SlideShare a Scribd company logo
1 of 134
Download to read offline
TRM ฉบับรวมเล่ม2
TRM (Thailand Reference Material)
	 Thailand Reference Material (TRM) คือชื่อทางการค้าของวัสดุ
อ้างอิงรับรองที่ผลิตโดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ หรือหน่วยงานอื่นภายใน
ประเทศที่สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติมอบหมาย โดยกระบวนการผลิต TRM
เป็นไปตามข้อก�ำหนด ISO 17034: General requirements for the
competence of reference material producers และ ISO GUIDE 35:
Reference materials-Guidance for characterization and assessment
of homogeneity and stability TRM สามารถสอบกลับได้ทางมาตรวิทยา
(Traceable) ไปยัง SI Units ซึ่งในทางเคมีคือ หน่วย Mole (mol) โดยผ่าน
การให้ค่าจากห้องปฏิบัติการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ซึ่งได้ผ่านการเปรียบเทียบ
ความสามารถในการวัดกับห้องปฏิบัติการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติของ
ประเทศที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติเช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมันนี
และญี่ปุ่น เป็นต้น วัสดุอ้างอิงรับรองเป็นวัสดุหรือสารมาตรฐานที่มีความเป็น
เนื้อเดียว มีความเสถียรและมีใบรับรองค่าของคุณสมบัติที่เราสนใจ พร้อมแสดง
ค่าความไม่แน่นอนของผลการวัดและระบุการสอบกลับได้ของผลการวัด
	 วัสดุอ้างอิง/วัสดุอ้างอิงรับรองเป็นส่วนหนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อ
ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์และทดสอบ  ใช้ส�ำหรับ1)  สอบเทียบเครื่องมือ2)  ตรวจสอบ
ความใช้ได้/ยืนยันความถูกต้องของวิธีทดสอบ และ 3) ควบคุมคุณภาพของวิธี
การทดสอบ  ท�ำให้ห้องปฏิบัติการของประเทศไทยสามารถวิเคราะห์ทดสอบได้
อย่างถูกต้องและมีคุณภาพตามมาตรฐานตามระบบสากล
TRM ฉบับรวมเล่ม3
	 ในปัจจุบันพบว่า ห้องปฏิบัติการทดสอบ/สอบเทียบ ที่มีอยู่ในไทย
จ�ำนวนมากกว่า 1,000 แห่ง ต้องใช้วัสดุอ้างอิงในกระบวนการทดสอบ เพื่อ
ใช้ในการยืนยันวิธีการวิเคราะห์และทดสอบ หรือแม้กระทั่งใช้ในการตรวจสอบ
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดค่า และโดยส่วนใหญ่ต้องน�ำเข้าวัสดุอ้างอิง
จากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาแพงและต้องใช้ระยะเวลานานในการสั่งซื้อหรือ
น�ำเข้า เมื่อเราสามารถผลิตได้เองในประเทศย่อมเป็นประโยชน์แก่ประเทศและ
ลดการน�ำเข้าวัสดุอ้างอิง/วัสดุอ้างอิงรับรองจากต่างประเทศ  และ มว. ก็เป็น
หน่วยงานระดับชาติที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งจะเป็นการ
สร้างความน่าเชื่อถือ และความเชื่อมั่นในผลการวัดให้ประเทศต่างๆ อีกด้วย
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพได้ผลิตวัสดุอ้างอิง เพื่อรองรับความ
ต้องการของภาครัฐและภาคเอกชนต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และใช้ชื่อว่า TRM ขณะนี้
TRM ได้รับการขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทยในปี 2559 จ�ำนวน 48 รายการ
ในปัจจุบันสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติผลิตวัสดุอ้างอิงรับรองจ�ำนวน 102 รายการ
โดยแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้
	 1.	วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางเคมีคลีนิค: Clinic
	 2.	วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางด้านสิ่งแวดล้อม:
	 	 Environment  
	 3.	วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางอาหาร: Food
	 4.	วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางวัสดุ: Material
	 5.	วัสดุอ้างอิงรับรองสารมาตรฐาน: Standard
TRM ฉบับรวมเล่ม4
	No.	 Code	 Description
	 1	 TRM-C-2001	 Elements in Human Serum 	 Page 	13
	 2	 TRM-C-3010	 Ethanol in Air 	 Page 	14
	 3	 TRM-C-5001*	 Total Cholesterol in Frozen 	 Page 	15
	 	 	 Human Serum
	 4	 TRM-E-2001*	 Elements in Soil 	 Page 19
	 5	 TRM-E-2002	 Trace Elements in Water 	 Page 	20
	 6	 TRM-E-2003	 Mercury in Water 	 Page 	21
	 7	 TRM-E-3010*	 Oxygen in Nitrogen        	 Page 	22
	8	 TRM-E-3011*	 Oxygen in Nitrogen  	 Page 	23
	 9	 TRM-E-3020*	 Carbon Dioxide in Nitrogen  	 Page 	24
	 10	 TRM-E-3021	 Carbon Dioxide in Nitrogen  	 Page 	25
	 11	 TRM-E-3030*	 Methane in Nitrogen 	 Page 	26
	 12	 TRM-E-3031*	 Methane in Nitrogen 	 Page 	27
	 13	 TRM-E-3032	 Methane in Air  	 Page 	28
	 14	 TRM-E-3033	 Methane in Nitrogen  	 Page 	29
	 15	 TRM-E-3040	 CO in Air 	 Page 	30
	 16	 TRM-E-3050	 Sulfur Dioxide in Nitrogen  	 Page 	31
	 17	 TRM-E-3061	 Propane in Nitrogen 	 Page 	32
	 18	 TRM-E-3062	 Propane in Nitrogen 	 Page 	33
	 19	 TRM-E-3063	 Propane in Air 	 Page 	34
	 20	 TRM-E-3070	 Nitrogen Monoxide in Nitrogen	 Page 	35
	 21	 TRM-E-5001	 Organochlorine Pesticides in Soil	 Page 	36
TRM ฉบับรวมเล่ม5
	No.	 Code	 Description
	 22	 TRM-F-1001	 Pure Pork Meat 	 Page	41
	 23	 TRM-F-1002 	 Pure Beef Meat 	 Page	42
	 24	 TRM-F-2001*	 Elements in Glutinous Rice Powder	 Page	43
	 25	 TRM-F-2002*	 Trace and Essential Elements	 Page	44
	 	 	 in Prawn
	 26	 TRM-F-2003	 Arsenic in White Rice Flour	 Page	45
	 27	 TRM-F-5001*	 Total Malachite Green in 	 Page	46
	 	 	 Freeze Dried Prawn
	 28	 TRM-F-5002*	 Aflatoxins in Peanut Butter	 Page	47
	 29	 TRM-F-5003*	 Melamine in Cracker 	 Page	48
	 30	 TRM-F-5004	 Clenbuterol in Feed 	 Page	49
	 31	 TRM-F-5005	 Salbutamol in Feed 	 Page	50
	 32	 TRM-F-5006	 Melamine in Milk Powder	 Page	51
	 33	 TRM-F-6001	 Moisture in Paddy 	 Page	52
	 34	 TRM-F-6002	 Moisture in Paddy 	 Page	53
	 35	 TRM-F-6003	 Moisture in Paddy 	 Page	54
	 36	 TRM-F-6004	 Moisture in Paddy 	 Page	55
	 37	 TRM-F-6005	 Moisture in Paddy 	 Page	56
	 38	 TRM-F-6006	 Moisture in Rice 	 Page	57
	 39	 TRM-F-6007	 Moisture in Rice 	 Page	58
	 40	 TRM-F-6008	 Moisture in Rice 	 Page	59
	 41	 TRM-F-6009	 Moisture in Rice 	 Page	60
TRM ฉบับรวมเล่ม6
	No.	 Code	 Description
	 42	 TRM-F-6010	 Moisture in Rice 	 Page	61
	 43	 TRM-M-2001*	 Elements in Acrylonitrile Butadiene 	 Page	81
	 	 	 Styrene (ABS) Plastic, Low Levels
	 44	 TRM-M-2002	 Elements in Acrylonitrile Butadiene  	Page	82
	 	 	 Styrene (ABS) Plastic, High Levels
	 45	 TRM-S-1001	 Pork DNA Solution 	 Page	62
	 46	 TRM-S-1002	 MON810 Plasmid DNA	 Page	63
	 47	 TRM-S-1003	 Enzyme α-amylase 	 Page	64
	 48	 TRM-S-2001*	 Secondary pH Standards 	 Page	88		
	 	 TRM-S-2001s*	 Secondary pH Standards 	
	 49	 TRM-S-2002*	 Secondary pH Standards 	 Page	89
	 	 TRM-S-2002s*	 Secondary pH Standards 	
	 50	 TRM-S-2003*	 Secondary pH Standards 	 Page	90
	 	 TRM-S-2003s*	 Secondary pH Standards 	
	 51	 TRM-S-2004*	 Secondary pH Standards 	 Page	91
	 	 TRM-S-2004s*	 Secondary pH Standards 	
	 52	 TRM-S-2005*	 Secondary pH Standards 	 Page	92
	 	 TRM-S-2005s*	 Secondary pH Standards 	
	 53	 TRM-S-2006*	 Secondary pH Standards 	 Page	93
	 	 TRM-S-2006s*	 Secondary pH Standards 	
	 54	 TRM-S-2007*	 Secondary pH Standards 	 Page	94
	 	 TRM-S-2007s*	 Secondary pH Standards
TRM ฉบับรวมเล่ม7
	No.	 Code	 Description
	 55	 TRM-S-2008*	 Secondary pH Standards 	 Page 	95
	 	 TRM-S-2008s*	 Secondary pH Standards 	
	 56	 TRM-S-2009*	 Potassium Dichromate Standard 	Page	96
	 	 	 Solution
	 57	 TRM-S-2010*	 Potassium Iodide Standard Solution 	 Page 	97
	 58	 TRM-S-2011*	 Zinc Standard Solution 	 Page 	98
	 59	 TRM-S-2012*	 Cadmium Standard Solution 	 Page 	99
	 60	 TRM-S-2013*	 Chloride Standard Solution 	 Page 	100
	 61	 TRM-S-2014*	 Sodium Standard Solution 	 Page 	101
	 62	 TRM-S-2015	 Arsenic Standard Solution 	 Page 	102
	 63	 TRM-S-2016	 pH of ethanol 	 Page 	103
	 64	 TRM-S-2017	 Secondary Electrolytic Conductivity	Page 104		
	 	 	 Solution (0.001 mol/l KCl)
	 65	 TRM-S-2018*	 Secondary Electrolytic Conductivity 	Page 	105		
	 	 	 Solution (0.1 mol/l KCl)
	 66	 TRM-S-2019*	 Secondary Electrolytic Conductivity 	Page 	106		
	 	 	 Solution (0.01 mol/l KCl)
	 67	 TRM-S-2020	 (Primary) Phthalate buffer Solution 	 Page 	107
	 68	 TRM-S-2021	 (Primary) Phosphate buffer Solution 	Page 	108
	 69	 TRM-S-2022	 (Primary) Borate buffer Solution 	Page 	109
	 70	 TRM-S-2023	 Electrolytic conductivity of ethanol 	 Page 	110
TRM ฉบับรวมเล่ม8
	No.	 Code	 Description
	 71	 TRM-S-5001*	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	65
	 72	 TRM-S-5002*	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	66
	 73	 TRM-S-5003*	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	67
	 74	 TRM-S-5004*	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	68
	 75	 TRM-S-5005*	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	69
	 76	 TRM-S-5006*	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	70
	 77	 TRM-S-5007*	 Benzene in Methanol 	 Page 	111
	 78	 TRM-S-5008*	 Ethylbenzene in Methanol	 Page 	112
	 79	 TRM-S-5009*	 Toluene in Methanol	 Page 	113
	 80	 TRM-S-5010*	 o -Xylene in Methanol 	 Page 	114
	 81	 TRM-S-5011*	 m -Xylene in Methanol 	 Page 	115
	 82	 TRM-S-5012*	 p -Xylene in Methanol 	 Page 	116
	 83	 TRM-S-5013*	 Organochlorine Pesticide Mix set 1 	Page 	117
	 84	 TRM-S-5014*	 Organophosphate Pesticide Mix set 1 	Page 	118
	 85	 TRM-S-5015*	 Organophosphate Pesticide Mix set 2 	Page 	119
	 86	 TRM-S-5016*	 Acaricide Pesticide Mix set 1 	 Page 	120
	 87	 TRM-S-5017*	 Carbamate Pesticide Mix set 1 	 Page 	121
	 88	 TRM-S-5018*	 Pyrethroid Pesticide Mix set 1 	 Page 	122
	 89	 TRM-S-5019*	 Organophosphate Pesticide Mix set 3 	Page 	123
	 90	 TRM-S-5020	 Organophosphate Pesticide Mix set 4 	Page 	124
	 91	 TRM-S-5021	 Organochlorine Pesticide Mix set 2 	 Page 	125
	 92	 TRM-S-5022	 Pyrethroid Pesticide Mix set 2 	 Page 	126
TRM ฉบับรวมเล่ม9
	No.	 Code	 Description
	 93	 TRM-S-5023	 Organophosphate Pesticide Mix set 5 	Page 	127
	 94	 TRM-S-5024	 Acaricide Pesticide Mix set 2 	 Page 	128
	 95	 TRM-S-5025	 Insecticide Pesticide Mix set 1 	 Page 129
	 96	 TRM-S-5026	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	71
	 97	 TRM-S-5027	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	72
	 98	 TRM-S-5028	 Sucrose Standard Solution	 Page 73
	 99	 TRM-S-5029	 Sucrose Standard Solution	 Page 74
	100	 TRM-S-5030	 Sucrose Standard Solution	 Page 	75
	101	 TRM-S-5031	 Sucrose Standard Solution 	 Page 	76
	102	 TRM-S-5032	 Sucrose Standard for Optical	 Page 	77
	 	 	 Measurements
*TRM ได้รับการขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทยในปี 2559
วัสดุอางอิงรับรอง
สําหรับการตรวจวัดทางเคมี
คลีนิค: Clinic
1
11 TRM ฉบับรวมเล่ม
วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการตรวจวัดทางเคมีคลีนิค: Clinic
	 โดยทั่วไปห้องปฏิบัติการทางการแพทย์จะวัดไบโอมาร์คเกอร์ในสารคัดหลั่ง
จากร่างกายโดยเฉพาะในตัวอย่างเลือดเป็นประจ�ำ ซึ่งค่าจากการวัดจะถูก
น�ำไปใช้ประกอบการวินิจฉัยโรค การรักษา และตรวจติดตามผลการรักษา
อย่างไรก็ดีการวัดไบโอมาร์คเกอร์ ให้มีความน่าเชื่อถือไม่สามารถท�ำได้อย่าง
ตรงไปตรงมา ค่าที่ได้จากการวัดอาจมีการเบี่ยงเบนจากค่าจริง โดยได้รับผล
จากการสอบเทียบเครื่องมือ ความไม่เสถียรของไบโอมาร์คเกอร์ ความจ�ำเพาะ
ของวิธี หรือแม้แต่จากพันธุกรรมของผู้ป่วย ดังนั้น การขาดการปรับเทียบ
มาตรฐานจะท�ำให้การเปรียบเทียบผลการวัดจากต่างโรงพยาบาล หรือแม้แต่
การวัดที่โรงพยาบาลเดียวกันแต่ต่างเวลาเป็นไปได้ยาก   การท�ำให้ผลการวัดจาก
ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์สามารถเปรียบเทียบกันได้ จะต้องอาศัยปัจจัย
หลายปัจจัยได้แก่ การปรับเทียบมาตรฐาน (standardization) การใช้วิธี
วัดมาตรฐาน (reference method) และการใช้วัสดุอ้างอิง (reference
materials) เป็นต้น  
	 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ได้วิจัยและพัฒนาวิธีมาตรฐานและผลิต
วัสดุอ้างอิง วัสดุอ้างอิงรับรอง เพื่อสนับสนุนให้การปรับเทียบมาตรฐานการวัด
ทางการแพทย์ของประเทศมีความถูกต้อง แม่นย�ำ และสามารถเปรียบเทียบ
ผลการวัดได้ ซึ่งจะสามารถลดการสูญเสียงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยจาก
การวินิจฉัยโรคผิดพลาดจากค่าการวัดที่ไม่ถูกต้อง ลดการน�ำเข้าวัสดุอ้างอิง
จากต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐในการตรวจคัดกรองโรค
และตรวจติดตามโรค ได้กว่า 20 ล้านบาทต่อปี
12 TRM ฉบับรวมเล่ม
	No.	 Code	 Description
	 1	 TRM-C-2001	 Elements in Human Serum
	 2	 TRM-C-3010	 Ethanol in Air
	 3	 TRM-C-5001	 Total Cholesterol in Frozen Human Serum
TRM ในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วย
13 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-C-2001: Elements in Human Serum
เจ้าของผลงาน:	 ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองธาตุในตัวอย่างซีรัมแช่เยือกแข็งช่วง
	 ความเข้มข้น  
	 Ca 92.9 mg/kg _+   6.3 mg/kg                                                  
  	 K 168 mg/kg _+ 11 mg/kg                                         
	 Mg 21.8 mg/kg _+  1.3 mg/kg           
  	 ขนาด 4 มิลลิลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 ห้องปฏิบัติการทดสอบด้านการแพทย์ สามารถ
	 	 ซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณแคลเซียม
	 	 โพแทสเซียมและแมกนีเซียมได้ในราคาถูก    
	 	 2.	สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ
	 	 วิเคราะห์ปริมาณแคลเซียม โพแทสเซียมและ
	 	 แมกนีเซียมให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบ
	 	 ด้านการแพทย์
14 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-C-3010: Ethanol in Air Gas Mixture
เจ้าของผลงาน:	 นายอาณัฐชัย วงค์จักร์/นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ  
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซ
	 ผสมเอทานอลในอากาศ ช่วงความเข้มข้น 100-200
	 µmol/mol _+ 1% relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณเอทานอล
	 	 ในลมหายใจ
	 	 2.	เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมเอทานอลในอากาศสร้างการ
	 	 สอบกลับได้ของผลการวัด
	 	 3.	เพื่อใช้สำ�หรับตรวจสอบความใช้ได้/ยืนยันความ
	 	 ถูกต้องของวิธีทดสอบ
	 	 4.	เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณเอทานอล
	 	 ในเลือดโดยวิธีเป่าลมหายใจ
15 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-C-5001: Total Cholesterol in Frozen
	 Human Serum
เจ้าของผลงาน:	 ดร.จินตนา นามมูลน้อย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองคอเลสเตอรอลรวมในตัวอย่างซีรัม
	 แช่เยือกแข็งที่ช่วงความเข้มข้น 2.05 mg/kg _+ 6.0 %
	 relative ขนาด 4 มิลลิลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สำ�หรับใช้ในการทวนสอบวิธีวัดคอเลสเตอรอลรวม
	 	 ในตัวอย่างซีรัม โดยปกติระดับคอเลสเตอรอลใน
	 	 ซีรัมจะมีค่าดังนี้  
	 	 ระดับที่ต้องการ:น้อยกว่า200mg/dL  (ถือว่าเหมาะสม)  
	 	 ระดับปานกลาง:200-239  mg/dL (เริ่มอันตราย)
	 	 ระดับสูง:มากกว่า 240 mg/dL (อันตรายมาก)
วัสดุอางอิงรับรอง
สําหรับการตรวจวัดทางดาน
สิ่งแวดลอม: Environment
2
วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการตรวจวัดทางด้านสิ่งแวดล้อม:
Environment	
	 ในปัจจุบันนี้โลกได้มีการพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการใช้ทรัพยากรทาง
ธรรมชาติอย่างมากมาย ส่งผลให้มีการลดลงของทรัพยากรและก่อให้เกิดมลพิษ
ในสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นทางด้านอากาศ บนพื้นดิน หรือแม้กระทั่งในน�้ำ   
ส�ำหรับประเทศไทยในปัจจุบันได้เผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมทางด้านอากาศ
และทางน�้ำไม่ว่าจะเป็น คุณภาพน�้ำผิวดิน น�้ำบาดาลเสื่อมโทรม ปนเปื้อน
โลหะหนัก บ�ำบัดน�้ำเสียท�ำได้แค่ 45.13% กากอุตสาหกรรมไม่ได้รับการก�ำจัด
55.26% ส่วนคุณภาพอากาศนั้น ก๊าซโอโซนยังสูง แต่ค่าฝุ่นขนาด PM10 มีค่า
เกินกว่าค่ามาตรฐาน และมีการปล่อยก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ ขณะที่สาร
อินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในบรรยากาศพบว่า มีการตรวจพบค่าที่เกินกว่า
ค่ามาตรฐาน 3 พารามิเตอร์ ได้แก่ Benzene, Butadiene และ Chloroethane
หากประเมินกรณีเลวร้ายสุดอาจจะเกิดความรุนแรงกว่านี้อีกมาก
	 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ได้พัฒนามาตรฐานการวัดสู่การพัฒนา
ศักภาพของห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม อันเป็นการช่วยให้ผล
การวัดจากห้องปฏิบัติการเหล่านั้นมีความถูกต้อง สามารถสอบกลับได้ทาง
มาตรวิทยา และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ
จะพัฒนามาตรฐานวิธีการวัดที่เกี่ยวข้องกับสารปนเปื้อนที่อยู่ในอากาศ ในดิน
และในน�้ำ ผลิตวัสดุอ้างอิงรับรองทางด้านการทดสอบทางสิ่งแวดล้อม  เพื่อช่วย
ให้ผู้ประกอบการน�ำไปใช้ และสร้างความมั่นใจในการวัด
	 ก๊าซผสมมาตรฐานที่ผลิตจะรองรับงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์
ในการทดสอบประสิทธิภาพการเผาไหม้เครื่องยนต์ กลุ่มอุตสาหกรรมที่มี
การใช้เตาเผาในกระบวนการผลิต กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในการควบคุม
ปริมาณการปล่อยก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมภาครัฐ
และเอกชน
17 TRM ฉบับรวมเล่ม
18 TRM ฉบับรวมเล่ม
	No.	 Code	 Description
	 1	 TRM-E-2001	 Elements in Soil
	 2	 TRM-E-2002	 Trace Elements in Water
	 3	 TRM-E-2003	 Mercury in Water
	 4	 TRM-E-3010	 Oxygen in Nitrogen                              
	 5	 TRM-E-3011	 Oxygen in Nitrogen
	 6	 TRM-E-3020	 Carbon Dioxide in Nitrogen
	 7	 TRM-E-3021	 Carbon Dioxide in Nitrogen
	 8	 TRM-E-3030	 Methane in Nitrogen
	 9	 TRM-E-3031	 Methane in Nitrogen
	 10	 TRM-E-3032	 Methane in Air
	 11	 TRM-E-3033	 Methane in Nitrogen
	 12	 TRM-E-3040	 CO in Air
	 13	 TRM-E-3050	 Sulfur Dioxide in Nitrogen
	 14	 TRM-E-3061	 Propane in Nitrogen
	 15	 TRM-E-3062	 Propane in Nitrogen
	 16	 TRM-E-3063	 Propane in Air
	 17	 TRM-E-3070	 Nitrogen Monoxide in Nitrogen
	 18	 TRM-E-5001	 Organochlorine Pesticides in Soil
TRM ในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วย
19 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-2001: Elements in Soil
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวอุษณา เที่ยงมณี/นางสาวปราณี พฤกพัฒนาชัย	 	
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างดินที่ช่วงความเข้มข้น
     	 Cd 0.85 mg/kg _+  0.10 mg/kg  	
	 Cu 27.7 mg/kg _+  2.1 mg/kg
	 Ni 43.7 mg/kg _+  2.8 mg/kg   	
	 Pb 29.5 mg/kg _+  1.9 mg/kg
	 Zn 69.6 mg/kg _+  7.8 mg/kg
	 ขนาด 30 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม
	 	 สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณแคดเมียม
	 	 ทองแดง นิกเกิล ตะกั่ว และสังกะสีได้ในราคาถูก
	 	 2.	สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของ
	 	 การวิเคราะห์ปริมาณแคดเมียม  ทองแดง  นิกเกิล  ตะกั่ว
	 	 และสังกะสีให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้าน
	 	 สิ่งแวดล้อม
20 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-2002: Trace Elements in Water
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย/นางสาวอุษณา เที่ยงมณี
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างน้ำ�ที่ช่วงความเข้มข้น
	 Cd 0.0050 mg/kg _+  0.0003 mg/kg
	 Cu 0.504 mg/kg _+  0.011 mg/kg
	 Pb 0.061 mg/kg _+  0.004 mg/kg
	 Zn 0.632 mg/kg _+  0.018 mg/kg
	 ขนาด 100 มิลลิลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อมสามารถ
	 	 ซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณแคดเมียม
	 	 ทองแดง ตะกั่ว และสังกะสีได้ในราคาถูก
	 	 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ
	 	 วิเคราะห์ปริมาณแคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และ
	 	 สังกะสี ให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้าน
	 	 สิ่งแวดล้อม
21 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-2003: Mercury in Water
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองปรอทในตัวอย่างน้ำ�ที่ช่วงความเข้มข้น
	 Hg 528 ng/kg _+  41 ng/kg ขนาด 10 มิลลิลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม
	 	 สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณปรอท
	 	 ได้ในราคาถูก          
	 	 2.	สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของ
	 	 การวิเคราะห์ปริมาณปรอทให้กับห้องปฏิบัติการ
	 	 ทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม
22 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3010: Oxygen in Nitrogen Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 ออกซิเจนในไนโตรเจน ช่วงความเข้มข้น 1 - 30 cmol/mol
	 ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.25 - 0.45 % relative
	 ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณออกซิเจน
	 	 ในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ
	 	 2.	เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวิเคราะห์ปริมาณ
	 	 ออกซิเจน
	 	 3.	เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัดปริมาณ
	 	 ออกซิเจนในบรรยากาศในพื้นที่อับอากาศหรือ
	 	 พื้นที่เสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย
23 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3011: Oxygen in Nitrogen Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 ออกซิเจนในไนโตรเจน ช่วงความเข้มข้น 2 - 30 cmol/mol
	 ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.5 % relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณออกซิเจน
	 	 ในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ
	 	 2. 	เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวิเคราะห์ปริมาณ
	 	 ออกซิเจน
	 	 3.	เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด
	 	 ปริมาณของออกซิเจนในบรรยากาศในพื้นที่อับ
	 	 อากาศหรือพื้นที่เสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย
24 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3020: Carbon Dioxide in Nitrogen Gas
	 Mixture
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 คาร์บอนไดออกไซด์ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 1 - 15
	 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative
	 ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนไดออกไซด์ ในการควบคุมการปล่อย
	 	 ก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ
	 	 2.	เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนไดออกไซด์ ในเตาเผาในการควบคุม
	 	 ประสิทธิภาพการเผาไหม้
	 	 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนไดออกไซด์ในอุตสาหกรรมอาหารและน�้ำดื่ม
25 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3021: Carbon Dioxide in Nitrogen Gas
	 Mixture
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 คาร์บอนไดออกไซด์ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 0.5 - 20
	 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative
	 ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนไดออกไซด์ ในการควบคุมการปล่อย
	 	 ก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ
	 	 2.	เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนไดออกไซด์ ในเตาเผาในการควบคุม
	 	 ประสิทธิภาพการเผาไหม้
	 	 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนไดออกไซด์ในอุตสาหกรรมอาหารและน�้ำดื่ม
26 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3030: Methane in Nitrogen Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 มีเทนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น1-15cmol/molค่าความ
	 ไม่แน่นอนของการวัด 0.35 % relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณ
	 	 มีเทนในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ
	 	 2. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณมีเทน
	 	 ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ  
	 	 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 มีเทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้
27 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3031: Methane in Nitrogen Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 มีเทนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น1-10cmol/molค่าความ
	 ไม่แน่นอนของการวัด 0.7 % relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณ
	 	 มีเทนในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ
	 	 2.	เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 มีเทนในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ
	 	 3.	เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 มีเทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้
28 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3032: Methane in Air Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 มีเทนในอากาศช่วงความเข้มข้น0.5-10cmol/mol  ค่าความ
	 ไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณมีเทน
	 	 ในบรรยากาศ
	 	 2.	เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณมีเทน
	 	 ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ
	 	 3. เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 มีเทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้
	 	 4. เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัปริมาณ
	 	 การรั่วไหลของก๊าซมีเทนในบรรยากาศ ในพื้นที่เสี่ยง
	 	 เกิดอัคคีภัย
29 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3033: Methane in Nitrogen Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 มีเทนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 100 - 1000 µmol/mol
	 ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.7 % relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณ
	 	 มีเทนในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ
	 	 2. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณมีเทน
	 	 ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ
	 	 3.	เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 มีทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้
30 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3040: Carbon Monoxide in Air Gas
	 Mixture
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 คาร์บอนมอนอกไซด์ในอากาศช่วงความเข้มข้น 50 - 5000
	 µmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative
	 ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนมอนอกไซด์ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ
	 	 2. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 คาร์บอนมอนอกไซด์ ในการประเมินประสิทธิภาพ
	 	 การเผาไหม้
	 	 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด
	 	 ปริมาณการรั่วไหลคาร์บอนมอนอกไซด์ในบรรยากาศ
31 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3050: Sulfur Dioxide in Nitrogen Gas
	 Mixture
เจ้าของผลงาน:	 ดร.บรรฑูรย์ ละอองศรี/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น500-2000
	 µmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.5 % relative
	 ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ
	 	 2. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด
	 	 ปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ระบายออกจากโรงงาน
	 	 เช่น โรงงานผลิตแก้วและกระจก โรงกลั่นน�้ำมัน
	 	 ปิโตรเลียม  โรงงานปูนซีเมนต์  โรงงานผลิตพลังงาน
	 	 ไฟฟ้า เป็นต้น
32 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3061: Propane in Nitrogen Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ  
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 โพรเพนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 200 - 5000
	 µmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.5 % relative
	 ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณโพรเพน
	 	 ในบรรยากาศ
	 	 2. เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมโพรเพนในอากาศสร้างการสอบ
	 	 กลับได้ของผลการวัด
	 	 3. เพื่อใช้ส�ำหรับตรวจสอบความใช้ได้/ยืนยัน
	 	 ความถูกต้องของวิธีทดสอบ
	 	 4.	เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณโพรเพน
33 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3062: Propane in Nitrogen Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ  
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 โพรเพนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 0.5 - 10 cmol/mol
	 ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณโพรเพน
	 	 ในบรรยากาศ
	 	 2.	เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมโพรเพนในอากาศสร้างการ
	 	 สอบกลับได้ของผลการวัด
	 	 3.	เพื่อใช้ส�ำหรับตรวจสอบความใช้ได้/ยืนยัน
	 	 ความถูกต้องของวิธีทดสอบ
	 	 4. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณโพรเพน
34 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3063: Propane in Air Gas Mixture
	
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ  
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 โพรเพนใน อากาศช่วงความเข้มข้น 0.5 - 10 cmol/mol
	 ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณโพรเพน
	 	 ในบรรยากาศ
	 	 2. เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมโพรเพนในอากาศสร้างการ
	 	 สอบกลับได้ของผลการวัด
	 	 3. 	เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณโพรเพน
	 	 4.	เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด
	 	 ปริมาณการรั่วไหลของโพรเพนในบรรยากาศในพื้นที่
	 	 จัดเก็บหรือติดตั้งก๊าซปิโตรเลี่ยมเหลว
35 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-3070: Nitrogen Monoxide in Nitrogen Gas
	 Mixture
เจ้าของผลงาน:	 ดร.บรรฑูรย์ ละอองศรี/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม
	 ไนโตรเจนมอนอกไซด์ ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น
	 1 - 10 mmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 %
	 relative ขนาด 10 ลิตร
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ
	 	 ไนโตรเจนมอนอกไซด์ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ
	 	 2.เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด
	 	 ปริมาณออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ในรูป
	 	 ไนโตรเจนมอนอกไซด์ที่ระบายออกจากโรงงาน เช่น
	 	 โรงงานผลิตแก้วและกระจก โรงกลั่นน�้ำมัน
	 	 ปิโตรเลียม โรงงานปูนซีเมนต์ โรงงานผลิตพลังงาน
	 	 ไฟฟ้า เป็นต้น
36 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-E-5001: Organochlorine pesticides (OCPs) in
	 soil (Endosulfan II and Endosulfan sulfate)
เจ้าของผลงาน:	 นางสาวนิตยา สุดศิริ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการวัดสารกำ�จัดศัตรูพืช ประเภท
	 ออร์กาโนคลอรีนที่ปนเปื้อนในตัวอย่างดิน ที่ช่วงความเข้มข้น
	 Endosulfan II 0.43 mg/kg _+ 14 % relative
	 Endosulfan sulfate 0.56 mg/kg _+ 15 % relative
	 ขนาด 30 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีการวัด
	 	 สารก�ำจัดศัตรูพืช ประเภทออร์กาโนคลอรีนที่ปน
	 	 เปื้อนในตัวอย่างดิน อีกทั้งยังใช้เป็น QC ส�ำหรับ
	 	 การวิเคราะห์ สารก�ำจัดศัตรูพืช ประเภทออร์กาโน
	 	 คลอรีนที่ปนเปื้อนในตัวอย่างดิน
วัสดุอางอิงรับรอง
สําหรับการตรวจวัดทาง
อาหาร: Food
3
38 TRM ฉบับรวมเล่ม
วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการตรวจวัดทางอาหาร: Food
	 อาหารเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิต ร่างกายจะเจริญเติบโตมีสุขภาพ
ที่สมบูรณ์เมื่อได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน ถูกสุขลักษณะ
และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ไม่มีสารพิษหรือสิ่งเจือปน
ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย
	 ส�ำหรับประเทศไทย อุตสาหกรรมอาหารถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่
มีขีดความสามารถในการสร้างรายได้และการส่งออกสูง โดยในปี 2558 ภาพรวม
มูลค่าส่งออกอาหารแปรรูปไทยอยู่ที่ 17,322.36 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และไทย
นับเป็นผู้ส่งออกอาหารแปรรูปรายใหญ่อันดับ 10 ของโลก ดังนั้น การสร้าง
ความมั่นใจให้ผู้บริโภคและประเทศคู่ค้าด้านอาหารจึงเป็นภารกิจส�ำคัญของ
รัฐบาล
	 สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้พัฒนามาตรฐานการวัดสู่การพัฒนา
ศักยภาพห้องปฏิบัติการทดสอบอาหารเพื่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน
อันเป็นการเพิ่มความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคอาหารว่าผลการวัดจากห้องปฏิบัติการ
ทดสอบอาหารมีความถูกต้องน่าเชื่อถือสามารถสอบกลับได้ทางมาตรวิทยา
และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล  โดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติจะพัฒนามาตรฐาน
วิธีการวัดที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ผลิตวัสดุอ้างอิงรับรองด้านการทดสอบอาหาร
ทั้งทางด้านการวิเคราะห์อินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี และการวัดวิเคราะห์ในระดับ
ชีวภาพ รวมถึงการวัดปริมาณสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ฮาลาล เพื่อสนับสนุน
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารเพื่อการส่งออกของไทย และสร้างความมั่นใจ
ให้แก่ผู้บริโภค อีกทั้งจัดโปรแกรมการเปรียบเทียบผลการวัดหรือทดสอบ
ความช�ำนาญในประเทศ เพื่อพัฒนาและทดสอบความสามารถด้านการวัดของ
ห้องปฏิบัติการทดสอบอาหาร
39 TRM ฉบับรวมเล่ม
	No.	 Code	 Description
	 1	 TRM-F-1001	 Pure Pork Meat
	 2	 TRM-F-1002 	 Pure Beef Meat
	 3	 TRM-F-2001	 Elements in Glutinous Rice Powder
	 4	 TRM-F-2002	 Trace and Essential Elements in Prawn
	 5	 TRM-F-2003	 Arsenic in White Rice Flour
	 6	 TRM-F-5001	 Total Malachite Green in Freeze Dried Prawn
	 7	 TRM-F-5002	 Aflatoxins in Peanut Butter
	 8	 TRM-F-5003	 Melamine in Cracker
	 9	 TRM-F-5004	 Clenbuterol in Feed
	 10	 TRM-F-5005	 Salbutamol in Feed
	 11	 TRM-F-5006	 Melamine in Milk Powder
	 12	 TRM-F-6001	 Moisture in Paddy
	 13	 TRM-F-6002	 Moisture in Paddy
	 14	 TRM-F-6003	 Moisture in Paddy
	 15	 TRM-F-6004	 Moisture in Paddy
	 16	 TRM-F-6005	 Moisture in Paddy
	 17	 TRM-F-6006	 Moisture in Rice
	 18	 TRM-F-6007	 Moisture in Rice
	 19	 TRM-F-6008	 Moisture in Rice
TRM ในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วย
40 TRM ฉบับรวมเล่ม
	No.	 Code	 Description
	20	 TRM-F-6009	 Moisture in Rice
	 21	 TRM-F-6010	 Moisture in Rice
	22	 TRM-S-1001	 Pork DNA Solution
	 23	 TRM-S-1002	 MON810 Plasmid DNA
	24	 TRM-S-1003	 Enzyme α-amylase
	25	 TRM-S-5001	 Sucrose Standard Solution
	26	 TRM-S-5002	 Sucrose Standard Solution
	27	 TRM-S-5003	 Sucrose Standard Solution
	28	 TRM-S-5004	 Sucrose Standard Solution
	29	 TRM-S-5005	 Sucrose Standard Solution
	30	 TRM-S-5006	 Sucrose Standard Solution
	 31	 TRM-S-5026	 Sucrose Standard Solution
	 32	 TRM-S-5027	 Sucrose Standard Solution
	 33	 TRM-S-5028	 Sucrose Standard Solution
	 34	 TRM-S-5029	 Sucrose Standard Solution
	35	 TRM-S-5030	 Sucrose Standard Solution
	36	 TRM-S-5031	 Sucrose Standard Solution
	37	 TRM-S-5032	 Sucrose Standard for Optical
	 	 	 Measurements
41 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-1001: Pure Pork Meat
	
เจ้าของผลงาน:	 นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงเนื้อสุกร 100% ขนาด 1 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 -	 เป็นสารมาตรฐานในการหาปริมาณดีเอ็นเอสุกร
	 	 -	 เป็นสารมาตรฐานส�ำหรับเป็น positive control
	 	 	 ในการตรวจวัดการปนเปื้อนเนื้อสุกรในผลิตภัณฑ์
	 	 	 ฮาลาล
42 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-1002: Pure Beef Meat
	
เจ้าของผลงาน:	 นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงเนื้อวัว ความบริสุทธิ์มากกว่า 99.88%
	 ขนาด 1 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 -	 เป็นสารมาตรฐานในการหาปริมาณดีเอ็นเอวัว
	 	 -	 เป็นสารมาตรฐานส�ำหรับเป็น negative control
	 	 	 ในการตรวจวัดการปนเปื้อนเนื้อสุกรในเนื้อวัว
43 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-2001: Elements in Glutinous Rice Powder
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/นางสาวปราณี พฤกพัฒนาชัย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างข้าวที่ช่วงความเข้มข้น
          	 Cd 0.69 mg/kg _+  0.06 mg/kg
	 Cr 1.5 mg/kg _+  0.1 mg/kg
	 Mn 7.8 mg/kg _+  1.0 mg/kg
	 Zn 21.2 mg/kg _+  1.0 mg/kg
	 ขนาด 30 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1. 	ห้องปฏิบัติการทดสอบด้านอุตสาหกรรมอาหาร
	 	 สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณ
	 	 แคดเมียม โครเมียม แมงกานีส และสังกะสีได้
	 	 ในราคาถูก
	 	 2.	สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้อง
	 	 ของการวิเคราะห์ปริมาณ แคดเมียม โครเมียม
	 	 แมงกานีส และสังกะสี ให้กับห้องปฏิบัติการ
	 	 ทดสอบด้านอุตสาหกรรมอาหาร
44 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-2002: Trace and Essential Elements in
	 Prawn
เจ้าของผลงาน:	 ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/นางสาวอุษณา เที่ยงมณี
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างกุ้งที่ช่วงความเข้มข้น
       	 Cd 2.05 mg/kg _+  0.11 mg/kg
	 Cu 49 mg/kg _+  0.2 mg/kg
	 Pb 1.80 mg/kg _+  0.1 mg/kg
	 Zn 81 mg/kg _+  4 mg/kg
	 ขนาด 5 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 ห้องปฏิบัติการทดสอบด้านอุตสาหกรรมอาหาร
	 	 และการส่งออกกุ้ง สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับ
	 	 การหาปริมาณ แคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และสังกะสี
	 	 ได้ในราคาถูก
	 	 2.	สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ
	 	 วิเคราะห์ปริมาณ แคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และ
	 	 สังกะสี ให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบด้าน
	 	 อุตสาหกรรมอาหารและการส่งออกกุ้ง
45 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-2003: Arsenic in White Rice Flour
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองสารหนูในตัวอย่างข้าวที่ช่วงความเข้มข้น        
	 As 100 µg/kg _+  7 µg/kg ขนาด 25 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 1.	 ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านอาหาร สามารถ
	 	 ซื้อวัสดุอ้างอิงสำ�หรับการหาปริมาณสารหนูได้ใน
	 	 ราคาถูก              
	 	 2.	สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ
	 	 วิเคราะห์ปริมาณสารหนูให้กับห้องปฏิบัติการ
	 	 ทดสอบทางด้านอาหาร
46 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-5001: Total Malachite Green in Freeze
	 Dried Prawn
เจ้าของผลงาน:	 ดร.กิตติยา เชียร์แมน
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการวัดปริมาณยาปฏิชีวนะ
	 มาลาไคท์กรีนรวมในตัวอย่างกุ้งแช่เยือกแข็งที่ช่วงความเข้มข้น
	 18.35 µg/kg _+10.0 % relative ขนาด 5 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวัดปริมาณ
	 	 ยาปฏิชีวนะมาลาไคท์กรีนรวมในตัวอย่างกุ้งหรือปลา
	 	 และใช้เป็นตัวควบคุมคุณภาพ (QC) ตามประกาศ
	 	 ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง
	 	 สาธารณสุข ห้ามไม่ ให้มีการใช้ยาปฏิชีวนะ
	 	 มาลาไคท์กรีนในการเลี้ยงสัตว์น�้ำเพื่อเป็นอาหาร
47 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-5002: Aflatoxins in Peanut Butter
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.จีรพา บุญญคง
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงอะฟลาทอกซินในเนยถั่วประกอบด้วย
	 อะฟลาทอกซิน 4 ชนิดคือ AFB1 AFB2 AFG1 และ AFG2
	 ที่ช่วงความเข้มข้น 2-10 ng/g ค่าความไม่แน่นอนของ
	 การวัด 8 - 10 % relative ขนาด 30 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถใช้ส�ำหรับการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัด
	 	 หรือเป็นตัวอย่างควบคุมคุณภาพส�ำหรับการ
	 	 วิเคราะห์ปริมาณอะฟลาทอกซินที่ปนเปื้อนในน�้ำมันพืช
	 	 หรืออาหารประเภทถั่วที่มีน�้ำมันเป็นองค์ประกอบหลัก
48 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-5003: Melamine in Cracker
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.จีรพา บุญญคง
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองเมลามีนในตัวอย่างแครกเกอร์ ที่ช่วง
	 ความเข้มข้น 1.56 mg/kg _+  9% relative ขนาด 20 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ส�ำหรับการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัดหรือ
	 	 ใช้เป็นตัวอย่างควบคุมคุณภาพส�ำหรับการวิเคราะห์
	 	 ปริมาณเมลามีนในตัวอย่างอาหารที่มีนมเป็น
	 	 องค์ประกอบ ซึ่งคณะกรรมการอาหารและยา
	 	 ได้ก�ำหนดเกณฑความปลอดภัยของปริมาณ
	 	 สารเมลามีนในอาหารไว้ไมเกิน 2.5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
	 	 สําหรับอาหารที่มีนม หรือองคประกอบของนม
	 	 เปนสวนผสม
49 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-5004: Clenbuterol in Feed
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.กิตติยา เชียร์แมน
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการวัดปริมาณสารเร่งเนื้อแดง
	 เคลนบิวเตอรอลในอาหารสัตว์ที่ช่วงความเข้มข้น
	 71.9 µg/kg _+  5.5 % relative ขนาด 50 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวัด
	 	 ปริมาณสารเร่งเนื้อแดงเคลนบิวเตอรอลในอาหาร
	 	 สัตว์และใช้เป็นตัวควบคุมคุณภาพ (QC) ตามก�ำหนด
	 	 ในพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร  (พ.ศ.2551)
	 	 และพระราชบัญญัติอาหาร (2525) ไม่อนุญาตให้
	 	 มีการผสมยาสัตว์ในอาหารสัตว์การลักลอบผสมสาร
	 	 เร่งเนื้อแดงลงในอาหารสัตว์จึงเป็นเรื่องผิดกฎหมาย
50 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-5005: Salbutamol in Feed
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.กิตติยา เชียร์แมน
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการวัดปริมาณสารเร่งเนื้อแดง
	 ซาลบูตามอลในตัวอย่างอาหารสัตว์ที่ช่วงความเข้มข้น
	 79.5 µg/kg _+  14.2 % relative ขนาด 50 กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวัด
	 	 ปริมาณสารเร่งเนื้อแดงซาลบูตามอลในอาหาร
	 	 สัตว์และใช้เป็นตัวควบคุมคุณภาพ (QC) ตามก�ำหนด
	 	 ในพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร  (พ.ศ.2551)
	 	 และพระราชบัญญัติอาหาร (2525) ไม่อนุญาตให้
	 	 มีการผสมยาสัตว์ในอาหารสัตว์การลักลอบผสมสาร
	 	 เร่งเนื้อแดงลงในอาหารสัตว์จึงเป็นเรื่องผิดกฎหมาย
51 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-5006: Melamine in Milk Powder
	
เจ้าของผลงาน:	 ดร.จีรพา บุญญคง
	 กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองเมลามีนในตัวอย่างนมผง ที่ช่วงความ
	 เข้มข้น 1.03 mg/kg _+  16 % relative ขนาดบรรจุ 20
กรัม
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 ใช้ส�ำหรับการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธี
	 	 วัดหรือเป็นตัวอย่างควบคุมคุณภาพส�ำหรับ
	 	 การวิเคราะห์ปริมาณเมลามีนในตัวอย่างนม
	 	 ซึ่งคณะกรรมการอาหารและยาได้ก�ำหนดเกณฑ
	 	 ความปลอดภัยของปริมาณเมลามีนในนมไว้ไมเกิน
	 	 1 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
52 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6001: Moisture in Paddy
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 10% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
53 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6002: Moisture in Paddy
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 12% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
54 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6003: Moisture in Paddy
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 14% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
55 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6004: Moisture in Paddy
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 16% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
56 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6005: Moisture in Paddy
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 18% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
57 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6006: Moisture in Rice
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 10% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
58 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6007: Moisture in Rice
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 12% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
59 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6008: Moisture in Rice
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 14% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
60 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6009: Moisture in Rice
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 16% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
61 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-F-6010: Moisture in Rice
	
เจ้าของผลงาน:	 นางธสร สิงหะเนติ
	 กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น
	 ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม
	 ที่ความชื้น 18% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ
	 ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด
	 	 ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด
	 	 ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ
	 	 ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก
	 	 CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง
	 	 ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ
	 	 ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
62 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-S-1001: Pork DNA Solution
	
เจ้าของผลงาน:	 นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 วัสดุอ้างอิงมาตรฐานของดีเอ็นสุกรที่มีความบริสุทธิ์สูงและมี
	 การให้ค่าโดยใช้เครื่อง digital PCR ที่ช่วง 100,000 copy
	 number/µL _+  6,000 copy number/µL
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 - ใช้สำ�หรับเป็นสารมาตรฐาน เพื่อสร้างกราฟ
	 	 	 มาตรฐานในการหาความเข้มข้นเชิงปริมาณของ
	 	 	 ดีเอ็นเอสุกร              
	 	 -	 เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับการทำ�   Method   Validation
	       	-	 สามารถนำ�ไปใช้เป็น positive control
63 TRM ฉบับรวมเล่ม
ชื่อผลงาน:	 TRM-S-1002: MON810 Plasmid DNA
	
เจ้าของผลงาน:	 นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ
	 ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ
รายละเอียด:	 เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับหาปริมาณสารดัดแปรพันธุกรรม
	 ในตัวอย่างข้าวโพดสายพันธุ์ MON810 พลาสมิด
	 MON810 ที่ 1.04 copy number ratio  _+    0.061 copy
	 number ratio บรรจุปริมาตร 100 µL
การนำ�ไปใช้ประโยชน์:	 -	 เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับหาปริมาณสารดัดแปร
	 	 	 พันธุกรรมในตัวอย่างข้าวโพดสายพันธุ์ MON810
	 	 -	 เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับการทำ� Methodvalidation
	 	 -	 เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับเป็น positive control
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM
NIMT TRM

More Related Content

What's hot

Vandeemeter equation
Vandeemeter equationVandeemeter equation
Vandeemeter equation
Sonam Gandhi
 

What's hot (20)

4 Impurities.pdf
4 Impurities.pdf4 Impurities.pdf
4 Impurities.pdf
 
Gas Chromatography
Gas ChromatographyGas Chromatography
Gas Chromatography
 
Vandeemeter equation
Vandeemeter equationVandeemeter equation
Vandeemeter equation
 
PRINCIPLE , INSTRUMENTATION & APPLICATION OF SUPER CRITICAL FLUID CHROMATOGRAPHY
PRINCIPLE , INSTRUMENTATION & APPLICATION OF SUPER CRITICAL FLUID CHROMATOGRAPHYPRINCIPLE , INSTRUMENTATION & APPLICATION OF SUPER CRITICAL FLUID CHROMATOGRAPHY
PRINCIPLE , INSTRUMENTATION & APPLICATION OF SUPER CRITICAL FLUID CHROMATOGRAPHY
 
COMPARISION BETWEEN 1 H & 13 C NMR
COMPARISION  BETWEEN  1 H  & 13 C NMRCOMPARISION  BETWEEN  1 H  & 13 C NMR
COMPARISION BETWEEN 1 H & 13 C NMR
 
Polarimetry
Polarimetry Polarimetry
Polarimetry
 
nmr
nmrnmr
nmr
 
Super crtical fluid chromatography ppt
Super crtical fluid chromatography pptSuper crtical fluid chromatography ppt
Super crtical fluid chromatography ppt
 
Mpat presentation
Mpat presentationMpat presentation
Mpat presentation
 
APPLICATIONS OF GAS CHROMATOGRAPHY [APPLICATIONS OF GC] BY Prof. Dr. P.RAVISA...
APPLICATIONS OF GAS CHROMATOGRAPHY [APPLICATIONS OF GC] BY Prof. Dr. P.RAVISA...APPLICATIONS OF GAS CHROMATOGRAPHY [APPLICATIONS OF GC] BY Prof. Dr. P.RAVISA...
APPLICATIONS OF GAS CHROMATOGRAPHY [APPLICATIONS OF GC] BY Prof. Dr. P.RAVISA...
 
Soft and hard drugs
Soft and hard drugsSoft and hard drugs
Soft and hard drugs
 
Gas chromatography
Gas chromatographyGas chromatography
Gas chromatography
 
DSC & TGA Thermal Analysis.pptx
 DSC & TGA  Thermal Analysis.pptx DSC & TGA  Thermal Analysis.pptx
DSC & TGA Thermal Analysis.pptx
 
Counter current chromatography
Counter current chromatographyCounter current chromatography
Counter current chromatography
 
X-Ray Crystallography and Derivation of Braggs's law
X-Ray Crystallography and Derivation of Braggs's lawX-Ray Crystallography and Derivation of Braggs's law
X-Ray Crystallography and Derivation of Braggs's law
 
Seminar on nmr
Seminar on nmrSeminar on nmr
Seminar on nmr
 
Instrumentation of Thin Layer Chromatography
Instrumentation of Thin Layer ChromatographyInstrumentation of Thin Layer Chromatography
Instrumentation of Thin Layer Chromatography
 
Drug delivery system
Drug delivery systemDrug delivery system
Drug delivery system
 
Ion exchange chromatography .ppt
Ion exchange chromatography .pptIon exchange chromatography .ppt
Ion exchange chromatography .ppt
 
ChemDraw and its Features
ChemDraw and its FeaturesChemDraw and its Features
ChemDraw and its Features
 

More from NIMT

นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
NIMT
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
NIMT
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
NIMT
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
NIMT
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
NIMT
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
NIMT
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
NIMT
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
NIMT
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
NIMT
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
NIMT
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
NIMT
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
NIMT
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
NIMT
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
NIMT
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
NIMT
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
NIMT
 

More from NIMT (20)

Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)Iso iec 17025_2017(en)
Iso iec 17025_2017(en)
 
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
นวัตกรรมมาตรวิทยา 2561
 
Training Course NIMT
Training Course NIMTTraining Course NIMT
Training Course NIMT
 
Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017Annual report nimt 2017
Annual report nimt 2017
 
Illuminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their SuitabilityIlluminance Meter and their Suitability
Illuminance Meter and their Suitability
 
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุลNIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
NIMT Interview : ดร.ศักดา สมกุล
 
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาทีLeap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
Leap Second การปรับเวลาเพิ่มขึ้น 1 วินาที
 
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration SystemA Fully Automatic Multimeter Calibration System
A Fully Automatic Multimeter Calibration System
 
Torque Standards
Torque StandardsTorque Standards
Torque Standards
 
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer CalibrationsBasic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
Basic Principles of Radiation Thermometry and Thermometer Calibrations
 
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
Summary Report of the TCTP on Strengthening of Measurement Standards Institut...
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computingการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ Cloud Computing
 
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศมว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
มว.ร่วมมือผนึกกำลังถ่ายทอดเวลามาตรฐานผ่านทางสถานีวิทยุทั่วประเทศ
 
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig MuscleCCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
CCQM-K81 : Measurement of Chloramphenicol in Pig Muscle
 
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้าผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
ผลกระทบจาก Loading Effect ที่มีต่อความถูกต้องของการวัดกำลังไฟฟ้า
 
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัยมว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
มว.เร่งเดินหน้าฟื้นฟูห้องปฏิบัติการสอบเทียบหลังมหาอุทกภัย
 
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015 มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
มาตรวิทยา...บันไดสู่อาเซียน 2015
 
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554 งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
งานเทคโนโลยีและนวัตกรรมของไทย 2554
 
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทยผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ จากมาตรวิทยาเคมีต่ออุตสาหกรรมน้ำตาลทรายในประเทศไทย
 
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
การแยกโปรตีนให้บริสุทธิ์ [Protein Purication]
 

NIMT TRM

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 4. TRM ฉบับรวมเล่ม2 TRM (Thailand Reference Material) Thailand Reference Material (TRM) คือชื่อทางการค้าของวัสดุ อ้างอิงรับรองที่ผลิตโดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ หรือหน่วยงานอื่นภายใน ประเทศที่สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติมอบหมาย โดยกระบวนการผลิต TRM เป็นไปตามข้อก�ำหนด ISO 17034: General requirements for the competence of reference material producers และ ISO GUIDE 35: Reference materials-Guidance for characterization and assessment of homogeneity and stability TRM สามารถสอบกลับได้ทางมาตรวิทยา (Traceable) ไปยัง SI Units ซึ่งในทางเคมีคือ หน่วย Mole (mol) โดยผ่าน การให้ค่าจากห้องปฏิบัติการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ซึ่งได้ผ่านการเปรียบเทียบ ความสามารถในการวัดกับห้องปฏิบัติการสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติของ ประเทศที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติเช่น สหรัฐอเมริกา เยอรมันนี และญี่ปุ่น เป็นต้น วัสดุอ้างอิงรับรองเป็นวัสดุหรือสารมาตรฐานที่มีความเป็น เนื้อเดียว มีความเสถียรและมีใบรับรองค่าของคุณสมบัติที่เราสนใจ พร้อมแสดง ค่าความไม่แน่นอนของผลการวัดและระบุการสอบกลับได้ของผลการวัด วัสดุอ้างอิง/วัสดุอ้างอิงรับรองเป็นส่วนหนึ่งที่มีความส�ำคัญต่อ ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์และทดสอบ ใช้ส�ำหรับ1) สอบเทียบเครื่องมือ2) ตรวจสอบ ความใช้ได้/ยืนยันความถูกต้องของวิธีทดสอบ และ 3) ควบคุมคุณภาพของวิธี การทดสอบ ท�ำให้ห้องปฏิบัติการของประเทศไทยสามารถวิเคราะห์ทดสอบได้ อย่างถูกต้องและมีคุณภาพตามมาตรฐานตามระบบสากล
  • 5. TRM ฉบับรวมเล่ม3 ในปัจจุบันพบว่า ห้องปฏิบัติการทดสอบ/สอบเทียบ ที่มีอยู่ในไทย จ�ำนวนมากกว่า 1,000 แห่ง ต้องใช้วัสดุอ้างอิงในกระบวนการทดสอบ เพื่อ ใช้ในการยืนยันวิธีการวิเคราะห์และทดสอบ หรือแม้กระทั่งใช้ในการตรวจสอบ เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจวัดค่า และโดยส่วนใหญ่ต้องน�ำเข้าวัสดุอ้างอิง จากต่างประเทศ ซึ่งมีราคาแพงและต้องใช้ระยะเวลานานในการสั่งซื้อหรือ น�ำเข้า เมื่อเราสามารถผลิตได้เองในประเทศย่อมเป็นประโยชน์แก่ประเทศและ ลดการน�ำเข้าวัสดุอ้างอิง/วัสดุอ้างอิงรับรองจากต่างประเทศ และ มว. ก็เป็น หน่วยงานระดับชาติที่มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ซึ่งจะเป็นการ สร้างความน่าเชื่อถือ และความเชื่อมั่นในผลการวัดให้ประเทศต่างๆ อีกด้วย ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพได้ผลิตวัสดุอ้างอิง เพื่อรองรับความ ต้องการของภาครัฐและภาคเอกชนต่างๆ อย่างต่อเนื่อง และใช้ชื่อว่า TRM ขณะนี้ TRM ได้รับการขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทยในปี 2559 จ�ำนวน 48 รายการ ในปัจจุบันสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติผลิตวัสดุอ้างอิงรับรองจ�ำนวน 102 รายการ โดยแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ดังนี้ 1. วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางเคมีคลีนิค: Clinic 2. วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางด้านสิ่งแวดล้อม: Environment 3. วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางอาหาร: Food 4. วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการตรวจวัดทางวัสดุ: Material 5. วัสดุอ้างอิงรับรองสารมาตรฐาน: Standard
  • 6. TRM ฉบับรวมเล่ม4 No. Code Description 1 TRM-C-2001 Elements in Human Serum Page 13 2 TRM-C-3010 Ethanol in Air Page 14 3 TRM-C-5001* Total Cholesterol in Frozen Page 15 Human Serum 4 TRM-E-2001* Elements in Soil Page 19 5 TRM-E-2002 Trace Elements in Water Page 20 6 TRM-E-2003 Mercury in Water Page 21 7 TRM-E-3010* Oxygen in Nitrogen Page 22 8 TRM-E-3011* Oxygen in Nitrogen Page 23 9 TRM-E-3020* Carbon Dioxide in Nitrogen Page 24 10 TRM-E-3021 Carbon Dioxide in Nitrogen Page 25 11 TRM-E-3030* Methane in Nitrogen Page 26 12 TRM-E-3031* Methane in Nitrogen Page 27 13 TRM-E-3032 Methane in Air Page 28 14 TRM-E-3033 Methane in Nitrogen Page 29 15 TRM-E-3040 CO in Air Page 30 16 TRM-E-3050 Sulfur Dioxide in Nitrogen Page 31 17 TRM-E-3061 Propane in Nitrogen Page 32 18 TRM-E-3062 Propane in Nitrogen Page 33 19 TRM-E-3063 Propane in Air Page 34 20 TRM-E-3070 Nitrogen Monoxide in Nitrogen Page 35 21 TRM-E-5001 Organochlorine Pesticides in Soil Page 36
  • 7. TRM ฉบับรวมเล่ม5 No. Code Description 22 TRM-F-1001 Pure Pork Meat Page 41 23 TRM-F-1002 Pure Beef Meat Page 42 24 TRM-F-2001* Elements in Glutinous Rice Powder Page 43 25 TRM-F-2002* Trace and Essential Elements Page 44 in Prawn 26 TRM-F-2003 Arsenic in White Rice Flour Page 45 27 TRM-F-5001* Total Malachite Green in Page 46 Freeze Dried Prawn 28 TRM-F-5002* Aflatoxins in Peanut Butter Page 47 29 TRM-F-5003* Melamine in Cracker Page 48 30 TRM-F-5004 Clenbuterol in Feed Page 49 31 TRM-F-5005 Salbutamol in Feed Page 50 32 TRM-F-5006 Melamine in Milk Powder Page 51 33 TRM-F-6001 Moisture in Paddy Page 52 34 TRM-F-6002 Moisture in Paddy Page 53 35 TRM-F-6003 Moisture in Paddy Page 54 36 TRM-F-6004 Moisture in Paddy Page 55 37 TRM-F-6005 Moisture in Paddy Page 56 38 TRM-F-6006 Moisture in Rice Page 57 39 TRM-F-6007 Moisture in Rice Page 58 40 TRM-F-6008 Moisture in Rice Page 59 41 TRM-F-6009 Moisture in Rice Page 60
  • 8. TRM ฉบับรวมเล่ม6 No. Code Description 42 TRM-F-6010 Moisture in Rice Page 61 43 TRM-M-2001* Elements in Acrylonitrile Butadiene Page 81 Styrene (ABS) Plastic, Low Levels 44 TRM-M-2002 Elements in Acrylonitrile Butadiene Page 82 Styrene (ABS) Plastic, High Levels 45 TRM-S-1001 Pork DNA Solution Page 62 46 TRM-S-1002 MON810 Plasmid DNA Page 63 47 TRM-S-1003 Enzyme α-amylase Page 64 48 TRM-S-2001* Secondary pH Standards Page 88 TRM-S-2001s* Secondary pH Standards 49 TRM-S-2002* Secondary pH Standards Page 89 TRM-S-2002s* Secondary pH Standards 50 TRM-S-2003* Secondary pH Standards Page 90 TRM-S-2003s* Secondary pH Standards 51 TRM-S-2004* Secondary pH Standards Page 91 TRM-S-2004s* Secondary pH Standards 52 TRM-S-2005* Secondary pH Standards Page 92 TRM-S-2005s* Secondary pH Standards 53 TRM-S-2006* Secondary pH Standards Page 93 TRM-S-2006s* Secondary pH Standards 54 TRM-S-2007* Secondary pH Standards Page 94 TRM-S-2007s* Secondary pH Standards
  • 9. TRM ฉบับรวมเล่ม7 No. Code Description 55 TRM-S-2008* Secondary pH Standards Page 95 TRM-S-2008s* Secondary pH Standards 56 TRM-S-2009* Potassium Dichromate Standard Page 96 Solution 57 TRM-S-2010* Potassium Iodide Standard Solution Page 97 58 TRM-S-2011* Zinc Standard Solution Page 98 59 TRM-S-2012* Cadmium Standard Solution Page 99 60 TRM-S-2013* Chloride Standard Solution Page 100 61 TRM-S-2014* Sodium Standard Solution Page 101 62 TRM-S-2015 Arsenic Standard Solution Page 102 63 TRM-S-2016 pH of ethanol Page 103 64 TRM-S-2017 Secondary Electrolytic Conductivity Page 104 Solution (0.001 mol/l KCl) 65 TRM-S-2018* Secondary Electrolytic Conductivity Page 105 Solution (0.1 mol/l KCl) 66 TRM-S-2019* Secondary Electrolytic Conductivity Page 106 Solution (0.01 mol/l KCl) 67 TRM-S-2020 (Primary) Phthalate buffer Solution Page 107 68 TRM-S-2021 (Primary) Phosphate buffer Solution Page 108 69 TRM-S-2022 (Primary) Borate buffer Solution Page 109 70 TRM-S-2023 Electrolytic conductivity of ethanol Page 110
  • 10. TRM ฉบับรวมเล่ม8 No. Code Description 71 TRM-S-5001* Sucrose Standard Solution Page 65 72 TRM-S-5002* Sucrose Standard Solution Page 66 73 TRM-S-5003* Sucrose Standard Solution Page 67 74 TRM-S-5004* Sucrose Standard Solution Page 68 75 TRM-S-5005* Sucrose Standard Solution Page 69 76 TRM-S-5006* Sucrose Standard Solution Page 70 77 TRM-S-5007* Benzene in Methanol Page 111 78 TRM-S-5008* Ethylbenzene in Methanol Page 112 79 TRM-S-5009* Toluene in Methanol Page 113 80 TRM-S-5010* o -Xylene in Methanol Page 114 81 TRM-S-5011* m -Xylene in Methanol Page 115 82 TRM-S-5012* p -Xylene in Methanol Page 116 83 TRM-S-5013* Organochlorine Pesticide Mix set 1 Page 117 84 TRM-S-5014* Organophosphate Pesticide Mix set 1 Page 118 85 TRM-S-5015* Organophosphate Pesticide Mix set 2 Page 119 86 TRM-S-5016* Acaricide Pesticide Mix set 1 Page 120 87 TRM-S-5017* Carbamate Pesticide Mix set 1 Page 121 88 TRM-S-5018* Pyrethroid Pesticide Mix set 1 Page 122 89 TRM-S-5019* Organophosphate Pesticide Mix set 3 Page 123 90 TRM-S-5020 Organophosphate Pesticide Mix set 4 Page 124 91 TRM-S-5021 Organochlorine Pesticide Mix set 2 Page 125 92 TRM-S-5022 Pyrethroid Pesticide Mix set 2 Page 126
  • 11. TRM ฉบับรวมเล่ม9 No. Code Description 93 TRM-S-5023 Organophosphate Pesticide Mix set 5 Page 127 94 TRM-S-5024 Acaricide Pesticide Mix set 2 Page 128 95 TRM-S-5025 Insecticide Pesticide Mix set 1 Page 129 96 TRM-S-5026 Sucrose Standard Solution Page 71 97 TRM-S-5027 Sucrose Standard Solution Page 72 98 TRM-S-5028 Sucrose Standard Solution Page 73 99 TRM-S-5029 Sucrose Standard Solution Page 74 100 TRM-S-5030 Sucrose Standard Solution Page 75 101 TRM-S-5031 Sucrose Standard Solution Page 76 102 TRM-S-5032 Sucrose Standard for Optical Page 77 Measurements *TRM ได้รับการขึ้นทะเบียนบัญชีนวัตกรรมไทยในปี 2559
  • 13. 11 TRM ฉบับรวมเล่ม วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการตรวจวัดทางเคมีคลีนิค: Clinic โดยทั่วไปห้องปฏิบัติการทางการแพทย์จะวัดไบโอมาร์คเกอร์ในสารคัดหลั่ง จากร่างกายโดยเฉพาะในตัวอย่างเลือดเป็นประจ�ำ ซึ่งค่าจากการวัดจะถูก น�ำไปใช้ประกอบการวินิจฉัยโรค การรักษา และตรวจติดตามผลการรักษา อย่างไรก็ดีการวัดไบโอมาร์คเกอร์ ให้มีความน่าเชื่อถือไม่สามารถท�ำได้อย่าง ตรงไปตรงมา ค่าที่ได้จากการวัดอาจมีการเบี่ยงเบนจากค่าจริง โดยได้รับผล จากการสอบเทียบเครื่องมือ ความไม่เสถียรของไบโอมาร์คเกอร์ ความจ�ำเพาะ ของวิธี หรือแม้แต่จากพันธุกรรมของผู้ป่วย ดังนั้น การขาดการปรับเทียบ มาตรฐานจะท�ำให้การเปรียบเทียบผลการวัดจากต่างโรงพยาบาล หรือแม้แต่ การวัดที่โรงพยาบาลเดียวกันแต่ต่างเวลาเป็นไปได้ยาก การท�ำให้ผลการวัดจาก ห้องปฏิบัติการทางการแพทย์สามารถเปรียบเทียบกันได้ จะต้องอาศัยปัจจัย หลายปัจจัยได้แก่ การปรับเทียบมาตรฐาน (standardization) การใช้วิธี วัดมาตรฐาน (reference method) และการใช้วัสดุอ้างอิง (reference materials) เป็นต้น สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ได้วิจัยและพัฒนาวิธีมาตรฐานและผลิต วัสดุอ้างอิง วัสดุอ้างอิงรับรอง เพื่อสนับสนุนให้การปรับเทียบมาตรฐานการวัด ทางการแพทย์ของประเทศมีความถูกต้อง แม่นย�ำ และสามารถเปรียบเทียบ ผลการวัดได้ ซึ่งจะสามารถลดการสูญเสียงบประมาณในการรักษาผู้ป่วยจาก การวินิจฉัยโรคผิดพลาดจากค่าการวัดที่ไม่ถูกต้อง ลดการน�ำเข้าวัสดุอ้างอิง จากต่างประเทศ ซึ่งจะช่วยลดค่าใช้จ่ายของภาครัฐในการตรวจคัดกรองโรค และตรวจติดตามโรค ได้กว่า 20 ล้านบาทต่อปี
  • 14. 12 TRM ฉบับรวมเล่ม No. Code Description 1 TRM-C-2001 Elements in Human Serum 2 TRM-C-3010 Ethanol in Air 3 TRM-C-5001 Total Cholesterol in Frozen Human Serum TRM ในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วย
  • 15. 13 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-C-2001: Elements in Human Serum เจ้าของผลงาน: ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองธาตุในตัวอย่างซีรัมแช่เยือกแข็งช่วง ความเข้มข้น Ca 92.9 mg/kg _+ 6.3 mg/kg K 168 mg/kg _+ 11 mg/kg Mg 21.8 mg/kg _+ 1.3 mg/kg ขนาด 4 มิลลิลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบด้านการแพทย์ สามารถ ซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณแคลเซียม โพแทสเซียมและแมกนีเซียมได้ในราคาถูก 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ วิเคราะห์ปริมาณแคลเซียม โพแทสเซียมและ แมกนีเซียมให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบ ด้านการแพทย์
  • 16. 14 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-C-3010: Ethanol in Air Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นายอาณัฐชัย วงค์จักร์/นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซ ผสมเอทานอลในอากาศ ช่วงความเข้มข้น 100-200 µmol/mol _+ 1% relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณเอทานอล ในลมหายใจ 2. เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมเอทานอลในอากาศสร้างการ สอบกลับได้ของผลการวัด 3. เพื่อใช้สำ�หรับตรวจสอบความใช้ได้/ยืนยันความ ถูกต้องของวิธีทดสอบ 4. เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณเอทานอล ในเลือดโดยวิธีเป่าลมหายใจ
  • 17. 15 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-C-5001: Total Cholesterol in Frozen Human Serum เจ้าของผลงาน: ดร.จินตนา นามมูลน้อย กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองคอเลสเตอรอลรวมในตัวอย่างซีรัม แช่เยือกแข็งที่ช่วงความเข้มข้น 2.05 mg/kg _+ 6.0 % relative ขนาด 4 มิลลิลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สำ�หรับใช้ในการทวนสอบวิธีวัดคอเลสเตอรอลรวม ในตัวอย่างซีรัม โดยปกติระดับคอเลสเตอรอลใน ซีรัมจะมีค่าดังนี้ ระดับที่ต้องการ:น้อยกว่า200mg/dL (ถือว่าเหมาะสม) ระดับปานกลาง:200-239 mg/dL (เริ่มอันตราย) ระดับสูง:มากกว่า 240 mg/dL (อันตรายมาก)
  • 19. วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการตรวจวัดทางด้านสิ่งแวดล้อม: Environment ในปัจจุบันนี้โลกได้มีการพัฒนาขึ้นอย่างต่อเนื่อง มีการใช้ทรัพยากรทาง ธรรมชาติอย่างมากมาย ส่งผลให้มีการลดลงของทรัพยากรและก่อให้เกิดมลพิษ ในสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นทางด้านอากาศ บนพื้นดิน หรือแม้กระทั่งในน�้ำ ส�ำหรับประเทศไทยในปัจจุบันได้เผชิญกับปัญหาสิ่งแวดล้อมทางด้านอากาศ และทางน�้ำไม่ว่าจะเป็น คุณภาพน�้ำผิวดิน น�้ำบาดาลเสื่อมโทรม ปนเปื้อน โลหะหนัก บ�ำบัดน�้ำเสียท�ำได้แค่ 45.13% กากอุตสาหกรรมไม่ได้รับการก�ำจัด 55.26% ส่วนคุณภาพอากาศนั้น ก๊าซโอโซนยังสูง แต่ค่าฝุ่นขนาด PM10 มีค่า เกินกว่าค่ามาตรฐาน และมีการปล่อยก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ ขณะที่สาร อินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ในบรรยากาศพบว่า มีการตรวจพบค่าที่เกินกว่า ค่ามาตรฐาน 3 พารามิเตอร์ ได้แก่ Benzene, Butadiene และ Chloroethane หากประเมินกรณีเลวร้ายสุดอาจจะเกิดความรุนแรงกว่านี้อีกมาก สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ ได้พัฒนามาตรฐานการวัดสู่การพัฒนา ศักภาพของห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม อันเป็นการช่วยให้ผล การวัดจากห้องปฏิบัติการเหล่านั้นมีความถูกต้อง สามารถสอบกลับได้ทาง มาตรวิทยา และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ จะพัฒนามาตรฐานวิธีการวัดที่เกี่ยวข้องกับสารปนเปื้อนที่อยู่ในอากาศ ในดิน และในน�้ำ ผลิตวัสดุอ้างอิงรับรองทางด้านการทดสอบทางสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วย ให้ผู้ประกอบการน�ำไปใช้ และสร้างความมั่นใจในการวัด ก๊าซผสมมาตรฐานที่ผลิตจะรองรับงานในกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ ในการทดสอบประสิทธิภาพการเผาไหม้เครื่องยนต์ กลุ่มอุตสาหกรรมที่มี การใช้เตาเผาในกระบวนการผลิต กลุ่มอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ในการควบคุม ปริมาณการปล่อยก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ หน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมภาครัฐ และเอกชน 17 TRM ฉบับรวมเล่ม
  • 20. 18 TRM ฉบับรวมเล่ม No. Code Description 1 TRM-E-2001 Elements in Soil 2 TRM-E-2002 Trace Elements in Water 3 TRM-E-2003 Mercury in Water 4 TRM-E-3010 Oxygen in Nitrogen 5 TRM-E-3011 Oxygen in Nitrogen 6 TRM-E-3020 Carbon Dioxide in Nitrogen 7 TRM-E-3021 Carbon Dioxide in Nitrogen 8 TRM-E-3030 Methane in Nitrogen 9 TRM-E-3031 Methane in Nitrogen 10 TRM-E-3032 Methane in Air 11 TRM-E-3033 Methane in Nitrogen 12 TRM-E-3040 CO in Air 13 TRM-E-3050 Sulfur Dioxide in Nitrogen 14 TRM-E-3061 Propane in Nitrogen 15 TRM-E-3062 Propane in Nitrogen 16 TRM-E-3063 Propane in Air 17 TRM-E-3070 Nitrogen Monoxide in Nitrogen 18 TRM-E-5001 Organochlorine Pesticides in Soil TRM ในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วย
  • 21. 19 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-2001: Elements in Soil เจ้าของผลงาน: นางสาวอุษณา เที่ยงมณี/นางสาวปราณี พฤกพัฒนาชัย กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างดินที่ช่วงความเข้มข้น Cd 0.85 mg/kg _+ 0.10 mg/kg Cu 27.7 mg/kg _+ 2.1 mg/kg Ni 43.7 mg/kg _+ 2.8 mg/kg Pb 29.5 mg/kg _+ 1.9 mg/kg Zn 69.6 mg/kg _+ 7.8 mg/kg ขนาด 30 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณแคดเมียม ทองแดง นิกเกิล ตะกั่ว และสังกะสีได้ในราคาถูก 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของ การวิเคราะห์ปริมาณแคดเมียม ทองแดง นิกเกิล ตะกั่ว และสังกะสีให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้าน สิ่งแวดล้อม
  • 22. 20 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-2002: Trace Elements in Water เจ้าของผลงาน: ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย/นางสาวอุษณา เที่ยงมณี กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างน้ำ�ที่ช่วงความเข้มข้น Cd 0.0050 mg/kg _+ 0.0003 mg/kg Cu 0.504 mg/kg _+ 0.011 mg/kg Pb 0.061 mg/kg _+ 0.004 mg/kg Zn 0.632 mg/kg _+ 0.018 mg/kg ขนาด 100 มิลลิลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อมสามารถ ซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณแคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และสังกะสีได้ในราคาถูก 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ วิเคราะห์ปริมาณแคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และ สังกะสี ให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้าน สิ่งแวดล้อม
  • 23. 21 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-2003: Mercury in Water เจ้าของผลงาน: ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองปรอทในตัวอย่างน้ำ�ที่ช่วงความเข้มข้น Hg 528 ng/kg _+ 41 ng/kg ขนาด 10 มิลลิลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณปรอท ได้ในราคาถูก 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของ การวิเคราะห์ปริมาณปรอทให้กับห้องปฏิบัติการ ทดสอบทางด้านสิ่งแวดล้อม
  • 24. 22 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3010: Oxygen in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม ออกซิเจนในไนโตรเจน ช่วงความเข้มข้น 1 - 30 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.25 - 0.45 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณออกซิเจน ในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวิเคราะห์ปริมาณ ออกซิเจน 3. เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัดปริมาณ ออกซิเจนในบรรยากาศในพื้นที่อับอากาศหรือ พื้นที่เสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย
  • 25. 23 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3011: Oxygen in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม ออกซิเจนในไนโตรเจน ช่วงความเข้มข้น 2 - 30 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.5 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณออกซิเจน ในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวิเคราะห์ปริมาณ ออกซิเจน 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด ปริมาณของออกซิเจนในบรรยากาศในพื้นที่อับ อากาศหรือพื้นที่เสี่ยงในการเกิดอัคคีภัย
  • 26. 24 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3020: Carbon Dioxide in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม คาร์บอนไดออกไซด์ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 1 - 15 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ ในการควบคุมการปล่อย ก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ ในเตาเผาในการควบคุม ประสิทธิภาพการเผาไหม้ 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในอุตสาหกรรมอาหารและน�้ำดื่ม
  • 27. 25 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3021: Carbon Dioxide in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม คาร์บอนไดออกไซด์ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 0.5 - 20 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ ในการควบคุมการปล่อย ก๊าซมลพิษสู่บรรยากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ ในเตาเผาในการควบคุม ประสิทธิภาพการเผาไหม้ 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนไดออกไซด์ในอุตสาหกรรมอาหารและน�้ำดื่ม
  • 28. 26 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3030: Methane in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม มีเทนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น1-15cmol/molค่าความ ไม่แน่นอนของการวัด 0.35 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณ มีเทนในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณมีเทน ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ มีเทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้
  • 29. 27 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3031: Methane in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม มีเทนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น1-10cmol/molค่าความ ไม่แน่นอนของการวัด 0.7 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณ มีเทนในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ มีเทนในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ มีเทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้
  • 30. 28 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3032: Methane in Air Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม มีเทนในอากาศช่วงความเข้มข้น0.5-10cmol/mol ค่าความ ไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณมีเทน ในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณมีเทน ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ 3. เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ มีเทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้ 4. เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัปริมาณ การรั่วไหลของก๊าซมีเทนในบรรยากาศ ในพื้นที่เสี่ยง เกิดอัคคีภัย
  • 31. 29 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3033: Methane in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม มีเทนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 100 - 1000 µmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.7 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณ มีเทนในไนโตรเจนหรือในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณมีเทน ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ มีทนในการประเมินประสิทธิภาพการเผาไหม้
  • 32. 30 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3040: Carbon Monoxide in Air Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม คาร์บอนมอนอกไซด์ในอากาศช่วงความเข้มข้น 50 - 5000 µmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนมอนอกไซด์ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ คาร์บอนมอนอกไซด์ ในการประเมินประสิทธิภาพ การเผาไหม้ 3. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด ปริมาณการรั่วไหลคาร์บอนมอนอกไซด์ในบรรยากาศ
  • 33. 31 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3050: Sulfur Dioxide in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: ดร.บรรฑูรย์ ละอองศรี/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น500-2000 µmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.5 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ 2. เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด ปริมาณซัลเฟอร์ไดออกไซด์ที่ระบายออกจากโรงงาน เช่น โรงงานผลิตแก้วและกระจก โรงกลั่นน�้ำมัน ปิโตรเลียม โรงงานปูนซีเมนต์ โรงงานผลิตพลังงาน ไฟฟ้า เป็นต้น
  • 34. 32 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3061: Propane in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม โพรเพนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 200 - 5000 µmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 0.5 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณโพรเพน ในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมโพรเพนในอากาศสร้างการสอบ กลับได้ของผลการวัด 3. เพื่อใช้ส�ำหรับตรวจสอบความใช้ได้/ยืนยัน ความถูกต้องของวิธีทดสอบ 4. เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณโพรเพน
  • 35. 33 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3062: Propane in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม โพรเพนในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 0.5 - 10 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณโพรเพน ในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมโพรเพนในอากาศสร้างการ สอบกลับได้ของผลการวัด 3. เพื่อใช้ส�ำหรับตรวจสอบความใช้ได้/ยืนยัน ความถูกต้องของวิธีทดสอบ 4. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณโพรเพน
  • 36. 34 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3063: Propane in Air Gas Mixture เจ้าของผลงาน: นางสาวรติรัตน์ สินวีรุทัย/นายอาณัฐชัย วงค์จักร์ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม โพรเพนใน อากาศช่วงความเข้มข้น 0.5 - 10 cmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อเพิ่มคุณภาพของผลการวัดค่าปริมาณโพรเพน ในบรรยากาศ 2. เพื่อใช้ให้ค่าก๊าซผสมโพรเพนในอากาศสร้างการ สอบกลับได้ของผลการวัด 3. เพื่อใช้สำ�หรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณโพรเพน 4. เพื่อใช้สำ�หรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด ปริมาณการรั่วไหลของโพรเพนในบรรยากาศในพื้นที่ จัดเก็บหรือติดตั้งก๊าซปิโตรเลี่ยมเหลว
  • 37. 35 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-3070: Nitrogen Monoxide in Nitrogen Gas Mixture เจ้าของผลงาน: ดร.บรรฑูรย์ ละอองศรี/นายโสภณรัตน์ รัตนสมบัติ กลุ่มงานวิเคราะห์ก๊าซ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: ก๊าซผสมมาตรฐานเป็นวัสดุอ้างอิงรับรองชนิดก๊าซผสม ไนโตรเจนมอนอกไซด์ ในไนโตรเจนช่วงความเข้มข้น 1 - 10 mmol/mol ค่าความไม่แน่นอนของการวัด 1.0 % relative ขนาด 10 ลิตร การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. เพื่อใช้ส�ำหรับสอบเทียบเครื่องวัดปริมาณ ไนโตรเจนมอนอกไซด์ในการตรวจติดตามคุณภาพอากาศ 2.เพื่อใช้ส�ำหรับการสอบเทียบเครื่องตรวจวัด ปริมาณออกไซด์ของไนโตรเจน (NOx) ในรูป ไนโตรเจนมอนอกไซด์ที่ระบายออกจากโรงงาน เช่น โรงงานผลิตแก้วและกระจก โรงกลั่นน�้ำมัน ปิโตรเลียม โรงงานปูนซีเมนต์ โรงงานผลิตพลังงาน ไฟฟ้า เป็นต้น
  • 38. 36 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-E-5001: Organochlorine pesticides (OCPs) in soil (Endosulfan II and Endosulfan sulfate) เจ้าของผลงาน: นางสาวนิตยา สุดศิริ กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการวัดสารกำ�จัดศัตรูพืช ประเภท ออร์กาโนคลอรีนที่ปนเปื้อนในตัวอย่างดิน ที่ช่วงความเข้มข้น Endosulfan II 0.43 mg/kg _+ 14 % relative Endosulfan sulfate 0.56 mg/kg _+ 15 % relative ขนาด 30 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีการวัด สารก�ำจัดศัตรูพืช ประเภทออร์กาโนคลอรีนที่ปน เปื้อนในตัวอย่างดิน อีกทั้งยังใช้เป็น QC ส�ำหรับ การวิเคราะห์ สารก�ำจัดศัตรูพืช ประเภทออร์กาโน คลอรีนที่ปนเปื้อนในตัวอย่างดิน
  • 40. 38 TRM ฉบับรวมเล่ม วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการตรวจวัดทางอาหาร: Food อาหารเป็นปัจจัยส�ำคัญต่อการด�ำรงชีวิต ร่างกายจะเจริญเติบโตมีสุขภาพ ที่สมบูรณ์เมื่อได้รับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการครบถ้วน ถูกสุขลักษณะ และเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ไม่มีสารพิษหรือสิ่งเจือปน ที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย ส�ำหรับประเทศไทย อุตสาหกรรมอาหารถือเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมที่ มีขีดความสามารถในการสร้างรายได้และการส่งออกสูง โดยในปี 2558 ภาพรวม มูลค่าส่งออกอาหารแปรรูปไทยอยู่ที่ 17,322.36 ล้านเหรียญสหรัฐฯ และไทย นับเป็นผู้ส่งออกอาหารแปรรูปรายใหญ่อันดับ 10 ของโลก ดังนั้น การสร้าง ความมั่นใจให้ผู้บริโภคและประเทศคู่ค้าด้านอาหารจึงเป็นภารกิจส�ำคัญของ รัฐบาล สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติได้พัฒนามาตรฐานการวัดสู่การพัฒนา ศักยภาพห้องปฏิบัติการทดสอบอาหารเพื่อคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจที่ยั่งยืน อันเป็นการเพิ่มความเชื่อมั่นแก่ผู้บริโภคอาหารว่าผลการวัดจากห้องปฏิบัติการ ทดสอบอาหารมีความถูกต้องน่าเชื่อถือสามารถสอบกลับได้ทางมาตรวิทยา และเป็นที่ยอมรับในระดับสากล โดยสถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติจะพัฒนามาตรฐาน วิธีการวัดที่เกี่ยวข้องกับอาหาร ผลิตวัสดุอ้างอิงรับรองด้านการทดสอบอาหาร ทั้งทางด้านการวิเคราะห์อินทรีย์เคมี อนินทรีย์เคมี และการวัดวิเคราะห์ในระดับ ชีวภาพ รวมถึงการวัดปริมาณสารปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์ฮาลาล เพื่อสนับสนุน ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมอาหารเพื่อการส่งออกของไทย และสร้างความมั่นใจ ให้แก่ผู้บริโภค อีกทั้งจัดโปรแกรมการเปรียบเทียบผลการวัดหรือทดสอบ ความช�ำนาญในประเทศ เพื่อพัฒนาและทดสอบความสามารถด้านการวัดของ ห้องปฏิบัติการทดสอบอาหาร
  • 41. 39 TRM ฉบับรวมเล่ม No. Code Description 1 TRM-F-1001 Pure Pork Meat 2 TRM-F-1002 Pure Beef Meat 3 TRM-F-2001 Elements in Glutinous Rice Powder 4 TRM-F-2002 Trace and Essential Elements in Prawn 5 TRM-F-2003 Arsenic in White Rice Flour 6 TRM-F-5001 Total Malachite Green in Freeze Dried Prawn 7 TRM-F-5002 Aflatoxins in Peanut Butter 8 TRM-F-5003 Melamine in Cracker 9 TRM-F-5004 Clenbuterol in Feed 10 TRM-F-5005 Salbutamol in Feed 11 TRM-F-5006 Melamine in Milk Powder 12 TRM-F-6001 Moisture in Paddy 13 TRM-F-6002 Moisture in Paddy 14 TRM-F-6003 Moisture in Paddy 15 TRM-F-6004 Moisture in Paddy 16 TRM-F-6005 Moisture in Paddy 17 TRM-F-6006 Moisture in Rice 18 TRM-F-6007 Moisture in Rice 19 TRM-F-6008 Moisture in Rice TRM ในกลุ่มนี้ประกอบไปด้วย
  • 42. 40 TRM ฉบับรวมเล่ม No. Code Description 20 TRM-F-6009 Moisture in Rice 21 TRM-F-6010 Moisture in Rice 22 TRM-S-1001 Pork DNA Solution 23 TRM-S-1002 MON810 Plasmid DNA 24 TRM-S-1003 Enzyme α-amylase 25 TRM-S-5001 Sucrose Standard Solution 26 TRM-S-5002 Sucrose Standard Solution 27 TRM-S-5003 Sucrose Standard Solution 28 TRM-S-5004 Sucrose Standard Solution 29 TRM-S-5005 Sucrose Standard Solution 30 TRM-S-5006 Sucrose Standard Solution 31 TRM-S-5026 Sucrose Standard Solution 32 TRM-S-5027 Sucrose Standard Solution 33 TRM-S-5028 Sucrose Standard Solution 34 TRM-S-5029 Sucrose Standard Solution 35 TRM-S-5030 Sucrose Standard Solution 36 TRM-S-5031 Sucrose Standard Solution 37 TRM-S-5032 Sucrose Standard for Optical Measurements
  • 43. 41 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-1001: Pure Pork Meat เจ้าของผลงาน: นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงเนื้อสุกร 100% ขนาด 1 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: - เป็นสารมาตรฐานในการหาปริมาณดีเอ็นเอสุกร - เป็นสารมาตรฐานส�ำหรับเป็น positive control ในการตรวจวัดการปนเปื้อนเนื้อสุกรในผลิตภัณฑ์ ฮาลาล
  • 44. 42 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-1002: Pure Beef Meat เจ้าของผลงาน: นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงเนื้อวัว ความบริสุทธิ์มากกว่า 99.88% ขนาด 1 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: - เป็นสารมาตรฐานในการหาปริมาณดีเอ็นเอวัว - เป็นสารมาตรฐานส�ำหรับเป็น negative control ในการตรวจวัดการปนเปื้อนเนื้อสุกรในเนื้อวัว
  • 45. 43 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-2001: Elements in Glutinous Rice Powder เจ้าของผลงาน: ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/นางสาวปราณี พฤกพัฒนาชัย กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างข้าวที่ช่วงความเข้มข้น Cd 0.69 mg/kg _+ 0.06 mg/kg Cr 1.5 mg/kg _+ 0.1 mg/kg Mn 7.8 mg/kg _+ 1.0 mg/kg Zn 21.2 mg/kg _+ 1.0 mg/kg ขนาด 30 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบด้านอุตสาหกรรมอาหาร สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับการหาปริมาณ แคดเมียม โครเมียม แมงกานีส และสังกะสีได้ ในราคาถูก 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้อง ของการวิเคราะห์ปริมาณ แคดเมียม โครเมียม แมงกานีส และสังกะสี ให้กับห้องปฏิบัติการ ทดสอบด้านอุตสาหกรรมอาหาร
  • 46. 44 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-2002: Trace and Essential Elements in Prawn เจ้าของผลงาน: ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/นางสาวอุษณา เที่ยงมณี กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองโลหะหนักในตัวอย่างกุ้งที่ช่วงความเข้มข้น Cd 2.05 mg/kg _+ 0.11 mg/kg Cu 49 mg/kg _+ 0.2 mg/kg Pb 1.80 mg/kg _+ 0.1 mg/kg Zn 81 mg/kg _+ 4 mg/kg ขนาด 5 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบด้านอุตสาหกรรมอาหาร และการส่งออกกุ้ง สามารถซื้อวัสดุอ้างอิงส�ำหรับ การหาปริมาณ แคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และสังกะสี ได้ในราคาถูก 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ วิเคราะห์ปริมาณ แคดเมียม ทองแดง ตะกั่ว และ สังกะสี ให้กับห้องปฏิบัติการทดสอบด้าน อุตสาหกรรมอาหารและการส่งออกกุ้ง
  • 47. 45 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-2003: Arsenic in White Rice Flour เจ้าของผลงาน: ดร.สุทธินันท์ แต่บรรพกุล/ดร.เนตติกานต์ อ่อนไทย กลุ่มงานวิเคราะห์อนินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองสารหนูในตัวอย่างข้าวที่ช่วงความเข้มข้น As 100 µg/kg _+ 7 µg/kg ขนาด 25 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: 1. ห้องปฏิบัติการทดสอบทางด้านอาหาร สามารถ ซื้อวัสดุอ้างอิงสำ�หรับการหาปริมาณสารหนูได้ใน ราคาถูก 2. สร้างความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของการ วิเคราะห์ปริมาณสารหนูให้กับห้องปฏิบัติการ ทดสอบทางด้านอาหาร
  • 48. 46 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-5001: Total Malachite Green in Freeze Dried Prawn เจ้าของผลงาน: ดร.กิตติยา เชียร์แมน กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองส�ำหรับการวัดปริมาณยาปฏิชีวนะ มาลาไคท์กรีนรวมในตัวอย่างกุ้งแช่เยือกแข็งที่ช่วงความเข้มข้น 18.35 µg/kg _+10.0 % relative ขนาด 5 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: ใช้ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวัดปริมาณ ยาปฏิชีวนะมาลาไคท์กรีนรวมในตัวอย่างกุ้งหรือปลา และใช้เป็นตัวควบคุมคุณภาพ (QC) ตามประกาศ ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง สาธารณสุข ห้ามไม่ ให้มีการใช้ยาปฏิชีวนะ มาลาไคท์กรีนในการเลี้ยงสัตว์น�้ำเพื่อเป็นอาหาร
  • 49. 47 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-5002: Aflatoxins in Peanut Butter เจ้าของผลงาน: ดร.จีรพา บุญญคง กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงอะฟลาทอกซินในเนยถั่วประกอบด้วย อะฟลาทอกซิน 4 ชนิดคือ AFB1 AFB2 AFG1 และ AFG2 ที่ช่วงความเข้มข้น 2-10 ng/g ค่าความไม่แน่นอนของ การวัด 8 - 10 % relative ขนาด 30 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถใช้ส�ำหรับการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัด หรือเป็นตัวอย่างควบคุมคุณภาพส�ำหรับการ วิเคราะห์ปริมาณอะฟลาทอกซินที่ปนเปื้อนในน�้ำมันพืช หรืออาหารประเภทถั่วที่มีน�้ำมันเป็นองค์ประกอบหลัก
  • 50. 48 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-5003: Melamine in Cracker เจ้าของผลงาน: ดร.จีรพา บุญญคง กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองเมลามีนในตัวอย่างแครกเกอร์ ที่ช่วง ความเข้มข้น 1.56 mg/kg _+ 9% relative ขนาด 20 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: ใช้ส�ำหรับการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธีวัดหรือ ใช้เป็นตัวอย่างควบคุมคุณภาพส�ำหรับการวิเคราะห์ ปริมาณเมลามีนในตัวอย่างอาหารที่มีนมเป็น องค์ประกอบ ซึ่งคณะกรรมการอาหารและยา ได้ก�ำหนดเกณฑความปลอดภัยของปริมาณ สารเมลามีนในอาหารไว้ไมเกิน 2.5 มิลลิกรัม/กิโลกรัม สําหรับอาหารที่มีนม หรือองคประกอบของนม เปนสวนผสม
  • 51. 49 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-5004: Clenbuterol in Feed เจ้าของผลงาน: ดร.กิตติยา เชียร์แมน กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการวัดปริมาณสารเร่งเนื้อแดง เคลนบิวเตอรอลในอาหารสัตว์ที่ช่วงความเข้มข้น 71.9 µg/kg _+ 5.5 % relative ขนาด 50 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: ใช้ ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวัด ปริมาณสารเร่งเนื้อแดงเคลนบิวเตอรอลในอาหาร สัตว์และใช้เป็นตัวควบคุมคุณภาพ (QC) ตามก�ำหนด ในพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร (พ.ศ.2551) และพระราชบัญญัติอาหาร (2525) ไม่อนุญาตให้ มีการผสมยาสัตว์ในอาหารสัตว์การลักลอบผสมสาร เร่งเนื้อแดงลงในอาหารสัตว์จึงเป็นเรื่องผิดกฎหมาย
  • 52. 50 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-5005: Salbutamol in Feed เจ้าของผลงาน: ดร.กิตติยา เชียร์แมน กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองสำ�หรับการวัดปริมาณสารเร่งเนื้อแดง ซาลบูตามอลในตัวอย่างอาหารสัตว์ที่ช่วงความเข้มข้น 79.5 µg/kg _+ 14.2 % relative ขนาด 50 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: ใช้ ในการตรวจสอบความถูกต้องของวิธีวัด ปริมาณสารเร่งเนื้อแดงซาลบูตามอลในอาหาร สัตว์และใช้เป็นตัวควบคุมคุณภาพ (QC) ตามก�ำหนด ในพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร (พ.ศ.2551) และพระราชบัญญัติอาหาร (2525) ไม่อนุญาตให้ มีการผสมยาสัตว์ในอาหารสัตว์การลักลอบผสมสาร เร่งเนื้อแดงลงในอาหารสัตว์จึงเป็นเรื่องผิดกฎหมาย
  • 53. 51 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-5006: Melamine in Milk Powder เจ้าของผลงาน: ดร.จีรพา บุญญคง กลุ่มงานวิเคราะห์อินทรีย์เคมี ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองเมลามีนในตัวอย่างนมผง ที่ช่วงความ เข้มข้น 1.03 mg/kg _+ 16 % relative ขนาดบรรจุ 20 กรัม การนำ�ไปใช้ประโยชน์: ใช้ส�ำหรับการตรวจสอบความใช้ได้ของวิธี วัดหรือเป็นตัวอย่างควบคุมคุณภาพส�ำหรับ การวิเคราะห์ปริมาณเมลามีนในตัวอย่างนม ซึ่งคณะกรรมการอาหารและยาได้ก�ำหนดเกณฑ ความปลอดภัยของปริมาณเมลามีนในนมไว้ไมเกิน 1 มิลลิกรัม/กิโลกรัม
  • 54. 52 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6001: Moisture in Paddy เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 10% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 55. 53 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6002: Moisture in Paddy เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 12% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 56. 54 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6003: Moisture in Paddy เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 14% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 57. 55 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6004: Moisture in Paddy เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 16% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 58. 56 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6005: Moisture in Paddy เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวเปลือก ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 18% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวเปลือกหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 59. 57 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6006: Moisture in Rice เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 10% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 60. 58 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6007: Moisture in Rice เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 12% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 61. 59 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6008: Moisture in Rice เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 14% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 62. 60 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6009: Moisture in Rice เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 16% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 63. 61 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-F-6010: Moisture in Rice เจ้าของผลงาน: นางธสร สิงหะเนติ กลุ่มงานถ่ายทอดค่ามาตรฐานและความชื้น ฝ่ายมาตรวิทยาอุณหภูมิและแสง รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงรับรองความชื้นในข้าวสาร ขนาด 100 กรัม ที่ความชื้น 18% MC โดยค่าความไม่แน่นอนรวมของ ความชื้นอยู่ในช่วง (0.6 ถึง 0.8) % MC การนำ�ไปใช้ประโยชน์: สามารถนำ�ไปตรวจสอบความถูกต้องของการวัด ความชื้นในข้าวสารหรือสอบเทียบเครื่องวัด ความชื้นโดยผู้ใช้งานเองได้ ด้วยการเปรียบเทียบ ค่าความชื้นที่เครื่องมืออ่านได้กับค่าความชื้นจาก CRM และค่าความไม่แน่นอนที่ระบุในใบรับรอง ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจสอบ ความถูกต้องของเครื่องวัดความชื้นในประเทศไทยได้
  • 64. 62 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-S-1001: Pork DNA Solution เจ้าของผลงาน: นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: วัสดุอ้างอิงมาตรฐานของดีเอ็นสุกรที่มีความบริสุทธิ์สูงและมี การให้ค่าโดยใช้เครื่อง digital PCR ที่ช่วง 100,000 copy number/µL _+ 6,000 copy number/µL การนำ�ไปใช้ประโยชน์: - ใช้สำ�หรับเป็นสารมาตรฐาน เพื่อสร้างกราฟ มาตรฐานในการหาความเข้มข้นเชิงปริมาณของ ดีเอ็นเอสุกร - เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับการทำ� Method Validation - สามารถนำ�ไปใช้เป็น positive control
  • 65. 63 TRM ฉบับรวมเล่ม ชื่อผลงาน: TRM-S-1002: MON810 Plasmid DNA เจ้าของผลงาน: นักมาตรวิทยาในกลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ กลุ่มงานวิเคราะห์ชีวภาพ ฝ่ายมาตรวิทยาเคมีและชีวภาพ รายละเอียด: เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับหาปริมาณสารดัดแปรพันธุกรรม ในตัวอย่างข้าวโพดสายพันธุ์ MON810 พลาสมิด MON810 ที่ 1.04 copy number ratio _+ 0.061 copy number ratio บรรจุปริมาตร 100 µL การนำ�ไปใช้ประโยชน์: - เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับหาปริมาณสารดัดแปร พันธุกรรมในตัวอย่างข้าวโพดสายพันธุ์ MON810 - เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับการทำ� Methodvalidation - เป็นสารมาตรฐานสำ�หรับเป็น positive control