SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
การวิจัยเชิงคุณภาพ ( Qualitative research )
การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการวิจัยที่แสวงหาความจริงในสภาพที่เป็นอยู่ โดยธรรมชาติ  ( Naturalistic inquiry )   ซึ่งเป็นการสอบสวน มองภาพรวมทุกมิติ  ( Holistic perspective )   ด้วยตัวผู้วิจัยเอง เพื่อหาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ที่สนใจกับสภาพแวดล้อมนั้น โดยให้ความสำคัญกับข้อมูลที่เป็นความรู้สึกนึกคิด คุณค่าของมนุษย์ และความหมายที่มนุษย์ให้ต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัว เน้นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อมูลสรุปแบบอุปนัย ( Inductive analysis ) ความหมายของการวิจัยเชิงคุณภาพ
เพื่อเข้าใจบริบทของสังคมอันเป็นแนวคิดพื้นฐานที่เห็นได้ชัดเจนในงานวิจัย ซึ่งต้องการศึกษาชุมชน หรือสังคมอย่างรอบด้านทุกแง่มุมในการศึกษาเพื่อรวบรวมข้อมูล จะมีการเก็บข้อมูลทางด้านสภาพแวดล้อม สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง ความเชื่อ พิธีกรรม ฯลฯ   ,[object Object],ลักษณะและกระบวนการ
แต่ปรากฏการณ์ทางสังคมบางประการไม่สามารถอธิบายด้วยเหตุผลธรรมดาทั่วไปได้ นักวิจัยจึงพยายามทำความเข้าใจเกี่ยวกับขนนธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม เพื่อนำมาอธิบายปรากฏการณ์ในสังคม   ,[object Object]
การศึกษาระบบความคิดนี้มาสามารถศึกษาได้จากการเก็บข้อมูลเพียงครั้งเดียว หรือโดยการใช้แบบสอบถาม เพราะผู้วิจัยต้องซักถามผู้ตอบอย่างละเอียดถี่ถ้วน ให้เข้าใจจริงๆ ว่าการสื่อความหมายระหว่างผู้ถามกับผู้ตอบตรงกัน ข้อมูลที่ได้จะต้องเป็นข้อมูลที่สะท้อนความคิดของผู้ตอบโดยตรง ,[object Object]
[object Object],การศึกษาเครือญาติ หรือระบบความสัมพันธ์อื่นๆ ช่วยอธิบายปรากฏการณ์บางอย่างได้ดี ความสัมพันธ์เชิงเครือญาติช่วยอธิบายถึงสาเหตุของปรากฏการณ์ งานวิจัยเชิงคุณภาพเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคมจะช่วยให้การวิเคราะห์มีความลึกซึ้งมากขึ้น
เป็นอีกลักษณะซึ่งจำเป็นต้องใช้วิธีการวิจัยเพื่อให้สามารถค้นพบคำตอบเกี่ยวกับสาเหตุความเป็นมา และความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบต่างๆ ในลักษณะที่ชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันขั้นตอนของการเกี่ยวข้อง ช่วงเวลาของการเกี่ยวข้องจะเกิดเป็นกระบวนการศึกษา กระบวนการเปลี่ยนแปลง เป็นตัวอย่างที่ชัดเจนว่าการศึกษาเชิงมนุษย์วิทยาจะช่วยให้คำตอบในการอธิบายปรากฏการณ์   ,[object Object]
การเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องการจากแหล่งข้อมูลบุคคลที่เลือกสรรแล้วว่าเป็นผู้ที่รู้เรื่องนั้นๆดี ( Key infortmant )  วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ถามเฉพาะคนในเรื่องที่คนอื่นไม่รู้ ถือได้ว่าเป็นเทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพที่มีลักษณะเด่น   ,[object Object]
วิธีตีความจากข้อมูลที่มีอยู่เพื่อเข้าใจความหมายที่ซ่อนอยู่ เช่นการพยายามเข้าใจวิถีชีวิตของผู้หญิงชนบทอีสาน จากข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งทอที่มีอยู่ การวิเคราะห์สิ่งทอรูปแบบต่างๆ และการเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการทอผ้าของผู้หญิงชนบท ช่วยให้นักวิจัยสามารถอธิบายได้ว่ากระบวนการรวบรวมเลี้ยงดูลูกสาวของคนอีสานสะท้อนให้เห็นเป็นรูปธรรมในเรื่องของการทอผ้าได้อย่างไร ,[object Object]
[object Object],ปัญหาการวิจัย   การวางแผนการวิจัย  -  สมมุติฐานการวิจัย   -  รูปแบบการวิจัย  -  เครื่องมือ   -  การเก็บข้อมูล   การวิเคราะห์ข้อมูล   การทบทวนวรรณ กรรมงานวิจัยที่ เกี่ยวข้อง   สรุปผลข้อมูล   ทบ .  ที่เกี่ยวกับ องค์ความรู้ปัจจุบัน   ขยายความรู้ องค์ความรู้ใหม่
การเก็บรวบรวมข้อมูลของการวิจัยเชิงคุณภาพ ,[object Object]
1.  การเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ,[object Object]
2.  การสังเกต  ( Observation)   ,[object Object],[object Object],เป็นเทคนิคที่มีประโยชน์มากในการวิจัยเชิงคุณภาพ การสังเกต มี  2  แบบคือ
[object Object],3. การสัมภาษณ์
เทคนิคการวิจัยเชิงคุณภาพ ,[object Object]
Life History Collection   ,[object Object]
Focus Group Discusions  ,[object Object]
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ,[object Object],เอกสารหลักฐาน   และสถิติต่างๆของโรงเรียน และอำเภอ  เช่นระเบียนสะสม ประวัติความเป็นมาของโรงเรียนและชุมชน   แบบสอบถาม   เพื่อใช้ติดตามผู้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนกรณีศึกษา เครื่องบันทึกเสียง
ข้อดี ข้อด้อย ของการวิจัยเชิงคุณภาพ ,[object Object],1. ช่วยให้เข้าใจปรากฏการณ์สังคมอย่างลึกซึ้ง และได้พบข้อเท็จจริงใหม่ๆ 2. ใช้ในการทำวิจัยที่ให้ความสำคัญกับสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ 3. ใช้ในการบันทึกกระบวนการ  ( Process evaluation ) 4. ใช้ในการทำวิจัยเรื่องที่เกี่ยวกับนามธรรม และใช้การวิจัยและพัฒนา 5. เหมาะสำหรับการวิจัยในสังคมที่มีผู้ไม่รู้หนังสือ หรือสื่อสารกันคนละภาษา 6. ใช้ผลการวิจัยประกอบการตัดสินใจและวางแผนได้ดี
ข้อด้อย   การวิจัยเชิงคุณภาพมีข้อด้อย   1. ไม่เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ 2. มีความยืดหยุ่นในการดำเนินการวิจัย หากนักวิจัยไม่มีประสบการณ์เพียงพอ อาจมีปัญหาในเรื่องความน่าเชื่อถือ ( reliability )  ของการใช้เครื่องมือ และความถูกต้องตรงประเด็นของการศึกษา  ( Validity ) 3. การเลือกตัวอย่างในการศึกษาแบบเจาะจงทำให้มีข้อจำกัดในการนำผลการศึกษาไปใช้ในวงกว้าง ( generalization ) 4. เป็นการวิจัยที่มีกระบวนการดำเนินการที่จะเป็น อัตวิสัย 5. ไม่เหมาะสำหรับใช้ทดสอบสมมติฐาน หรือทดสอบแนวทฤษฏี
สวัสดี

More Related Content

What's hot

ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณประพันธ์ เวารัมย์
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นอรุณศรี
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยRamkhamhaeng University
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)Marine Meas
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างอรุณศรี
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนnang_phy29
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยbenjama
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลWuttipong Tubkrathok
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาsongsri
 

What's hot (20)

ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
ความแตกต่างระหว่างคุณภาพกับปริมาณ
 
การวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้นการวิจัยเบื้องต้น
การวิจัยเบื้องต้น
 
รูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัยรูปแบบการวิจัย
รูปแบบการวิจัย
 
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
บทที่๑ ความรู้เบืองต้นของการวิจัย (Research)
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
การเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่างการเขียนโครงร่าง
การเขียนโครงร่าง
 
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Isระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
ระเบียบวิธีวิจัยเผื่อใช้สอบ Is
 
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียนเค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
เค้าโครงงานวิจัยในชั้นเรียน
 
Mt research
Mt researchMt research
Mt research
 
ทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไมทำวิจัยไปทำไม
ทำวิจัยไปทำไม
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
123
123123
123
 
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
 
สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษาPICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
PICO : ค้นข้อมูลอย่างไรให้ตรงประเด็นการรักษา
 

Viewers also liked

Applicazioni campo magnetico
Applicazioni campo magneticoApplicazioni campo magnetico
Applicazioni campo magneticoErasmo Modica
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราonyatada
 
Economic Presentation
Economic PresentationEconomic Presentation
Economic Presentationchy_iris
 
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพonyatada
 
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพonyatada
 
Numeri decimali, rapporti e proporzioni
Numeri decimali, rapporti e proporzioniNumeri decimali, rapporti e proporzioni
Numeri decimali, rapporti e proporzioniErasmo Modica
 
Appunti sul campo elettrico
Appunti sul campo elettricoAppunti sul campo elettrico
Appunti sul campo elettricoErasmo Modica
 
Breve storia dell'ottica
Breve storia dell'otticaBreve storia dell'ottica
Breve storia dell'otticaErasmo Modica
 
Appunti sui condensatori
Appunti sui condensatoriAppunti sui condensatori
Appunti sui condensatoriErasmo Modica
 
Distribuzioni di carica
Distribuzioni di caricaDistribuzioni di carica
Distribuzioni di caricaErasmo Modica
 

Viewers also liked (19)

Applicazioni campo magnetico
Applicazioni campo magneticoApplicazioni campo magnetico
Applicazioni campo magnetico
 
Ch08
Ch08Ch08
Ch08
 
Uu
UuUu
Uu
 
Jimi
JimiJimi
Jimi
 
Ch17
Ch17Ch17
Ch17
 
Aa
AaAa
Aa
 
เทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารราเทคนิคการบริหารรา
เทคนิคการบริหารรา
 
Economic Presentation
Economic PresentationEconomic Presentation
Economic Presentation
 
Ch12
Ch12Ch12
Ch12
 
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
 
Ch17
Ch17Ch17
Ch17
 
การวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพการวิจัยเชิงคุณภาพ
การวิจัยเชิงคุณภาพ
 
La struttura del pc
La struttura del pcLa struttura del pc
La struttura del pc
 
Numeri decimali, rapporti e proporzioni
Numeri decimali, rapporti e proporzioniNumeri decimali, rapporti e proporzioni
Numeri decimali, rapporti e proporzioni
 
Appunti sul campo elettrico
Appunti sul campo elettricoAppunti sul campo elettrico
Appunti sul campo elettrico
 
Breve storia dell'ottica
Breve storia dell'otticaBreve storia dell'ottica
Breve storia dell'ottica
 
Appunti sui condensatori
Appunti sui condensatoriAppunti sui condensatori
Appunti sui condensatori
 
Distribuzioni di carica
Distribuzioni di caricaDistribuzioni di carica
Distribuzioni di carica
 
L'energia elettrica
L'energia elettricaL'energia elettrica
L'energia elettrica
 

Similar to Oo (20)

二十四章经
二十四章经二十四章经
二十四章经
 
Qualitative research - Somruethai
Qualitative research - SomruethaiQualitative research - Somruethai
Qualitative research - Somruethai
 
023 qualitative research
023 qualitative research023 qualitative research
023 qualitative research
 
Research student chapter 3
Research student chapter 3Research student chapter 3
Research student chapter 3
 
Quanti & Quali study 2014.1.20
Quanti & Quali study 2014.1.20Quanti & Quali study 2014.1.20
Quanti & Quali study 2014.1.20
 
maisooree
maisooreemaisooree
maisooree
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
123
123123
123
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
บทที่๘
บทที่๘บทที่๘
บทที่๘
 
Research instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action ResearchResearch instruments for Classroom Action Research
Research instruments for Classroom Action Research
 

Oo

  • 2. การวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการวิจัยที่แสวงหาความจริงในสภาพที่เป็นอยู่ โดยธรรมชาติ ( Naturalistic inquiry ) ซึ่งเป็นการสอบสวน มองภาพรวมทุกมิติ ( Holistic perspective ) ด้วยตัวผู้วิจัยเอง เพื่อหาความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ที่สนใจกับสภาพแวดล้อมนั้น โดยให้ความสำคัญกับข้อมูลที่เป็นความรู้สึกนึกคิด คุณค่าของมนุษย์ และความหมายที่มนุษย์ให้ต่อสิ่งแวดล้อมต่างๆรอบตัว เน้นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการตีความสร้างข้อมูลสรุปแบบอุปนัย ( Inductive analysis ) ความหมายของการวิจัยเชิงคุณภาพ
  • 3.
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20. ข้อด้อย การวิจัยเชิงคุณภาพมีข้อด้อย 1. ไม่เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ 2. มีความยืดหยุ่นในการดำเนินการวิจัย หากนักวิจัยไม่มีประสบการณ์เพียงพอ อาจมีปัญหาในเรื่องความน่าเชื่อถือ ( reliability ) ของการใช้เครื่องมือ และความถูกต้องตรงประเด็นของการศึกษา ( Validity ) 3. การเลือกตัวอย่างในการศึกษาแบบเจาะจงทำให้มีข้อจำกัดในการนำผลการศึกษาไปใช้ในวงกว้าง ( generalization ) 4. เป็นการวิจัยที่มีกระบวนการดำเนินการที่จะเป็น อัตวิสัย 5. ไม่เหมาะสำหรับใช้ทดสอบสมมติฐาน หรือทดสอบแนวทฤษฏี