมาน สรรพคุณบํารุงโลหิต รักษาอาการทองรวง ฝางฝนกับน้ํา เปนยาทาภายนอก สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกใหสีอิฐ 5.3.8. ตนนนทรี ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Peltophorum pterocarpum วงศ Leguminosae สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลอมเหลือง 5.3.9. ตนมะหาด ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Artocarpus lakppcha Roxb. วงศ Moraceae สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีน้ําตาลอมเหลือง(ไพฑูรย เจนเจริญพันธ, 2545) 5.3.10. ตนขนุน ชื่อสามัญ Jack fruit ชื่อวิทยาศาสตร Artocarpus heterophyllus Lamk. วงศ Moraceae พืชยืนตน สูงประมาณ 5 เมตร ตนมียางสีขาว ใบเดี่ยวรวงหลุดงาย ดอก ออกเปนชอ ดอกตัวผูตัวเมียแยกชอ ชอดอกตัวเมียออกตามตน และกิ่งกานใหญ ผลเปนผลรวม เนื้อหุมเมล็ดสีเหลืองรสชาติหอมหวานอรอย ใชรับประทานเปนผลไม เมล็ดตมสุกใช รับประทานเปนของวาง ชวยบํารุงรางกาย ขับน้ํานมในสตรีหลังคลอด ใบออนกินเปนผัก ยางใช รักษาอาการอักเสบ รากบํารุงเลือดรักษา กามโรค สวนที่ใชยอมผา คือ แกนและรากใหสีน้ําตาลแกมเหลือง
  • 14. 128 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร 5.3.11. ตนคูน ชื่อสามัญ golden shower ชื่อวิทยาศาสตร Cassia fistula Linn. วงศ Caesalpiniaceae ไมยืนตน สูงประมาณ 15 เมตร นิยมปลูกตามริมทาง ปลูกประดับตาม บาน เปลือกลําตนมีสีเทา ผิวเรียบ ใบเปนใบประกอบ ดอกออกเปนชอหอยลงมาตามงามใบ แต ละดอกมี 5 กลีบสีเหลืองสด ผลเปนฝกยาว เมื่อฝกแกจะเปนสีดํา เปลือกนอกแข็ง ภายในมีแผน กั้นเปนหองตามขวาง รากเปนยาถาย แกนใชเปนยาขับพยาธิ เปลือกตนแกทองรวง ใบเปนยาถาย ตําพอกรักษาแกกลากเกลื้อนทาถูแกปวดขอ ดอกเปนยาถาย ฝกใชขับพยาธิ เมล็ดเปนยาระบาย ทําใหอาเจียน สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําตาลแกมเหลือง ภาพที่ 5.6 ตนคูนไมมงคลที่มีความสวยงามและสารพัดประโยชน 5.3.12. ตนติ้วขน ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Cratoxylum formosum Dyer. วงศ Guttiferae ไมยืนตนสูง 8-15 เมตร มีน้ํายางเหลือง ใบเดี่ยว เรียงตรงกันขาม รูปวงรี แกมไข ผิวใบมีขนละเอียดทั้งสองดาน ดอกชอ ออกเปนกระจุกตามกิ่งเหนือรอยแผลใบ กลีบ
  • 15. พืชสมุนไพรใหสี 129 ดอกสีชมพูออน ผลแหงแตกได รูปไขแกมกระสวย รากตมผสมกับหัวแหวหมูและราก ปลาไหลเผือกตมดื่มวันละ 3 เวลา แกอาการปสสาวะขัด สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกใหสีน้ําตาลคล้ํา 5.3.13. ตนอาราง ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Peltophorum dasyrachis Kurz. วงศ Leguminosae ไมยืนตนสูงใหญถึง 30 เมตร กิ่งออนมีขนละเอียดสีน้ําตาล ใบประกอบ แบบขนนก ดอกออกเปนชอออกตามซอกใบ หอยลงมา กลีบดอกสีเหลือง ผลเปนฝกแบน สี น้ําตาลแดง เมล็ดเรียงตามขวาง เปลือกตนรักษาโรคเกี่ยวกับเสมหะและโลหิต แกทองรวง ขับลม สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกและผลใหสีน้ําตาล 5.3.14. ตนตะโก ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Diosporos rhodocalyx Kurz. วงศ Ebenaceae ไมยืนตนสูงไดถึง 15 เมตร ใบเดี่ยวรูปไข เรียงสลับ ดอกแยกเพศ ดอกตัว ผูเปนชอ ดอกตัวเมียเปนดอกเดี่ยว ผลมีขนละเอียด เปลือกและแกนบํารุงธาตุ รักษาโรคกามตาย ดาน เปนยาอายุวัฒนะ ใชอมรักษาเหงือกบวมและรํามะนาด แกปวดฟน สวนที่ใชยอมผา คือ เปลือกและผลใหสีน้ําตาล 5.3.15. ตนทองหลางใบมน ชื่อสามัญ Indian coral ชื่อวิทยาศาสตร Erythrina indica Lamk. วงศ Papilionaceae ไมยืนตนสูง 10-20 เมตร ลําตนมีหนามสั้น ๆ ใบมีใบยอย 3 ใบ ดอกชอ ออกเปนกระจุก กลีบดอกแบบดอกถั่วมีสีแดงหรือสีสม ผลเปนฝกยาว รูปทรงกระบอกสีน้ําตาล โคงเล็กนอยมีเมล็ดจํานวนมาก เปลือกตนหอดวยใบพลับพลึงใชประคบแกบวม สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําตาล 5.3.16. ตนทองหลางน้ํา ชื่อสามัญ -
  • 16. 130 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร ชื่อวิทยาศาสตร Erythrina orientalis วงศ Papilionaceae ไมเนื้อออนยืนตน ปลูกเปนรั้ว ใบและยอดออนกินเปนผักแนมกับเมี่ยง คํา หรือปลาแนม ใบมีโปรตีนสูง สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําตาล 5.4.พืชสมุนไพรใหสีน้ําเงิน 5.4.1. ตนคราม ชื่อสามัญ Indigo ชื่อวิทยาศาสตร Baphicacanthus cusia. วงศ Acanthaceae ไมพุม สูงไดถึง 1 เมตร ลําตนและเหงารูปทรงกระบอก บริเวณขอโปง พอง ใบเดี่ยว ขอบใบหยักเปนฟนเลื่อย ดอกเปนชอออกที่ซอกใบกลีบดอกสีมวงเชื่อมกันเปน หลอดโคงงอเล็กนอย ผลแหงแตกได ใบตมดื่มแกไข ปวดศีรษะเนื่องจากหวัด เจ็บคอ หลอดลม อักเสบ แพทยจีนทดลองใหคนไขโรคเอดสที่เปนงูสวัด ดื่มน้ําตมใบแหงผสมกับพืชสมุนไพรอีก 3 ชนิดคือ Coptis chinensis, Arnebia euchroma และ Paeonia moutan พบวาแผลหายเร็วภายใน สองสัปดาห (วงศสถิตย ฉั่วกุล, พรอมจิต ศรลัมภ, วิชิต เปานิล และรุงระวี เต็มศิริฤกษกุล, 2539) สวนที่ใชยอมผา คือ ตนและใบใหสีน้ําเงิน โดยมีวิธีการใช ดังนี้ วิธีที่ 1 นําตนครามสดสับเปนชิ้นเล็ก ๆ นํามาหมักไว 1-2 วัน จะไดสารสี น้ําเงินที่กนภาชนะ เทใสถุงหนา ๆ ทับใหน้ําแหง จะไดผงสีน้ําเงิน ซึ่งเมื่อนํามายอมผาแลว ผาที่ ไดเรียกวาผาหมอฮอม วิธีที่ 2 ตัดตนครามมามวนและมัดเปนฟอน ๆ ไปแชน้ําไวในภาชนะที่ เตรียมไวประมาณ 2-3 วัน จนใบครามเปอย จึงแกมัดครามออกเพื่อใหใบครามหลุดออกจากลํา ตน นําลําตนทิ้งไป เอาปูนขาวนอัตราสวนที่เหมาะสมกับน้ําที่แชครามผสมลงไปแทนตนคราม จากนั้นนําเอาขี้เถาซึ่งไดจากเหงากลวยเผาจนดํา ผสมลงไป ทิ้งไวประมาณ 2-3 วันจนกวาน้ําที่ กวนใส รินน้ําที่ใสออกทิ้ง จะไดน้ําสีครามตามตองการอาจใชผาขาวบางกรองเพื่อจะไดน้ําคราม ที่ละเอียด นําฝายที่จะยอมลงขยําในหมอครามพยายามอยาใหดายพันกัน ใหน้ําสีเขาเนื้อดายฝาย อยางทั่วถึง จนกระทั่งไดสีเขมตามตองการ จึงยกฝายขึ้นจากหมอ บิดใหหมาดลางน้ําสะอาด นําไปขึ้นราวตากใหแหง
  • 17. พืชสมุนไพรใหสี 131 ภาพที่ 5.7 ตนครามหรือตนฮอมพืชสมุนไพรใหสีน้ําเงิน ที่มา (วงศสถิตย ฉั่วกุล, พรอมจิต ศรลัมภ, วิชิต เปานิล และรุงระวี เต็มศิริฤกษกุล, 2539, หนา 43) 5.4.2. ตนพิลังกาสา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Ardisia polycephala Wall.ex A.DC. วงศ Myrsinaceae ไมยืนตนขนาดเล็กสูงประมาณ 2-3 เมตร ลําตนแตกกิ่งกานออกโดยรอบ ใบเดี่ยวออกเปนคู ขอบใบเรียบใบหนา เปนมันสีเขียว ดอกออกเปนชอตรงปลายยอด สีเหลือง ออน ผลเปนเม็ดเมื่อยัง ออนสีแดง คอยเปลี่ยนเปนสีมวงดําเมื่อแกจัด ใบรักษาตับพิการ ผลใช รักษาไขจากอาการทองเสีย สวนที่ใชยอมผา คือ รากใหสีน้ําเงิน 5.4.3. ตนลําดวน ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Melodorumfruticosum Lour. วงศ Annonaceae ลําดวนเปนไมพุมสูงประมาณ 3-8 เมตร ขึ้นตามปาเบญจพรรณ นิยม ปลูกตามวัด ตามสวนสาธารณะและตามบาน ใบเดี่ยว ดอกเรียงสลับตามลําตน ขอบใบเปนคลื่น เล็กนอย ผิวใบเรียบมัน ดอกสีเหลืองออน มี 6 กลีบ ชั้นละ 3 กลีบ ผลสีเขียวออน เกสรเปนยาชู กําลัง บํารุงหัวใจ แกลม
  • 18. 132 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร สวนที่ใชยอมผา คือ แกนใหสีน้ําเงิน 5.4.4. ตนเถาคัน ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Pathenocissus vitacea Aitch. วงศ Vitidaceae ไมเถาเลื้อยพันตนไมอื่น ใบเปนใบยอย 3 ใบ ขอบใบหยักเปนฟนเลื่อย ผลดิบสีเขียว จะเปลี่ยนเปนสีดําเมื่อสุก น้ําในผลเมื่อสัมผัสผิวทําใหคัน เถาใชรักษาโรคกษัย ใบ อังไฟใชพอกฝหนอง สวนที่ใชยอมผา คือ เถาและใบใหสีน้ําเงิน 5.5.พืชสมุนไพรใหสีเขียว ไดแก 5.5.1. ตนเลี่ยน ชื่อสามัญ Bastard cedar, Persian lilac ชื่อวิทยาศาสตร Melia azedarach Linn. วงศ Meliaceae เลี่ยนเปนไมพุมถึงไมยืนตนขนาดใหญพบทั่ว ๆ ไปในทวีปเอเชียเขต รอน ทุกสวนของตนมีรสขมใบเปนใบประกอบแบบขนนกหลายชั้น ดอกมีสีมวงออน (Lilac) กลิ่นหอม เปนชอ ผลคอนขางกลม ในหนึ่งผลประกอบดวยเมล็ดหลายเมล็ด ผลเมื่อออนมีสีเขียว มีรสขม เมื่อสุกมีสีเหลืองและมีรสหวาน เมื่อแหงมีสีมวงดํา สวนที่ใช คือ ใบใหสีเขียว 5.5.2. ตนสมอพิเภก ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia bellerica Linn. วงศ Combretceae สวนที่ใช คือ เปลือกและผลใหสีเขียวขี้มา เอาเปลือกสมอมาตมเคี่ยวให แหงพอสมควร รินเอาแตน้ําใสหมอดิน เอาดายฝายที่ผานการยอมครามมาครั้งหนึ่งแลว ลงยอม น้ําสีที่ยังรอนอยู ตมตออีกประมาณ 1 ชั่วโมง หมั่นกลับดายไปมา เพื่อใหดูดซึมอยางสม่ําเสมอ พอไดสีตามที่ตองการ ยกดายขึ้นกระตุก ตากใหแหง จะไดสีเขียว
  • 19. พืชสมุนไพรใหสี 133 5.5.3. ตนหูกวาง ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia catappa Linn. วงศ Combretaceae สวนที่ใช คือ แกนและใบใหสีเขียวขี้มา เอาใบหูกวางตมคั้นน้ํากรองตม ใหเดือด เอาผาลงยอมหมั่นยกดายกลับไปมา เพื่อใหสีติดไดทั่วถึง พอไดสีเขมตามตองการจึงยก บิดพอหมาด ซักน้ําผึ่งใหแหง 5.5.4. ตนตะขบ ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Flacoutia indica Merr. วงศ Flacourtiaceae สวนที่ใช คือ ใบใหสีเขียว 5.6.พืชสมุนไพรใหสีกากี ไดแก 5.6.1. ตนเพกา(ลิ้นฟา) ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Oroxylumindicum Linn. วงศ Bignoniaceae สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีกากี เอาเปลือกเพกามาหั่นหรือสับเปนชิ้นเล็ก นําไปตมนาน 20 นาที ชอนเอาเปลือกออก ตมเถาถั่วแปบเอาแตน้ําใสใสลงไป กรองใหเหลือแต น้ําสีที่จะยอม นําเอาน้ํายอมตั้งไฟพออุน นําผาฝายชุบน้ําบิดพอหมาด จุมลงในอางยอม ตมตอไป นาน 20 นาที จนไดสีตามตองการ ยกดายฝายออก ซักน้ําสะอาดใสรางกระตุกตากจนแหง จะได กากีตามตองการ 5.7.พืชสมุนไพรใหสีดํา 5.7.1. ตนมะกอกเลื่อม(ตนมะเกิ้ม) ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Carnarium subulatum Linn. วงศ Burseraceae สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา
  • 20. 134 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร 5.7.2. ตนสมอไทย ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia chebula Linn. วงศ Comrbetaceae สมอไทยเปนไมยืนตน ดอกมีสีเหลืองและมีกลิ่นหอม ผลรูปไขสีเหลือง เมล็ดเดี่ยวและแข็ง ผลสุกสีน้ําตาลมีรอยยนตามยาว ไมมีกลิ่นรสฝาด เมื่อชิมจะขมเล็กนอยใน ตอนแรก และหวานในตอนหลัง สวนที่ใช คือ เปลือก และใบใหสีดํา เอาเปลือกสมอมาตมเคี่ยวใหแหงจน งวด พอสมควร รินเอาแตน้ําใสหมอดิน เอาดายฝายที่เตรียมไวลงยอมขณะที่สียังรอนอยู จะไดสี ดําแกมเขียวเขม ถาตองการไดสีเขียวใชดายฝายที่ผานการยอมสีครามมายอม จะไดสีเขียวตาม ตองการ 5.7.3. ตนรกฟา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Terminalia alata Heyne ex Roxb. วงศ Combretacea ไมยืนตนสูง20-30 เมตร ผลัดใบ ใบเดี่ยวรูปไขขอบขนาน เนื้อใบหนา คลายแผนหนัง กิ่งออนมีขนนุม ดอกชอ ออกที่ซอกใบปลายกิ่ง ผลแหงแข็งมีปก 5 ปก มีเมล็ด เดียว ลําตนตมน้ําดื่มแกกษัยเสน มีการทดลองสกัดสารจากใบและลําตนแหงโดยใชเมทานอล ที่ ความเขมขน 200 ไมโครกรัมตอมิลลิลิตร สามารถยับยั้งการทํางานของเอนไซมของเชื้อ HIV-1 reverse transcriptase นอกจากนั้นยังพบวา สารสกัดแอลกอฮอล 50 % จากเปลือกตนแหง มีฤทธิ์ ลดความดันโลหิตสุนัข แตพบวามีความเปนพิษ ซึ่งควรทําการวิจัยตอไป(นพมาศ สุนทรเจริญ นนท, ธนุชา บุญจรัส, รุงระวี เต็มศิริฤกษกุล, วิชิต เปานิล และอาทร ริ้วไพบูลย(บก.), 2543) สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีดํา โดยการแชเปลือกตนรกฟาในปริมาณ พอสมควรไวนาน 3 วัน แลวตั้งไฟตมใหเดือด จนเห็นวาสีออกหมดดีแลว จึงเทน้ํายอมใสลงใน อางยอมหมักแชไว 1 คืนนําเอาเปลือกไมผึ่งแดดจนแหง เก็บไวใชตอไป สีเปลือกไมนี้ถาถูกตม จะกลายเปนสีดําได 5.7.4. ตนตับเตา(มะเมียง) ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Diosporos ehretioides Wall ex G Don.
  • 21. พืชสมุนไพรใหสี 135 วงศ Ebenaceae สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา 5.7.5. ตนมะเกลือ ชื่อสามัญ Ebony tree ชื่อวิทยาศาสตร Diosporos mollis Griff. วงศ Ebenaceae มะเกลือเปนไมยืนตน ขนาดกลางถึงใหญ มีขนนุมที่ใบและยอดออน รูปรางใบคลายรูปไข ดานบนใบเรียบ ดานใตใบสีเขียวซีด ดอกมีขนาดเล็ก ออกเปนชอ สีเหลือง ออนมีขน ชอดอกมีตั้งแต 3 ดอกขึ้นไป ผลกลมเขียวคล้ํา มีเมล็ด 2-3 เมล็ด ทุกสวนของมะเกลือ เมื่อแหงจะเปลี่ยนเปนสีดําเนื้อไมใชทําเครื่องเรือน ผลสีเขียวกินเพื่อฆาพยาธิ สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา นําผลมะเกลือที่แกจัดมาตํา เทลงในภาชนะที่จะ ใชยอมตมกับน้ําใหเดือด นําผายอมชุบน้ําบิดใหแหงใสลงไปตมนาน 10-20 นาที นําผาขึ้นผึ่งให แหงบางคนนิยมใชตนกระเม็งตํารวมกับผลมะเกลือใชยอมผาจะทําใหผาที่ยอมได มีคุณภาพดี ยิ่งขึ้น 5.7.6. ตนคนทา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Harrisonia .perforata Merr. วงศ Simaroubaceae ไมพุมสูงประมาณ 3-6 เมตร ลําตนมีสีเทา มีหนามตามกิ่ง ใบยอยรูปไข มีครีบบริเวณกานใบ ใบสีแดงออน และใบมีรสขม ดอกสีขาว ผลกลมชุมน้ํา เปลือกรากรักษาไข แกรอนในกระหายน้ํา โรคลําไส แกบิด แกทองเสีย สวนที่ใช คือ ผลใหสีดํา 5.7.7. ตนมะยมปา ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Ailanthus triphysa Alston. วงศ - สวนที่ใช คือ เปลือกใหสีดํา
  • 22. 136 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร 5.7.8. ตนมะขามเทศ ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Pithecellobium dul Benth. วงศ - สวนที่ใช คือ เปลือกใหน้ําฝาดดําใชยอมผา แห อวน 6. ขั้นตอนการยอมสี 6.1.จัดหาหรือเตรียมพืชสมุนไพรใหสีตามสีที่ตองการ ดวยภูมิปญญาชาวบานใน การเก็บสวนของพืชสมุนไพร ถาเปนแกนก็จะตัดกิ่งที่มีขนาดพอเหมาะ ถาเปนเปลือกไม จะถาก เอาสวนเปลือกมาพอประมาณ โดยรูวาจะถากอยางไรไมใหตนไมตาย และจะมีการเอาดินเหนียว ปะบริเวณรอบถาก ชวยใหตนไมจะซอมแซมตนเองได(สุนทรี เซงกิ่ง, 2533) 6.2.ตัด หั่น สับใหเปนชิ้นเล็ก ๆ ตมเคี่ยวใหไดสี กรองแยกเอากากออก 6.3.นําผาลงยอมในน้ําสี หากตองการใหสีเขม ใหยอมหลายครั้ง อาจแชเสนดายใน น้ําสีคางคืน เพื่อใหสีซึมเขาเสนใยดายใหทั่วถึง 6.4.ผึ่งใหแหง ภาพที่ 5.8 การยอมผาโดยใชสีธรรมชาติ ที่มา (สุนทรี เซงกิ่ง, 2533, หนา 120).
  • 23. พืชสมุนไพรใหสี 137 พืชสมุนไพรใหสีผสมอาหาร คนไทยรูจักวิธีปรุงแตงอาหารใหมีสีสันนารับประทานมาเนิ่นนาน กอนที่จะมีการผลิตสี สังเคราะหดวยกรรมวิธีทางวิทยาศาสตร ที่ใชกันอยางแพรหลาย ดังในปจจุบัน อาหารที่เรานิยม แตงสีใหสวยงาม สวนใหญเปนของวางหรือของหวาน แมแตอาหารคาวของเราก็มีสีชวน รับประทานดวยสีจากพืชเชนเดียวกัน เชน แกงเผ็ดมีสีแดงจากสีจากพริกแหง แกงเขียวหวานที่มี สีเหลืองปนเขียว เพราะสีจากพริกชี้ฟารวมกับสีเขียวจากใบพริกหรือใบผักชีที่เราโขลกรวมไป ในเครื่อง น้ําพริกแกง หรือแมแตน้ําพริก (ที่ใชรับประทานกับขนมจีน มีน้ํามันสีแดงลอยหนา แลดูชวนใหรับประทานก็เพราะการผัดพริกแหงปน ในน้ํามัน ใหสีแดงของพริกละลายอยูใน น้ํามัน แลวจึงใชแตงหนาน้ําพริกใหแลดูนารับประทานยิ่งขึ้น(กรมสงเสริมการเกษตร, 2545) หลักฐานที่บงวาคนไทยรูจักใชสีเพิ่มความสวยงามใหแกอาหาร นั่นก็คือ พระราชนิพนธ ในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เรื่อง กาพยเหเรือชมเครื่องหวาน ซึ่งเปนราชนิพนธ ที่มีอายุเกือบ 200 ปแลว ดังมีตอนหนึ่ง ดังนี้ สังขยาหนาตั้งไข เขาเหนียวใสสีโสกแสดง เปนนัยไมเคลือบแคลง แจงวาเจาเศราโศรกเหลือ ชอมวงเหมาะมีรส หอมปรากฏกลโกสุม คิดสีสไบคลุม หุมหมมวงดวงพุดตาน จากการสํารวจอาหารที่วางจําหนายในทองตลาดพบวา รอยละ 40 เปนสีที่ไดรับอนุญาต จากกระทรวงสาธารณสุข รอยละ 28 เปนสียอมผา รอยละ 18ไมรูวาเปนสีอะไร และรอยละ 14 เปนสีที่ไดจากธรรมชาติ (ศิริ ผาสุก, 2535) สีตาง ๆ ที่ใชแตงสีอาหารในสมัยกอนนั้น ใชสีที่ไดจากธรรมชาติ เชน สีจากพืช และ สัตวบางชนิด และสีจากพืชสมุนไพรที่นิยมใชกัน มีดังนี้คือ 1. พืชสมุนไพรใหสีเหลือง ไดแก 1.1 ขมิ้นชัน ชื่อสามัญ Curcuma,Turmeric ชื่อวิทยาศาสตร Curcuma longa Linn วงศ Zingiberaceae สวนที่ใช เหงา นํามาลางดินใหสะอาด ปอกเปลือกแลวโขลกละเอียด เติมน้ําแต นอย เทใสผาขาวบางคั้นเอาแตน้ําไดสีเหลืองเขม ขมิ้นหลังจากบีบเอาน้ําขมิ้นออกแลว สวนกาก
  • 24. 138 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร ที่เหลือสามารถนําไปอบใหแหงและบดใหละเอียดจะไดผงขมิ้น ผงขมิ้นที่ไดนําไปรอนผาน ตะแกรง ละเอียดอีกครั้งหนึ่ง สวนที่เปนผงละเอียดใชเปนสีอาหารได สวนที่หยาบสามารถสกัด สีของขมิ้นออกได โดยใชน้ํามันพืช หรือแอลกอฮอล ซึ่งจะสามารถเก็บไวใชไดเปนระยะ เวลานาน นิยมใชกับ ขาวเหนียวมูน หนากุง ขาวพอง วุน อาหารคาว ขาวหมาก แกงกะหรี่ แกง เหลือง แกงพุงปลา และอื่น ๆ โดยเฉพาะอาหารของภาคใตแทบทุกชนิด ใชขมิ้นแตงสีและกลิ่น 1.2 ขมิ้นออย ชื่อสามัญ Turmeric ชื่อวิทยาศาสตร Curcuma zedoaria Rosc. วงศ Zingiberaceae พืชลมลุกมีลักษณะใกลเคียงกับขมิ้นชัน มีเหงาใตดิน ใชเปนเครื่องเทศ ใชปรุง แตงกลิ่นรสของอาหาร สวนที่ใชแตงสีอาหาร เหงาใหสีเหลืองดอกบวบ ในตางประเทศนิยมใชใชขมิ้น แตงสีเนยสด เนยแข็ง ผักดอง ขาวเหนียวหนากุง ขนมเบื้องญวน และอื่น ๆ 1.3 ลูกพุด ชื่อสามัญ Gardenia, cape jasmine ชื่อวิทยาศาสตร Gardenia jasminoides วงศ Rubiaceae ไมพุมเตี้ย ใบเดี่ยว ปลายใบแหลม ดอกเดี่ยวออกตามงาม กลีบดอกซอนหลาย ชั้น มีกลิ่นหอมออน ดอกใชผสมน้ํามันเปนยารักษาโรคผิวหนัง รากแกไข เปลือกแกปวดทอง ผลใชขับพยาธิ สวนที่ใช คือ ผลแกหรือแหงแชน้ํารอน ใชกับ เตาหูเหลือง เพราะถิ่นเดิมอยูใน ประเทศจีน เนื่องจากปจจุบันหายากจึงไมคอยมีใช อาจซื้อไดจากรานขายยาแผนโบราณ 1.4 หญาฝรั่น ชื่อสามัญ Saffron ชื่อวิทยาศาสตร Crocus sativus Linn. วงศ Iridaceae พืชที่มีลําตนใตดินที่เรียกวา corm เปนพืชอายุหลายป ดอกโผลขึ้นมาจากดิน การเก็บเกี่ยวดอก เมื่อดอกเริ่มบาน เกสรตัวเมียมีสีแดงเขมใหแยกเกสรตัวเมียออกดวยมือ นํามา
  • 25. พืชสมุนไพรใหสี 139 ทําใหแหงโดยการยางบนเตาถาน สารสีที่มีไดแก picrocrocin มีกลิ่นหอมและขม เมื่อสลายตัวให สาร safranal สวนที่ใช คือ เกสรตัวเมียของหญาฝรั่น ตากแหงเก็บไวใหทั้งสีและกลิ่นหอม แตราคาสูงมาก เพราะตองสั่งนําเขามาจากตางประเทศ (อาจใชกลีบดอกคําฝอยแทน) วิธีทําใช เกสรตัวเมียของหญาฝรั่นชงดวยน้ํารอนแลวกรองเอาแตน้ํา หรือบดละเอียดผสมลงในอาหารนั้น หรือใสทั้งเปนเสนก็ได นิยมใชกับขาวปรุงรสตํารับตางประเทศ เชน ขาวหมาก ขาวบุหรี่ ขาว สเปน ขาวพิลาฟ ภาพที่ 5.9 หญาฝรั่นที่ใหสีเหลืองผสมอาหาร 1.5 ดอกคําฝอย ชื่อสามัญ Safflower ชื่อวิทยาศาสตร : Carthomas tinctorius Linn. วงศ Compositae สวนที่ใช คือ กลีบดอกตากแดดใหแหงเก็บไวใชไดนานใหสีเหลืองออน วิธีใช ใสน้ําพอทวมกลีบดอก นําขึ้นตมใหเดือดประมาณ 5 นาที แลวกรองเอากากทิ้ง นิยมใชแทน หญาฝรั่น และใสขนมตาง ๆ ที่ตองการสีเหลือง 1.6 เมล็ดคําแสด ชื่อสามัญ Annatto ชื่อวิทยาศาสตร Bixa orellana Linn. วงศ Bixaceae
  • 26. 140 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร คําแสดเรียกอีกชื่อหนึ่งวาคําเงาะคําแสด หรือ คําไท เปนไมพื้นเมืองอเมริกา กลางบราซิล กัวเตมาลา และเม็กซิโก ในประเทศไทยปลูกประดับทั่วไป คําแสดเปนไมพุม ใบ คลายใบโพธิ์ ผลคลายเงาะเมื่อผลแกจะแตกออกมีเมล็ดสีแดงอยูภายใน เมล็ดมีสาร Bixin สวนที่ใช คือ เมล็ดแหง วิธีการสกัดสีทําได 2 วิธี ดังนี้ 1.6.1 นําเมล็ดมาบุบมาในแชน้ํารอน แลวกรองเอาแตน้ํา สีเหลืองแสด ปลอย ใหสีเคลือบเมล็ดหลุดออกมา เห็นเปนตะกอนละเอียด แยกเมล็ดออก ทิ้งใหน้ําสกัดสีเกิดการบูด เนา อีก1 สัปดาห สีที่ไดเรียกวา annatto จะจมลงกนถัง กรองสีทําใหเปนแผนทิ้งใหแหง สี annatto ใชแตงสีเนย เนยแข็ง มาการีน แตงสีไขแดง นอกจากนั้นแลวยังใชแตงสียาขัดพื้น ยาขัด รองเทา ครีมใสผม และยอมผา แตสีไมคงทนซีดงาย 1.6.2 เมล็ดคําแสดไปสกัดดวยน้ํามันพืช โดยใชอุณหภูมิไมเกิน 130 องศา เซลเซียส หลังจากนั้นกรอง นําสวนที่ละลายออกมา ไดจะใหสีเหลือง-แดง ใชในอาหารประเภท ที่มีไขมันเปนสวนประกอบ การสกัดสีโดยใชสารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด หรือโปรแตส เซียมไฮดรอกไซด ที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส กรองสารละลายที่ได นําไปใชเปนสีผสมอาหาร และสามารถเก็บไวใชได นิยมใชกับขนมตาง ๆ ที่ตองการสีเหลือง ในตางประเทศใชแตงสีเนย แข็ง 1.6.3 นําเมล็ดมาตมกับโซเดียมคารบอเนต กรองและทําใหเปนกรด แลวตมกับ โซเดียมคลอไรด สีจะตกตะกอน กรองและทําใหสีแหง 1.7 ดอกกรรณิการ ชื่อสามัญ Night jasmine ชื่อวิทยาศาสตร Nyclanthes abor-tristis Linn. วงศ Verbenacee ไมพุมขนาดเล็กนิยมปลูกเปนไมประดับ ใบเดี่ยว มีผิวใบหยาบสากมือ ดอก ออกเปนชอ โคนดอกสีสมแดง กลีบดอกสีขาว 5-7 กลีบ รูปกงจักร ดอกมีกลิ่นหอม สวนที่ใช คือ กานดอก นํามาผสมน้ําขยี้แลวกรองไดน้ําสีเหลืองสม ใชผสม อาหารได หรือใชเปนสียอมผาได(ทัศนีย โรจนไพบูลย, จุฑามาศ เอกะวิภาต และวารุณี วารัญญา นนท, 2545, สิงหาคม 5). 1.8 ตาล ชื่อสามัญ Sugar Palm ชื่อวิทยาศาสตร Borassus flabellifera Linn.
  • 27. พืชสมุนไพรใหสี 141 วงศ Palmaceae ไมยืนตน สูงประมาณ 20 เมตร แตกใบบริเวณปลายยอด ใบแผกลมรูปพัด มี กานแบนเมื่อหลุดรวงจะมีรอยตามลําตน ผลอยูรวมกันเปนทะลาย ลักษณะกลมเปลือกสีน้ําตาล ดํา ชอดอกตัวผูใหน้ําตาลและใชเปนยาขับปสสาวะ สวนที่ใช คือ ลูกตาลสุกจะใหทั้งสีและกลิ่นหอมเฉพาะตัว โดยเลือกลูกตาลสุก อยาใหงอก ลอกเปลือกแข็งออกใหหมด ใสลงในชามเติมน้ําพอทวม ใชมือนวดเอาเนื้อที่แทรก อยูตามเสนใยออกจนหมด เติมน้ําอีกเทาตัวคนใหเขากันแลวเทใสถุงผา ผูกปากใหแนนทับน้ําให แหง ใชผสมแปงทําขนมตาล(วนิดา สุบรรณเสณี, สมควร ศวิตชาติ และประเชิญ สรอยทองคํา, 2531) ภาพที่ 5.10 ลูกตาลสุกที่นํามาวางขายในตลาดสด 1.9 แครอท ชื่อสามัญ carrot, bee’ s nest plant, bird’s nest root, Queen Anne’s lace ชื่อวิทยาศาสตร Daucus carota Linn. วงศ Umbelliferae แครอทพืชพื้นเมืองยุโรป เอเชียและแอฟริกาเหนือ เปนพืชลมลุก อายุ 1-2 ป ปลูกเพื่อเปนอาหาร ใบเปนฝอย รากสะสมอาหารมีสีสม เมล็ดใชแตงกลิ่นอาหารเครื่องดื่มและ
  • 28. 142 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร ไมมีแอลกอฮอล อาหารแชแข็ง รากเมื่อสกัดดวยตัวทําละลายใชเปนยา เพราะมี เบตาแคโรทีน ใชทาผิวใชทาปองกันแสงแดด สวนที่ใชเปนสีผสมอาหาร คือ รากมีสีเหลืองอมสม ใชผสมในอาหาร เชน ผสมในถั่วกวนใชทําขนมลูกชุบ น้ําแครอท น้ําผลไมรวม นอกจากพืชสมุนไพรที่กลาวถึงแลว ยังมีพืชอื่น ๆ ที่ใหสีเหลืองอีกหลายชนิดที่ ใชเพิ่มสีสันแกอาหารได เชน ดอกดาวเรืองก็ใหสีเหลือง แตตองใชวิธีสกัดสีพิเศษไมคอยสะดวก ที่ทําใชเอง พริกเหลือง ก็ชวยเพิ่มสีสันไดดวย การโขลกละเอียด แลวผสม เปนน้ําจิ้มสีเหลือง น้ํา สมเขียวหวานคั้นสด ๆ ใสลงในขนมเค็กใหรสสมและสีสม และแตงสีขนมปง สีจะเหลืองสวย และมีกลิ่นหอมชวนรับประทานยิ่งขึ้น 1.10 ฟกทอง ชื่อสามัญ Pumpkin ชื่อวิทยาศาสตร Cucurbita maxima Duchesne วงศ Cucurbitaceae ไมเถาเลื้อยทอดไปตามฟน ใบเดี่ยวเรียงสลับ ขอบใบหยักเวาเปนแฉกตื้น ๆ มี ขนทั้งสองดาน ลําตนแข็งกลมหรือเปนเหลี่ยมมน ดอกเดี่ยวออกตามงามใบดอกเพศผูและดอก ตัวเมียอยูบนตนเดียวกัน ผลมีกานเปน 5 เหลี่ยม ลักษณะกลมแปน มีพูเล็ก ๆ รอบผล สีเขียวอม น้ําเงินหรือเทา มีรอยดางแตม เปนจุดเนื้อผลมีสีเหลือง ตรงกลางผลมีเมล็ดจํานวนมาก ดอกและ ยอดออนรับประทานเปนผัก ผลใชประกอบอาหารคาวหวาน สวนที่ใชเปนสีผสมอาหาร คือ เนื้อใชเปนอาหารใชแตงสี เชนขนมฟกทองหรือ ทําขนมบัวลอยฟกทอง 2. พืชสมุนไพรใหสีเขียว ไดแก 2.1 ใบเตยหอม ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร Pandanus odorus Ridl. วงศ Pandanaceae สวนที่ใช คือ ใบ สีเขียวและกลิ่นหอม ควรเลือกใชใบคอนขางแก โดยนําใบหั่น ขวางใบใหฝอยแลวโขลกโม หรือปน (ในเครื่องปน) ใหละเอียดเติมน้ําแลวคั้นเอาแตน้ํา นิยมใช กับ: มะพราวแกว ขนมชั้น เปยกปูนใบเตย ขาวเหนียวมูนหนาเนื้อเค็มผัด ขนมเคก ลอดชอง ขนมน้ําดอกไม ฯลฯ
  • 29. พืชสมุนไพรใหสี 143 2.2 ใบยานาง ชื่อสามัญ ชื่อวิทยาศาสตร: Tiliacora triandra Diels. วงศ Menispermaceae ไมเลื้อย ใบแข็งมีสีเขียว เถาแข็ง เสนใยจากเถาใชทําเชือกได สวนที่ใช คือ ใบ ใหสีเขียว ควรเลือกใชใบคอนขางแกโดยขยําใบแกกับน้ํา กรองเอาน้ําสีเขียวใสแกง หนอไม ยอดหวาย แกงลาว หรือใสซุบหนอไม ภาพที่ 5.11 ใบยานางใหสีเขียวในแกงและซุบหนอไม 3. พืชสมุนไพรใหสีแดง ไดจาก 3.1 กระเจี๊ยบ ชื่อสามัญ Roselle ชื่อวิทยาศาสตร Hibiscus sabdariffa Linn. วงศ Malvaceae สวนที่ใช คือ กลีบเลี้ยงมีสีแดงเปนสารประเภท anthocyanin กลีบเลี้ยงนํามาทํา ผลไมกวน แยม ไวน เยลลี่ หรือน้ํากระเจี๊ยบ 3.2 ฝาง ชื่อสามัญ Sappan ชื่อวิทยาศาสตร Caesalpinia sappan Linn.
  • 30. 144 พืชเครื่องเทศและสมุนไพร วงศ Caesalpiniaceae สวนที่ใช คือ แกนตมกับน้ํา ใหสารสีแดง sappan red ใชเปนหลักในการปรุง น้ํายาอุทัย 3.3 มะเขือเทศ ชื่อสามัญ Tomato ชื่อวิทยาศาสตร Lycopersicum esculentum Mill. วงศ Solanaceae พืชลมลุก ลําตนและใบมีขน ขนาดของผลแตกตางกัน ผลเมื่อดิบยังเขียวอยู เมื่อสุกสีแดงอมสม มีคุณคาทางอาหารสูง สวนที่ใช คือ ผล ใชทํา ซอส น้ํามะเขือเทศ อาจใช หัวบีท มะละกอ ชวยในการ ผสมอาหารที่ตองการใหสีแดงได 4. พืชสมุนไพรใหสีน้ําเงินหรือมวงหรือดําไดจาก 4.1 ดอกอัญชัน ชื่อสามัญ Butterfly pea ชื่อวิทยาศาสตร Clitorea ternatea Linn. วงศ Papilionaceae สวนที่ใช คือ กลีบดอกมีสารสีน้ําเงินพวก anthocyanin ใชกลีบดอกขยี้กับน้ําใช ผสมขนมชอมวง ขนมชั้น ผสมกับน้ํามะขามไดสีมวง 4.2 ขาวเหนียวดํา(ขาวเหนียวกันยา) ชื่อสามัญ Black sticky rice ชื่อวิทยาศาสตร Oryza sativa glutinosa วงศ Graminae ขาวเหนียวสายพันธุหนึ่ง เมล็ดขาวมีสีดํา เนื้อในเมล็ดมีสีมวงถึงสีดําของสาร anthocyanin สวนที่ใช คือ เมล็ดมีสีมวงดํา มีสาร anthocyanin ใชเมล็ดแตงสีอาหาร เชนขนม จาก ขาวเหนียวเปยก ขาวหลาม ขนมสอดไส (นิจศิริ เรืองรังสี, 2542). 4.3 ดอกดิน ชื่อสามัญ - ชื่อวิทยาศาสตร Aeginatia indica Roxb.
  • 31. พืชสมุนไพรใหสี 145 วงศ Orobanchaceae ดอกดินเปนพืชที่ชอบขึ้นใตตนไผ ที่ชื้นและรม ดอกมีกานยาว กลีบดอกสีมวง เขมเปน 2 ปาก ดอกมีสาร Aucubin เมื่อสัมผัสกับอากาศจะเปลี่ยนเปนสีมวงหรือดํา สวนที่ใช คือดอกสดหรือแหงคั้นน้ํา ไดน้ําสีมวงแตงสีอาหารทําขนมดอกดิน 4.4 ลูกหวา ชื่อสามัญ Jambolan ชื่อวิทยาศาสตร Euginia cumini Druce. วงศ Myrtaceae ไมยืนตน ผลใชเปนผลไม สวนที่ใช คือ ผล ใหสีมวงใชทําน้ําลูกหวา 4.5 ถั่วดํา ชื่อสามัญ Black bean ชื่อวิทยาศาสตร Phaseolus mungo L วงศ Leguminosae สวนที่ใช คือ เมล็ด ตมบดละเอียดทําไสขนม ทําของหวาน หรืออาจใชถานที่ได จากการเผาใบยอ ใบคนทีสอ หรือใบจาก ถานไม กาบหรือกะลามะพราวเผาไฟ หรือรวงตาลเผา ไฟ นอกจากนี้เรายังใชพืชตอไปนี้ เชน ใบพริก ใบผักชี ใบมะตูม ใบตะไคร พริกเขียว พืชเหลานี้ใชสําหรับแตงสีอาหารคาว เชน แกงเขียวหวาน แกงบวน เปนตน บทสรุป พืชสมุนไพรที่มีคุณสมบัติใหสารสี สามารถนํามาใชในการปรุงแตงอาหารทําใหนา รับประทานมากขึ้น และปลอดภัยตอการบริโภค รวมไปจนถึงพืชสมุนไพรที่ใชเปนสียอมผา ซึ่ง จะพบวางานยอมผาฝาย หรือผาไหม ลวนมีเสนหและความโดดเดนในตัวเอง จัดเปนงาน สรางสรรคศิลปะ ความสวยงามมีเสนหนั้นเปนที่ตองการของชาวไทยและตางประเทศ ดังนั้น การที่ประเทศของเรามีภูมิปญญาในดานศิลปะในการทําอาหารไทย และศิลปะในการยอมผา ยอมวัสดุ เชน เสื่อ สิ่งถักทอ วัสดุใชงานอื่น ๆ เชนนี้ เราควรมีการพัฒนาใหมีความหลากหลาย มากขึ้น ควรมีการสงเสริมไปจนถึงการจดสิทธิบัตรเพื่อปองกันทรัพยสินทางปญญา มีการ ถายทอดภูมิปญญาพื้นบานจากรุนหนึ่งไปสูรุนลูกหลาน อีกทั้งควรอนุรักษพืชสมุนไพรที่เปน พรรณไมที่ใหสีใหคงอยูในชุมชนและในสภาพธรรมชาติ