SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
Session   หนา
ผลของการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท สําหรับนักศึกษา       C2_1     219
ระดับบัณฑิตศึกษา
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest
for developing learning achievement for Graduate Students
น้ําหนึ่ง ทรัพยสิน, ปณิตา วรรณพิรุณ, พัลลภ พิริยะสุรวงศ

แนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิรนนิงโดยใชการเรียนรูแบบเนนงานปฏิบัติที่      C2_2     226
สงเสริมทักษะการนําเสนอเปนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6
The Guideline of e-Learning Activities using Task-Based Learning
to Enhance Presentation Skills in English of Twelfth Grade
Students
กุลพร พูลสวัสดิ์

การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลักในสภาพแวดลอมการ           C2_3     235
เรียนรูแบบ u-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการแกปญหา
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous
Learning Environment to Develop Problem-solving Skills
นพดล ผูมีจรรยา, ปณิตา วรรณพิรุณ

การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรสนับสนุน             C2_4     243
การเรียนรูแบบรวมกันตามแนวการจัดการเรียนรูแบบลดภาระทางปญญาเพื่อ
พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู
Development Learning and Teaching Using Cognitive Load
Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to
Enhance Knowledge Sharing Process
ทัศนีย รอดมั่นคง, ปณิตา วรรณพิรุณ

การสงเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการกํากับตนเองในการเรียน         C2_5     251
ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในการเรียนแบบผสมผสาน
นุชจรี บุญเกต, ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
ผลของการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท
                              สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing
                  learning achievement for Graduate Students
                                                                                                             3
                    น้ําหนึ่ง ทรัพยสิน1, อ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2, ผศ. ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ
     1,2,3
             ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
                                                (numnung_s@hotmail.com)
                                                  (panitaw@kmutnb.ac.th)
                                                   (palloppi@gmail.com)


 ABSTRACT                                                           สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประชากรที่ใชในการ
 The objectives of the research study were 1) to                    วิ จั ย คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย
 develop Collaborative Web-based Learning by
 using WebQuest for Graduate Students 2) to                         รามคํ า แหง จํ า นวน 2,075 คน กลุ ม ตั ว อย า ง คื อ นั ก ศึ กษา
 compare the learning achievement of Graduate                       ระดั บ บั ณฑิ ต ศึ ก ษา สาขาวิ ช าเทคโนโลยี สื่อ สารมวลชน
 Students learning through the Web-based
 Learning by using WebQuest. Population used in                     คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคําแหง
 this study were 2,075 graduate students from
 Ramkhamhaeng University, the sample study
                                                                    ชั้นปท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 ไดจากการสุม
 were 21 graduate students        from Division of                  อยางแบบหลายขั้นตอน จํานวน 21 คน วิธีการดําเนินการ
 Mass Communication Technology, Faculty of
 Mass Communication Technology Academic                             วิจัยแบงออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรียน
 Year 1/2554, Ramkhamhaeng University, the
 probability evaluated from a Multi Stage
                                                                    บนเว็ บ แบบร ว มมื อ โดยใช เ ว็ บ เควสท ระยะที่ 2 การ
 Random Sampling. The tools used in the study                       เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน
 are WebQuest on Learning Management System
 (LMS) and Pretest- Posttest that the Courses                       บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท เครื่องมือที่ใช
 name is Film & Television Productions and TV
 Presentation Technologies. The statistics used in
                                                                    ในการวิจั ย ไดแก บทเรียนบนเว็บ แบบรวมมือโดยใชเว็ บ
 this study was Mean, Standard Deviation, Item                      เควสท วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตรและการนําเสนอ
 Objective Conguence Index and t-test dependent
  The research has found that: 1) the contents of                   สื่อโทรทัศน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 10 steps         of development of Web-Based                       กอนเรียนและหลังเรียน สถิติท่ีใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ย
 Learning by Using WebQuest have a results of
 the evaluation of the content was good level                       เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t–test Dependent
 and results of the the evaluation of the technical
 was good level 2) the posttest score was higher                    ผลจากการวิจัย พบวา
 than pretest score         there were statistically                1)         บทเรี ย นออนไลน แ บบเว็ บ เควสท ที่ พั ฒ นาขึ้ น
 significant at level .01 .
                                                                    ประกอบด ว ยเนื้ อ หาทั้ ง หมด 10 ตอน มี ผ ลการประเมิ น
 Keywords: Web-based Learning, Collaborative
 Learning, WebQuest, Film and Television                            คุณภาพดานเนื้อหาอยูในระดับดี และคุณภาพดานเทคนิคอยู
 Productions and TV Presentation Technologies                       ในระดับดี
                                                                    2) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ เรียนโดยใชบทเรีย น
 บทคัดยอ                                                           ออนไลนแบบเว็บ เควสทที่พัฒ นาขึ้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์
 การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค              ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง
 เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บ                    สถิติที่ระดับ .01
 เควสท สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษ าระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ กษา 2)
 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลัง
 เรี ย นบทเรี ย นบนเว็ บ แบบร ว มมื อ โดยใช เ ว็ บ เควสท
                                                              219
คําสํ าคั ญ : บทเรียนบนเว็ บ , การเรี ยนแบบรวมมือ ,                        การสอนในชั้นเรียนปกติ กับการเรียนการสอนบนเครือขาย
เว็ บ เควสท , เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ภาพยนตร แ ละการ                         (ไชยยศ เรืองสุววรณ, 2546)
นําเสนอสื่อโทรทัศน
                                                                            บทเรียนแบบเว็บเควสท (Web Quest) เปนกิจกรรมการเรียน
1) บทนํา                                                                    การสอนที่ เ น น การแสวงหาความรู โ ดยใช เ ทคโนโลยี
เทคโนโลยี ท างการศึ กษาเป น การประยุก ต ความรู ท าง                      สารสนเทศเปนฐาน ครูผูสอนหรือผูออกแบบบทเรียน ไมได
วิทยาศาสตรอยางมีระบบในกระบวนการเรียนการสอน                                ทําหนาที่ถายทอดความรูแกผูเรียนแตฝายเดียว แตเปนผูจัด
แกไขปญหา และพัฒนาการศึกษาใหกาวหนาตอไปอยาง                            กลุมเรียบเรียงและลําดับความรูตางๆ ใหอํานวยความสะดวก
มีประสิทธิภาพ ความรูทางวิทยาศาสตรมีความหมายไม                            ใหผูเรียนไดเขาถึงความรูนั้นๆ อยางเปนระบบเปนขั้นเปน
เพียงแตเปนวิทยาศาสตรทางธรรมชาติเทานั้น แตยังรวม                        ตอน โดยมุงการแกปญหาเปนสําคัญ ลักษณะของเว็บเควสท
หมายถึ ง วิท ยาศาสตร ท างจิต วิ ท ยา และศาสตร ใ นการ                      ที่สําคัญ คือ แสดงเพียงโครงรางเนื้อหาเปนกรอบของความรู
บริหารงานครอบคลุมทั้งดานบริหารวิชาการและบริการ                             ที่ผูเรียนตองศึกษาหรือควรจะศึกษา ไมไดมุงแสดงเนื้อหา
ดัง นั้ น ในการนํ าเทคโนโลยี ท างการศึก ษามาปรั บ ปรุ ง                     รายละเอี ยดของความรู นั้น ๆ ที่ ชี้ชั ด ลงไปโดยตรง ดั งเช น
ประสิ ท ธิ ภ าพในการศึ ก ษา จึ ง ครอบคลุ ม 3 ด า น คื อ                    บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนทั่วๆ ไป ที่ผูออกแบบไดระบุ
เครื่ องมือ อุป กรณการสอนตางๆ วั สดุ และวิ ธีก ารและ                      เนื้อหาเฉพาะเพียงกรอบของวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมที่
เทคนิค                                                                      ตอ งการเท านั้ น วิ ธีการของเว็ บ เควสท ใ นการเข าสู เ นื้อ หา
การนําเทคโนโลยีทางการศึกษามาใชในการจัดการศึกษา                             ความรูตางๆ ไดโดยใชตัวเชื่อมโยงบนหนาเว็บเพจหลักของ
นั้นจะยึดหลักการทั่วไปเหมือนการนําเทคโนโลยีไปใช                            กรอบโครงสรางเนื้อหาหลัก ที่ผูออกแบบจัดกลุม เรียบเรียง
ในสาขาวิ ช าการอื่ น ๆ คื อ ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency)                    และลําดับ ดังที่กลาวไวแลวนั้น เชื่อมโยงไปยังแหลงความรู
หมายความวา เมื่อนําเอาเทคโนโลยีมาใชแลวทําใหเกิด                         อื่นๆในเว็บไซตอื่นที่ผูสอนหรือผูออกแบบพิจารณาเห็นวา มี
การเรี ย นรู ต ามที่ ว างจุ ด มุ ง หมายเชิ ง พฤติ ก รรมไว ใ น            เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการใหเกิดแกผูเรียน
แผนการสอนประสิ ท ธิ ผ ล (Productivity) หลั ง จบ                             ซึ่งในเว็บเควสทมีองคประกอบ 6 องคประกอบ คือ (ปยนาถ
กระบวนการเรียนการสอนแลว ผูเรียนทั้งหมดหรือเกือบ                           ศรบุญลาม, 2552)
ทั้งหมดเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายที่วางไว ประหยัด                       1. สวนนํา (Introduction) เปนขั้นเตรียมตัวผูเรียนในการเขา
(Economy) การที่จะนําเอาเทคโนโลยีมาใชในการเรียน                            สูกิจกรรมการเรียนการสอน เชน สถานการณ หรือปญหาซึ่ง
การสอน ตองตระหนักถึงขอนี้ในการเรียนการสอนถามี                            เปนกรอบกวางๆ
ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลใช ท รั พ ยากรอย า ง                      2. สวนภารกิจ (Task) เปนขอปญหา หรือประเด็นที่ผูเรียน
ประหยัดก็ยอมถือวาสามารถบริหารจัดการเกินคุมคา                            ตองหาคําตอบ
 การเรียนการสอนบนเครือขาย (Web-based Instruction)                          3. สวนการชี้แหลงความรู (Resources) เปนการใหแหลง
เปนการผนวกคุณสมบัติไฮเปอรมีเดียเขากับคุณสมบัติ                           สารสนเทศที่มีบน World Wide Web เพื่อวาผูเรียนสามารถ
ของเครือขาย เวิลดไวดเว็บ เพื่อสรางเสริมสิ่งแวดลอม                      นําสาระความรูนั้นมาแกปญหาได
แหงการเรียนในมิติที่ไมมี ขอบเขตจํากัดดวยระยะทาง                          4. สวนกระบวนการ (Process) เปนกิจกรรมที่ผูเรียนตองทํา
และระยะเวลาที่แตกตางกันของผูเรียนการสอนบนเว็บ                             กิจกรรมนั้น ควรเนนการสรางองค ความรูดวยตนเอง และ
หรื อ บนระบบเครื อ ข า ย เป น การพั ฒ นาบทเรี ย นใน                       กระบวนการเรียนแบบรวมมือ
ลั ก ษณะสื่ อ หลายมิ ติ ทั้ ง ที่ เ ป น รายวิ ช า หรื อ โมดุ ล ตาม         5. สวนประเมินผล (Evaluation) เปนขั้นติดตามวาผูเรียนได
หลักสูตรขึ้นไวใชเปนสื่อการเรียนการสอน เรียกวา การ                        บรรลุวัตถุประสงคเพียงไร ควรเนนการวัดผลในสภาพที่เปน
เรียนการสอนบนเครือขาย (Web-based Instruction :                             จริง ซึ่งอาจมีการจัดทําแฟมขอมูล
WBI) ความเหมือนและความแตกตางระหวางการเรียน
                                                                      220
6. สวนสรุป (Conclusion) เปนขั้นสรุปความคิดรวบยอด         การออกแบบการเรียนการสอน                           การเรียนแบบเว็บเควสท
ที่ผูเรียนชวยกันแสวงหา และสรางขึ้นมาเอง เปนการฝก      1.ขั้นการวิเคราะห                                (Dodge, 1997)
ใหนกเรียนมีการคิดวิเคราะห ฝกการคิดขั้นสูง ทักษะการ
        ั                                                  2.ขั้นการออกแบบ                                   1.สวนนํา
                                                           3. ขั้นการพัฒนา                                   2.ภารกิจ
สืบเสาะในการเรียนรู
                                                           4.ขั้นการนําไปทดลองใช                            3.กระบวนการ
จากที่ ม าและความสํ า คั ญ ของป ญ หาดั ง กล า ว จึ ง     5. ขั้นการประเมินผล                               4.แหลงขอมูล
จําเปนตองมีการบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ โดยใชเว็บ                                                           5.การประเมินผล
                                                                                                             6.การสรุปผล
เควสท ขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอน
                                                           การเรียนการสอนแบบรวมมือ
ผานระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศตอไป
                                                           (Johnson and Johnson, 2003)
                                                           1.การพึ่งพาเกื้อกูล                               การเรียนจัดการเรียนบน
                                                                                                             เว็บ(ไชยยศ, 2548)
2) วัตถุประสงคการวิจัย                                    2.ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบไดของ
                                                           สมาชิกแตละคน                                     1.จุดประสงคการเรียน
2.1) เพื่อการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช            3.การปรึกษากันอยางใกลชิด                        2.เนื้อหาตามหลักสูตร
เว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา                 4.การใชทักษะทํางานรวมกัน                        3.การปฏิสัมพันธระหวาง
                                                                                                             ผูสอนกับผูเรียน
2.2) เพื่อศึกษาผลการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย                                                            4.ความรวมมือระหวางผูเรียน
ใชเว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา                                                               5.การใหผลปอนกลับ
                                                                                                             6.ประสบการณการเรียนรู

3) สมมติฐานการวิจัย
                                                                               บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ โดยใชเว็บเควสท
นักศึกษาที่เรียนโดยใช บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย
ใชเว็บเควสทมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวา
กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ.01                                                     ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน


                                                               รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ
4) ขอบเขตการวิจัย
                                                               โดยใชเว็บเควสท
4.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง
                     
ประชากร คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย
                                                               5) วิธีดําเนินการวิจย
                                                                                   ั
รามคําแหง จํานวน 2,075 คน
                                                               ขั้นตอนการวิจัยออกเปน 2 ระยะ ดังนี้
กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา
                                                               ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บ
เทคโนโลยี ส่ื อ สารมวลชน คณะเทคโนโลยี ก าร
สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคําแหง ชั้นปที่ 1 ภาค              เควสท สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เนินตามขั้นตอน
เรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 ไดจากการสุมอยางแบบ               การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System
หลายขั้นตอน จํานวน 21 คน                                       Design: ISD) 5 ขั้นตอนมีดงตอไปนี้
                                                                                               ั
                                                               1. ขั้นการวิเคราะห (Analysis)
4.2) ตัวแปรในการวิจัย                                           1.1วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) เนื้อหาที่ใชในการ
ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ บทเรียนบน               วิจัยครั้งนี้ คือ วิชา TM 653 เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร
เว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท                                 และการนําเสนอสื่อโทรทัศน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการศึกษา
ตั ว แปรตาม (Dependent Variable) คื อ ผลสั ม ฤทธิ์             หลั ก สู ต รศิ ล ปศาตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี
ทางการเรียน                                                    สื่อสารมวลชน คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน
                                                               1.2 วิเคราะหผูเรียน (Learner Analysis) กลุมตัวอยางที่ใชใน
                                                               การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป น นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มี
                                                               ความสามารถและทักษะทางดานการใชงานระบบเครือขาย
                                                         221
คอมพิวเตอรและบริการตางๆ บนระบบอินเทอรเน็ตเปน                   กิจกรรมที่ 3 กระบวนการ
อยางดี และมีทัศนคติที่ดีกับการเรียนการสอนบนเว็บ                   4.นักศึกษา อภิปรายกลุมเกี่ยวกับขอมูลที่ไดจากการสืบคน
1.3 วิเคราะหบริบทที่เกี่ยวของ (Context Analysis) ใน              รายบุคคล ผานทางกระดานประจําสัปดาห
การจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชบทเรียนบน                      5. นักศึกษา ทํารายงานกลุม เกี่ยวกับประเด็นปญหาประจํา
เว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสทใหมีประสิทธิภาพและ                  สัปดาห
                                                                   6. นักศึกษา ทํา Power Point และสงแทนนําเสนองานที่ไดรับ
ประสิท ธิ ผ ลตามวั ต ถุ ประสงค นั ก ศึ กษาควรมี เครื่ อ ง
                                                                   มอบหมายหนาชั้นเรียน (ระยะ เวลาในการนําเสนอ 10 นาที)
คอมพิวเตอรหรืออุปกรณที่ใชในการศึกษาบทเรียนดวย
                                                                   กิจกรรมที่ 4 แหลงขอมูล
ตนเองผานเว็บ เชน Smart phone, Tablet PC หรือ                     1.นักศึกษา ศึกษาคนควาขอมูลประกอบการทํารายงาน จะ
เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร แ บบพกพา และมี ค วรมี ร ะบบ                 แหลงขอมูลในระบบบริหารจัดการเรียนรู และเว็บไซตอื่นๆ
โครงข า ยพื้ น ฐานทางด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่                 ที่เกี่ยวของ
สนับสนุน เชน ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต และระบบ                    กิจกรรมที่ 5 การประเมินผล
เครือขายอินเทอรเน็ตแบบไรสาย                                     2. ประเมินผลการเรียนจากรายงานกลุม และการนําเสนองานที่
                                                                   ไดรับมอบหมายหนาชั้นเรียน
2. ขั้นการออกแบบ (Design)                                          3. การประเมินตามสภาพจริง จากการมีสวนรวมในกิจกรรม
2.1 ออกแบบ เนื้อหา วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร                   กลุม
และการนําเสนอสื่อโทรทัศน                                          4.ประเมินความรู โดยใชแบบทดสอบประจําสัปดาห
2.2 สรางบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท                   กิจกรรมที่ 6 การสรุปผล
สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิชา เทคโนโลยีการ                  อาจารย แ ละนั ก ศึ ก ษาร ว มกั น สรุ ป ผลการเรี ย นรู ป ระจํ า
ผลิตภาพยนตรและการนําเสนอสื่อโทรทัศน โดยดําเนิน                   สัปดาห
กิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบเว็บเควสท                           3. ขั้นการพัฒนา (Development)
2.2.1 ออกแบบขั้ นตอนกิจกรรมบทเรียนบนเว็บแบบ                        การพั ฒ นาบทเรี ย นบนเว็ บ แบบร วมมื อ โดยใชเ ว็ บ เควสท
รว มมื อ บนเว็ บ โดยมี กิจ กรรมการเรี ย นการสอน แบ ง             สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ออกเปน 6 กิจกรรม ดังนี้                                            ดําเนินตามขั้นตอน ดังนี้
กิจกรรมที่ 1 สวนนํา                                               3.1 การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท
1. อาจารย บรรยายเนื้อหาประจําสัปดาห                              สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ดํ า เนิ น การจั ด การ
2. นักศึกษา ศึกษาเนื้อหาจากการบรรยายในชั้นเรียน                    เนื้อหาและกิจกรรมในระบบบริหารจัดการเรียนรู (Learning
และศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติม จากระบบบริหารจัดการเรียนรู               Management System :LMS) ของ Moodle LMS เขาถึงไดที่
3. อาจารยและนักศึกษา รวมกันอภิปราย เพื่อกําหนด                   http ://www.elearning.kmutnb.ac.th
ประเด็นปญหาประจําสัปดาห                                          3.2 ออกแบบขั้นตอนกิจกรรม การพัฒนาบทเรียนบนเว็บ
4. อาจารย มอบหมายใหนักศึกษา ทํารายงานการศึกษา                    แบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท
คนควาเกี่ยวกับประเด็นปญหาประจําสัปดาห                          3.3 พัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน
กิจกรรมที่ 2 ภารกิจ                                                และหลังเรียน วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตรและการ
1.นักศึกษา แบงกลุมๆ ละ 3-5 ตามความสมัครใจ                        นําเสนอสื่อโทรทัศน
2. นักศึกษา ดําเนินการสืบคนขอมูลเพื่อแกปญาหาจาก
                                                                  3.3.1 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอน
ประเด็นปญหาประจําที่ไดรับมอบหมาย                                 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน เปนแบบ
3. นักศึกษาแตละคน โพสตขอมูลที่สบคนไดในกระดาน
                                      ื                            ปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ โดยถาตอบถูกให1 คะแนน
เสวนาประจําสัปดาห
                                                             222
ถาตอบผิดให 0 คะแนน ซึ่งมีขั้นตอนการสรางแบบวัด                    แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest – Posttest Design
ตามแนวคิดของBloom (1972)                                            ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้
3.3.2 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียน ที่
                                                                             O1             X            O2
พัฒนาขึ้นไปใหอาจารยที่ปรึกษาทําการตรวจสอบความ
ถูกตอง
4. ขั้นการนําไปทดลองใช (Implementation)                            1. การวางแผนกอนดําเนินการทดลอง
4.1 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียน                        1.1 การเตรี ย มความพร อมของสถานที่ ห องปฏิ บั ติ การ
ที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใชกับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา                   คอมพิ วเตอร ได แก เครื่ องคอมพิ วเตอร การเชื่ อ มต อ ระบบ
จํานวน 5 คนเพื่อทดสอบหาจุดบกพรองของบทเรียนเพื่อ                    เครือขายอินเทอรเน็ตและโปรแกรมที่เกี่ยวของ
นํามาปรับปรุงแกไข                                                  1.2 การเตรียม ความพรอมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
 4.2 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียน ไป                    2. ดําเนินการทดลองการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย
ใชกับระบบบริหารจัดการเรียนรู                                      ใชเว็บเควสท ไปใชกับกลุมตัวอยาง
5. ขั้นการประเมินผล (Evaluation)                                    2.1 กลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
5.1 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน                    กอนเรียน จํานวน 30 ขอ ใชเวลา 1 ชั่วโมง
และหลังเรียน ไปใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 3 ทาน ทํา                2.2 กลุมตัวอยางศึกษาเนื้อหาตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียน
การประเมิ น ความสอดคล อ งระหว า งข อ คํ า ถามกั บ                แบบเว็บเควสท
วัตถุประสงคการวิจัย(IOC: Item Objective Conguence                  2.3 กลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
Index)                                                              หลังเรียน จํานวน 30 ขอ ใชเวลา 1 ชัวโมง
                                                                                                          ่
5.2 นําผลการประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ                      3. ตรวจคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอน
เรียนกอนเรียนและหลังเรียน ที่ไดจาก Item Objective                 เรียนและหลังเรียน โดยกําหนดใหขอที่ตอบถูกได 1 คะแนน
Conguence Index) โดยพิจารณาเลือกขอขอคําถามที่มีคา                ตอบผิดได 0 คะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 30 คะแนน รวม
ดัชนีความสอดคลองระหวาง 0.67 -1.00 และเลือกขอ                     ขอมูลเพื่อนําไปวิเคราะหตอไป
คํ า ถามที่ ผ า นเกณฑ ก ารประเมิ น จํ า นวน 30 ข อ ซึ่ ง
ครอบคลุมตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมเพื่อนํามาใช                    5) ผลการวิจัย
เปนทดสอบวั ดผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนกอนเรียนและ                     ตอนที่ 1 บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท
หลังผานการจัดการเนื้อหาและกิจกรรมในระบบบริหาร                      สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
จัดการเรียนรู                                                      1.1 บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท วิชา TM
5.3 นํ า แบบประเมิ น คุ ณภาพสื่ อ ด า นเนื้ อ หา และการ            653 เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตรและการนําเสนอสื่อ
ประเมินคุณภาพสื่อดานการออกแบบการเรียนการสอน                        โทรทัศน (Film & Television Productions and TV
บนเว็บที่พัฒนาขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 3 ทาน               Presentation Technologies) ประกอบดวย 10 หัวขอ ดังนี้
และผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบการเรียนการสอนบน                        1. ประวัติวิวัฒนาการวิทยุโทรทัศน
เว็ บ 3 ท า น การประเมิ น คุ ณ ภาพด า นเนื้ อ หาและการ            2. การบริหารงานกิจการวิทยุโทรทัศน
ออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บ                                          3. สถานีวิทยุโทรทัศน
                                                                    4. รายการวิทยุโทรทัศน
ระยะที่ 2 การศึกษาผลการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ                   5. เทคนิคการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน
โดยใชเว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับ                               6. การกํากับรายการวิทยุโทรทัศน
การศึกษาผลการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช                       7. การผลิตรายการบันเทิง
เว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งนี้ใช              8. การผลิตรายการสารคดี ขาว การโฆษณา และอื่นๆ
                                                              223
9. การผลิตรายการวิทยุโทรทัศนการศึกษา                                         อยางมีนัยสําคัญทางสถิตที่ .01 สอดคลองกับงานวิจัย เชิดชัย
10. การผลิตภาพยนตร                                                           รักษาอินทร (2553) ปยธิดา รอบรู (2551) และ บุญสง ประ
1.2 ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนบนเว็บแบบ                                     จิตร (2551) ที่พบวา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย
รวมมือโดยใชเว็บเควสท                                                       ใช บ ทเรี ย นออนไลน แ บบเว็ บ เควสท สามารถพั ฒ นา
การประเมินการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช                               ผลสัมฤทธิ์ทางเรียนของผูเรียนได
เว็บเควสทสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดานเนื้อหา
พบว า ผูเ ชี่ ย วชาญด า นเนื้ อ หา มี ค วามเห็ น ด านเนื้ อ หาที่         7) ขอเสนอแนะ
พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมดี ( x =3.77,S.D.= 0.43) สวน                           7.1) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน
การประเมินการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช                               7.1.1) สถาบันการศึกษาที่นํารูปแบบการจัดการเรียนแบบ
เว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดานการ                            รวมมือบนเว็บโดยใชเว็ บเควสท ควรเตรียมหองปฏิบัติการ
เรียนการสอนบนเว็บ พบวา ผูเชี่ยวชาญดานการเรียนการ                           คอมพิ ว เตอร ระบบเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต และให ค วามรู
สอนบนเว็บมีความเห็นดานการเรียนการสอนบนเว็บ ที่                               เบื้ อ งต น เกี่ ยวกั บการใชงานคอมพิ วเตอร ผ านระบบบริ หาร
พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมดี ( x = 3.17,S.D.= 0.64)                               จัดการเรียนรู ( LMS ) ของ Moodle LMS ตลอดจนกิจกรรม
                                                                              การเรียนโดยใชเว็บเควสท
ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน                                7.1.2) การนํารูปแบบการจัดการเรียนแบบรวมมือบนเว็บ
กอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย                               โดยใชเว็บเควสทไปใช ควรมีคณาจารยหรือผูเกี่ยวของการ
ใชเว็บเควสท                                                                 ชี้แจงเกี่ยวกับวิธีและขั้นตอนกิจกรรมของเว็บเควสทอยาง
                                                                              ชัดเจน เพื่อสรางความเขาใจใหกับผูเขารับการทดสอบหรือ
ตารางที่ 1: ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน                             ฝกอบรม เพราะผลการจัดการเรียนแบบรวมมือ จําเปนอยาง
กอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย                               ยิ่งที่จะตองอาศัยความเขาใจเพื่อใหเกิ ดทักษะในทางปฏิบัติ
ใชเว็บเควสท                                                                 ไดอยางถูกตอง
                                                                              7.2) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้งตอไป
คะแนนผลสัมฤทธิ์    คะแนน       x                                              ควรวิจัยเพื่อศึกษาผลการใชบทเรียนแบบรวมมือบนเว็บโดย
                                       S.D.       t-test      Sig.
  ทางการเรียน       เต็ม                                                      ใช เ ว็ บ เควสท ในด า นอื่ น ๆ เช น ความร ว มมื อ ในการเรี ย น
กอนเรียน            30      15.24      2.64      -25.59      .00             ความคิดสรางสรรค การคิดแกปญหา หรือความพึงพอใจใน
หลังเรียน            30      21.19      2.23                                  การเรียน เปนตน
**P>.01
จากตารางที่ 1 พบวา นักศึกษาที่เรียนโดยใชบทเรียนบน
                                                                              8) เอกสารอางอิง
เว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสทมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
                                                                              เชิดชัย รักษาอินทร. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์
เรียนหลังเรียน ( x =21.19, S.D. = 2.23) สูงกวากอน
                                                                                         ทางการเรียนและการคิดวิเคราะหดวยบทเรียน
เรียน ( x = 15.24, S.D. = 2.64) อยางมีนัยสําคัญทาง
                                                                                         ออนไลนแบบเว็บเควสท เรื่อง การสรางเว็บเพจ
สถิต.ิ 01
                                                                                         ระหวางนักเรียนที่เรียนแบบอิสระและเรียนแบบ
                                                                                         รวมมือ. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
6) อภิปรายผล
                                                                                         สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัย
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาดวยแบบวัดผลวัดผลสัมฤทธิ์
                                                                                         มหาสารคาม.
ทางการเรียนกอนและหลังเรียนรายวิชา เทคโนโลยีการ
ผลิตภาพยนตรและการนําเสนอสื่อทีวี พบวา นักศึกษามี
คาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ ทางเรีย นหลังเรียนสูง กวากอ น
                                                                        224
ไชยยศ เรืองสุววรณ. (2546). เอกสารประกอบการ
          บรรยายรายวิชา 0503860. ภาควิชาเทคโนโลยี
          และสื่อสารการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
          มหาสารคาม
บุญสง ประจิตร. (2551). การพัฒนาบทเรียนออนไลน
          แบบเว็บเควสท เรื่องการชวยฟนคืนชีพ
          รายวิชาสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6
          การศึกษาคนควาอิสระของ. วิทยานิพนธ
          ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา
          เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปยธิดา รอบรู. (2551). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู
          เรื่อง คําควบกล้ํา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา
          ปที่ 4 ระหวางการเรียนรูดวยโปรแกรมบทเรียน
          แบบเว็บเควสทกับการเรียนตามคูมือครู.
                                             
          วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
          สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัย
          มหาสารคาม.
ปยนาถ ศรบุญลา. (2552). ผลการเรียนโดยใชบทเรียน
          แบบเว็บเควสทและการสอนแบบ
          โครงงาน เรื่อง การจัดการ ฐานขอมูล
          เบื้องตน ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิด
          วิเคราะหและทักษะการสืบเสาะ ของนักเรียน
          ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5. ปริญญาการศึกษา
          มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา
          มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Bloom, Benjamin Samnel. (1972).Taxonomy of
          Educational Objectives. New York: David
          Mckay.
William W., and Stephen G. J. (2009). Research
               methods in education: an introduction. 9th
               ed. Boston, U.S.: Pearson.




                                                            225

More Related Content

What's hot

1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchanssuserea9dad1
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltvPrachoom Rangkasikorn
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคตแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคตPrachyanun Nilsook
 
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมPrachoom Rangkasikorn
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Researchkroojade
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1Areerat Sangdao
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรมNon HobBit
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย ClassdojoSurapon Boonlue
 
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #2
การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #2การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #2
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #2Prachyanun Nilsook
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนTar Bt
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera Supa CPC
 

What's hot (18)

1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan1332 20210713 nichakarn_kaewchan
1332 20210713 nichakarn_kaewchan
 
Team-based Learning
Team-based LearningTeam-based Learning
Team-based Learning
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคตแนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
แนวโน้มการใช้เทคโนโลยีในการบริหารสถานศึกษาในอนาคต
 
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
 
Kroojade Research
Kroojade ResearchKroojade Research
Kroojade Research
 
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
ผลการใช้เทคโนโลยีการศึกษาทางไกลจังหวัดสุพรรณบุรี เขต 1
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
บทที่ 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojoการบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
การบริหารจัดการห้องเรียนด้วย Classdojo
 
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #2
การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #2การศึกษามุ่งผลลัพธ์  (Outcome-based Education : OBE) #2
การศึกษามุ่งผลลัพธ์ (Outcome-based Education : OBE) #2
 
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอนภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
ภารกิจเลือกรูปแบบการสอน
 
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 

Similar to Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students. [NEC2012]

Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textChangnoi Etc
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานMintra Pudprom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานKaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานSoldic Kalayanee
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนKrookhuean Moonwan
 

Similar to Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students. [NEC2012] (20)

Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning. [NEC2012]
 
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
The Effect of e-Training with MIAP learning process for Developing Instructor...
 
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
รูปแบบการเรียนรู้ร่วมกันผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อสนับสนุนการเรียนด้วยโครงงานน...
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Ch5 e-learning-text
Ch5 e-learning-textCh5 e-learning-text
Ch5 e-learning-text
 
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
ผลการบูรณาการการเรียนรู้ด้วยเครือข่ายสังคมกับ e-Learning [NCE2012 Prachyanun ...
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
Focus 6-55
Focus 6-55Focus 6-55
Focus 6-55
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
หลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอนหลักการออกแบบสื่อการสอน
หลักการออกแบบสื่อการสอน
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningPanita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGPanita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนPanita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Panita Wannapiroon Kmutnb
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
Development of creative economy thinking with idea marathon system via cloud ...
 

Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students. [NEC2012]

  • 1.
  • 2. Session หนา ผลของการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท สําหรับนักศึกษา C2_1 219 ระดับบัณฑิตศึกษา Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students น้ําหนึ่ง ทรัพยสิน, ปณิตา วรรณพิรุณ, พัลลภ พิริยะสุรวงศ แนวทางการจัดกิจกรรมอีเลิรนนิงโดยใชการเรียนรูแบบเนนงานปฏิบัติที่ C2_2 226 สงเสริมทักษะการนําเสนอเปนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 The Guideline of e-Learning Activities using Task-Based Learning to Enhance Presentation Skills in English of Twelfth Grade Students กุลพร พูลสวัสดิ์ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรูโดยใชปญหาเปนหลักในสภาพแวดลอมการ C2_3 235 เรียนรูแบบ u-Learning เพื่อพัฒนาทักษะการแกปญหา Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environment to Develop Problem-solving Skills นพดล ผูมีจรรยา, ปณิตา วรรณพิรุณ การพัฒนารูปแบบกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชคอมพิวเตอรสนับสนุน C2_4 243 การเรียนรูแบบรวมกันตามแนวการจัดการเรียนรูแบบลดภาระทางปญญาเพื่อ พัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู Development Learning and Teaching Using Cognitive Load Reduction Computer-Supported Collaborative Learning to Enhance Knowledge Sharing Process ทัศนีย รอดมั่นคง, ปณิตา วรรณพิรุณ การสงเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะการกํากับตนเองในการเรียน C2_5 251 ของนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิตในการเรียนแบบผสมผสาน นุชจรี บุญเกต, ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ
  • 3. ผลของการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Effect of Collaborative Web-based Learning by Using WebQuest for developing learning achievement for Graduate Students 3 น้ําหนึ่ง ทรัพยสิน1, อ.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ2, ผศ. ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ 1,2,3 ภาควิชาครุศาสตรเทคโนโลยี คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (numnung_s@hotmail.com) (panitaw@kmutnb.ac.th) (palloppi@gmail.com) ABSTRACT สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ประชากรที่ใชในการ The objectives of the research study were 1) to วิ จั ย คื อ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มหาวิ ท ยาลั ย develop Collaborative Web-based Learning by using WebQuest for Graduate Students 2) to รามคํ า แหง จํ า นวน 2,075 คน กลุ ม ตั ว อย า ง คื อ นั ก ศึ กษา compare the learning achievement of Graduate ระดั บ บั ณฑิ ต ศึ ก ษา สาขาวิ ช าเทคโนโลยี สื่อ สารมวลชน Students learning through the Web-based Learning by using WebQuest. Population used in คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคําแหง this study were 2,075 graduate students from Ramkhamhaeng University, the sample study ชั้นปท่ี 1 ภาคเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 ไดจากการสุม were 21 graduate students from Division of อยางแบบหลายขั้นตอน จํานวน 21 คน วิธีการดําเนินการ Mass Communication Technology, Faculty of Mass Communication Technology Academic วิจัยแบงออกเปน 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรียน Year 1/2554, Ramkhamhaeng University, the probability evaluated from a Multi Stage บนเว็ บ แบบร ว มมื อ โดยใช เ ว็ บ เควสท ระยะที่ 2 การ Random Sampling. The tools used in the study เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน are WebQuest on Learning Management System (LMS) and Pretest- Posttest that the Courses บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท เครื่องมือที่ใช name is Film & Television Productions and TV Presentation Technologies. The statistics used in ในการวิจั ย ไดแก บทเรียนบนเว็บ แบบรวมมือโดยใชเว็ บ this study was Mean, Standard Deviation, Item เควสท วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตรและการนําเสนอ Objective Conguence Index and t-test dependent The research has found that: 1) the contents of สื่อโทรทัศน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 10 steps of development of Web-Based กอนเรียนและหลังเรียน สถิติท่ีใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ย Learning by Using WebQuest have a results of the evaluation of the content was good level เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t–test Dependent and results of the the evaluation of the technical was good level 2) the posttest score was higher ผลจากการวิจัย พบวา than pretest score there were statistically 1) บทเรี ย นออนไลน แ บบเว็ บ เควสท ที่ พั ฒ นาขึ้ น significant at level .01 . ประกอบด ว ยเนื้ อ หาทั้ ง หมด 10 ตอน มี ผ ลการประเมิ น Keywords: Web-based Learning, Collaborative Learning, WebQuest, Film and Television คุณภาพดานเนื้อหาอยูในระดับดี และคุณภาพดานเทคนิคอยู Productions and TV Presentation Technologies ในระดับดี 2) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่ เรียนโดยใชบทเรีย น บทคัดยอ ออนไลนแบบเว็บ เควสทที่พัฒ นาขึ้น มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยและพัฒนาโดยมีวัตถุประสงค ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทาง เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บ สถิติที่ระดับ .01 เควสท สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษ าระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ กษา 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลัง เรี ย นบทเรี ย นบนเว็ บ แบบร ว มมื อ โดยใช เ ว็ บ เควสท 219
  • 4. คําสํ าคั ญ : บทเรียนบนเว็ บ , การเรี ยนแบบรวมมือ , การสอนในชั้นเรียนปกติ กับการเรียนการสอนบนเครือขาย เว็ บ เควสท , เทคโนโลยี ก ารผลิ ต ภาพยนตร แ ละการ (ไชยยศ เรืองสุววรณ, 2546) นําเสนอสื่อโทรทัศน บทเรียนแบบเว็บเควสท (Web Quest) เปนกิจกรรมการเรียน 1) บทนํา การสอนที่ เ น น การแสวงหาความรู โ ดยใช เ ทคโนโลยี เทคโนโลยี ท างการศึ กษาเป น การประยุก ต ความรู ท าง สารสนเทศเปนฐาน ครูผูสอนหรือผูออกแบบบทเรียน ไมได วิทยาศาสตรอยางมีระบบในกระบวนการเรียนการสอน ทําหนาที่ถายทอดความรูแกผูเรียนแตฝายเดียว แตเปนผูจัด แกไขปญหา และพัฒนาการศึกษาใหกาวหนาตอไปอยาง กลุมเรียบเรียงและลําดับความรูตางๆ ใหอํานวยความสะดวก มีประสิทธิภาพ ความรูทางวิทยาศาสตรมีความหมายไม ใหผูเรียนไดเขาถึงความรูนั้นๆ อยางเปนระบบเปนขั้นเปน เพียงแตเปนวิทยาศาสตรทางธรรมชาติเทานั้น แตยังรวม ตอน โดยมุงการแกปญหาเปนสําคัญ ลักษณะของเว็บเควสท หมายถึ ง วิท ยาศาสตร ท างจิต วิ ท ยา และศาสตร ใ นการ ที่สําคัญ คือ แสดงเพียงโครงรางเนื้อหาเปนกรอบของความรู บริหารงานครอบคลุมทั้งดานบริหารวิชาการและบริการ ที่ผูเรียนตองศึกษาหรือควรจะศึกษา ไมไดมุงแสดงเนื้อหา ดัง นั้ น ในการนํ าเทคโนโลยี ท างการศึก ษามาปรั บ ปรุ ง รายละเอี ยดของความรู นั้น ๆ ที่ ชี้ชั ด ลงไปโดยตรง ดั งเช น ประสิ ท ธิ ภ าพในการศึ ก ษา จึ ง ครอบคลุ ม 3 ด า น คื อ บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนทั่วๆ ไป ที่ผูออกแบบไดระบุ เครื่ องมือ อุป กรณการสอนตางๆ วั สดุ และวิ ธีก ารและ เนื้อหาเฉพาะเพียงกรอบของวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมที่ เทคนิค ตอ งการเท านั้ น วิ ธีการของเว็ บ เควสท ใ นการเข าสู เ นื้อ หา การนําเทคโนโลยีทางการศึกษามาใชในการจัดการศึกษา ความรูตางๆ ไดโดยใชตัวเชื่อมโยงบนหนาเว็บเพจหลักของ นั้นจะยึดหลักการทั่วไปเหมือนการนําเทคโนโลยีไปใช กรอบโครงสรางเนื้อหาหลัก ที่ผูออกแบบจัดกลุม เรียบเรียง ในสาขาวิ ช าการอื่ น ๆ คื อ ประสิ ท ธิ ภ าพ (Efficiency) และลําดับ ดังที่กลาวไวแลวนั้น เชื่อมโยงไปยังแหลงความรู หมายความวา เมื่อนําเอาเทคโนโลยีมาใชแลวทําใหเกิด อื่นๆในเว็บไซตอื่นที่ผูสอนหรือผูออกแบบพิจารณาเห็นวา มี การเรี ย นรู ต ามที่ ว างจุ ด มุ ง หมายเชิ ง พฤติ ก รรมไว ใ น เนื้อหาสอดคลองกับวัตถุประสงคที่ตองการใหเกิดแกผูเรียน แผนการสอนประสิ ท ธิ ผ ล (Productivity) หลั ง จบ ซึ่งในเว็บเควสทมีองคประกอบ 6 องคประกอบ คือ (ปยนาถ กระบวนการเรียนการสอนแลว ผูเรียนทั้งหมดหรือเกือบ ศรบุญลาม, 2552) ทั้งหมดเกิดการเรียนรูตามจุดมุงหมายที่วางไว ประหยัด 1. สวนนํา (Introduction) เปนขั้นเตรียมตัวผูเรียนในการเขา (Economy) การที่จะนําเอาเทคโนโลยีมาใชในการเรียน สูกิจกรรมการเรียนการสอน เชน สถานการณ หรือปญหาซึ่ง การสอน ตองตระหนักถึงขอนี้ในการเรียนการสอนถามี เปนกรอบกวางๆ ประสิ ท ธิ ภ าพและประสิ ท ธิ ผ ลใช ท รั พ ยากรอย า ง 2. สวนภารกิจ (Task) เปนขอปญหา หรือประเด็นที่ผูเรียน ประหยัดก็ยอมถือวาสามารถบริหารจัดการเกินคุมคา ตองหาคําตอบ การเรียนการสอนบนเครือขาย (Web-based Instruction) 3. สวนการชี้แหลงความรู (Resources) เปนการใหแหลง เปนการผนวกคุณสมบัติไฮเปอรมีเดียเขากับคุณสมบัติ สารสนเทศที่มีบน World Wide Web เพื่อวาผูเรียนสามารถ ของเครือขาย เวิลดไวดเว็บ เพื่อสรางเสริมสิ่งแวดลอม นําสาระความรูนั้นมาแกปญหาได แหงการเรียนในมิติที่ไมมี ขอบเขตจํากัดดวยระยะทาง 4. สวนกระบวนการ (Process) เปนกิจกรรมที่ผูเรียนตองทํา และระยะเวลาที่แตกตางกันของผูเรียนการสอนบนเว็บ กิจกรรมนั้น ควรเนนการสรางองค ความรูดวยตนเอง และ หรื อ บนระบบเครื อ ข า ย เป น การพั ฒ นาบทเรี ย นใน กระบวนการเรียนแบบรวมมือ ลั ก ษณะสื่ อ หลายมิ ติ ทั้ ง ที่ เ ป น รายวิ ช า หรื อ โมดุ ล ตาม 5. สวนประเมินผล (Evaluation) เปนขั้นติดตามวาผูเรียนได หลักสูตรขึ้นไวใชเปนสื่อการเรียนการสอน เรียกวา การ บรรลุวัตถุประสงคเพียงไร ควรเนนการวัดผลในสภาพที่เปน เรียนการสอนบนเครือขาย (Web-based Instruction : จริง ซึ่งอาจมีการจัดทําแฟมขอมูล WBI) ความเหมือนและความแตกตางระหวางการเรียน 220
  • 5. 6. สวนสรุป (Conclusion) เปนขั้นสรุปความคิดรวบยอด การออกแบบการเรียนการสอน การเรียนแบบเว็บเควสท ที่ผูเรียนชวยกันแสวงหา และสรางขึ้นมาเอง เปนการฝก 1.ขั้นการวิเคราะห (Dodge, 1997) ใหนกเรียนมีการคิดวิเคราะห ฝกการคิดขั้นสูง ทักษะการ ั 2.ขั้นการออกแบบ 1.สวนนํา 3. ขั้นการพัฒนา 2.ภารกิจ สืบเสาะในการเรียนรู 4.ขั้นการนําไปทดลองใช 3.กระบวนการ จากที่ ม าและความสํ า คั ญ ของป ญ หาดั ง กล า ว จึ ง 5. ขั้นการประเมินผล 4.แหลงขอมูล จําเปนตองมีการบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ โดยใชเว็บ 5.การประเมินผล 6.การสรุปผล เควสท ขึ้นเพื่อเปนแนวทางในการจัดการเรียนการสอน การเรียนการสอนแบบรวมมือ ผานระบบเครือขายเทคโนโลยีสารสนเทศตอไป (Johnson and Johnson, 2003) 1.การพึ่งพาเกื้อกูล การเรียนจัดการเรียนบน เว็บ(ไชยยศ, 2548) 2) วัตถุประสงคการวิจัย 2.ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบไดของ สมาชิกแตละคน 1.จุดประสงคการเรียน 2.1) เพื่อการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช 3.การปรึกษากันอยางใกลชิด 2.เนื้อหาตามหลักสูตร เว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 4.การใชทักษะทํางานรวมกัน 3.การปฏิสัมพันธระหวาง ผูสอนกับผูเรียน 2.2) เพื่อศึกษาผลการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย 4.ความรวมมือระหวางผูเรียน ใชเว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา 5.การใหผลปอนกลับ 6.ประสบการณการเรียนรู 3) สมมติฐานการวิจัย บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ โดยใชเว็บเควสท นักศึกษาที่เรียนโดยใช บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย ใชเว็บเควสทมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกวา กอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ.01 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รูปที่ 1: กรอบแนวคิดการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ 4) ขอบเขตการวิจัย โดยใชเว็บเควสท 4.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง  ประชากร คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัย 5) วิธีดําเนินการวิจย ั รามคําแหง จํานวน 2,075 คน ขั้นตอนการวิจัยออกเปน 2 ระยะ ดังนี้ กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชา ระยะที่ 1 การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บ เทคโนโลยี ส่ื อ สารมวลชน คณะเทคโนโลยี ก าร สื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยรามคําแหง ชั้นปที่ 1 ภาค เควสท สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา เนินตามขั้นตอน เรียนที่ 1 ปการศึกษา 2554 ไดจากการสุมอยางแบบ การออกแบบระบบการเรียนการสอน (Instructional System หลายขั้นตอน จํานวน 21 คน Design: ISD) 5 ขั้นตอนมีดงตอไปนี้ ั 1. ขั้นการวิเคราะห (Analysis) 4.2) ตัวแปรในการวิจัย 1.1วิเคราะหเนื้อหา (Content Analysis) เนื้อหาที่ใชในการ ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) คือ บทเรียนบน วิจัยครั้งนี้ คือ วิชา TM 653 เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร เว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท และการนําเสนอสื่อโทรทัศน ซึ่งเปนสวนหนึ่งของการศึกษา ตั ว แปรตาม (Dependent Variable) คื อ ผลสั ม ฤทธิ์ หลั ก สู ต รศิ ล ปศาตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าเทคโนโลยี ทางการเรียน สื่อสารมวลชน คณะเทคโนโลยีการสื่อสารมวลชน 1.2 วิเคราะหผูเรียน (Learner Analysis) กลุมตัวอยางที่ใชใน การศึ ก ษาครั้ ง นี้ เ ป น นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา มี ความสามารถและทักษะทางดานการใชงานระบบเครือขาย 221
  • 6. คอมพิวเตอรและบริการตางๆ บนระบบอินเทอรเน็ตเปน กิจกรรมที่ 3 กระบวนการ อยางดี และมีทัศนคติที่ดีกับการเรียนการสอนบนเว็บ 4.นักศึกษา อภิปรายกลุมเกี่ยวกับขอมูลที่ไดจากการสืบคน 1.3 วิเคราะหบริบทที่เกี่ยวของ (Context Analysis) ใน รายบุคคล ผานทางกระดานประจําสัปดาห การจัดการกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใชบทเรียนบน 5. นักศึกษา ทํารายงานกลุม เกี่ยวกับประเด็นปญหาประจํา เว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสทใหมีประสิทธิภาพและ สัปดาห 6. นักศึกษา ทํา Power Point และสงแทนนําเสนองานที่ไดรับ ประสิท ธิ ผ ลตามวั ต ถุ ประสงค นั ก ศึ กษาควรมี เครื่ อ ง มอบหมายหนาชั้นเรียน (ระยะ เวลาในการนําเสนอ 10 นาที) คอมพิวเตอรหรืออุปกรณที่ใชในการศึกษาบทเรียนดวย กิจกรรมที่ 4 แหลงขอมูล ตนเองผานเว็บ เชน Smart phone, Tablet PC หรือ 1.นักศึกษา ศึกษาคนควาขอมูลประกอบการทํารายงาน จะ เครื่ อ งคอมพิ ว เตอร แ บบพกพา และมี ค วรมี ร ะบบ แหลงขอมูลในระบบบริหารจัดการเรียนรู และเว็บไซตอื่นๆ โครงข า ยพื้ น ฐานทางด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศที่ ที่เกี่ยวของ สนับสนุน เชน ระบบเครือขายอินเทอรเน็ต และระบบ กิจกรรมที่ 5 การประเมินผล เครือขายอินเทอรเน็ตแบบไรสาย 2. ประเมินผลการเรียนจากรายงานกลุม และการนําเสนองานที่ ไดรับมอบหมายหนาชั้นเรียน 2. ขั้นการออกแบบ (Design) 3. การประเมินตามสภาพจริง จากการมีสวนรวมในกิจกรรม 2.1 ออกแบบ เนื้อหา วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร กลุม และการนําเสนอสื่อโทรทัศน 4.ประเมินความรู โดยใชแบบทดสอบประจําสัปดาห 2.2 สรางบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท กิจกรรมที่ 6 การสรุปผล สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา วิชา เทคโนโลยีการ อาจารย แ ละนั ก ศึ ก ษาร ว มกั น สรุ ป ผลการเรี ย นรู ป ระจํ า ผลิตภาพยนตรและการนําเสนอสื่อโทรทัศน โดยดําเนิน สัปดาห กิจกรรมการเรียนการสอนตามรูปแบบเว็บเควสท 3. ขั้นการพัฒนา (Development) 2.2.1 ออกแบบขั้ นตอนกิจกรรมบทเรียนบนเว็บแบบ การพั ฒ นาบทเรี ย นบนเว็ บ แบบร วมมื อ โดยใชเ ว็ บ เควสท รว มมื อ บนเว็ บ โดยมี กิจ กรรมการเรี ย นการสอน แบ ง สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ออกเปน 6 กิจกรรม ดังนี้ ดําเนินตามขั้นตอน ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 สวนนํา 3.1 การพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท 1. อาจารย บรรยายเนื้อหาประจําสัปดาห สํ า หรั บ นั ก ศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา ดํ า เนิ น การจั ด การ 2. นักศึกษา ศึกษาเนื้อหาจากการบรรยายในชั้นเรียน เนื้อหาและกิจกรรมในระบบบริหารจัดการเรียนรู (Learning และศึกษาเนื้อหาเพิ่มเติม จากระบบบริหารจัดการเรียนรู Management System :LMS) ของ Moodle LMS เขาถึงไดที่ 3. อาจารยและนักศึกษา รวมกันอภิปราย เพื่อกําหนด http ://www.elearning.kmutnb.ac.th ประเด็นปญหาประจําสัปดาห 3.2 ออกแบบขั้นตอนกิจกรรม การพัฒนาบทเรียนบนเว็บ 4. อาจารย มอบหมายใหนักศึกษา ทํารายงานการศึกษา แบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท คนควาเกี่ยวกับประเด็นปญหาประจําสัปดาห 3.3 พัฒนาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน กิจกรรมที่ 2 ภารกิจ และหลังเรียน วิชา เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตรและการ 1.นักศึกษา แบงกลุมๆ ละ 3-5 ตามความสมัครใจ นําเสนอสื่อโทรทัศน 2. นักศึกษา ดําเนินการสืบคนขอมูลเพื่อแกปญาหาจาก  3.3.1 สรางแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอน ประเด็นปญหาประจําที่ไดรับมอบหมาย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนและหลังเรียน เปนแบบ 3. นักศึกษาแตละคน โพสตขอมูลที่สบคนไดในกระดาน ื ปรนัย 4 ตัวเลือก จํานวน 30 ขอ โดยถาตอบถูกให1 คะแนน เสวนาประจําสัปดาห 222
  • 7. ถาตอบผิดให 0 คะแนน ซึ่งมีขั้นตอนการสรางแบบวัด แบบแผนการวิจัยแบบ One Group Pretest – Posttest Design ตามแนวคิดของBloom (1972) ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ 3.3.2 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียน ที่ O1 X O2 พัฒนาขึ้นไปใหอาจารยที่ปรึกษาทําการตรวจสอบความ ถูกตอง 4. ขั้นการนําไปทดลองใช (Implementation) 1. การวางแผนกอนดําเนินการทดลอง 4.1 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียน 1.1 การเตรี ย มความพร อมของสถานที่ ห องปฏิ บั ติ การ ที่พัฒนาขึ้นไปทดลองใชกับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คอมพิ วเตอร ได แก เครื่ องคอมพิ วเตอร การเชื่ อ มต อ ระบบ จํานวน 5 คนเพื่อทดสอบหาจุดบกพรองของบทเรียนเพื่อ เครือขายอินเทอรเน็ตและโปรแกรมที่เกี่ยวของ นํามาปรับปรุงแกไข 1.2 การเตรียม ความพรอมของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 4.2 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์กอนและหลังเรียน ไป 2. ดําเนินการทดลองการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย ใชกับระบบบริหารจัดการเรียนรู ใชเว็บเควสท ไปใชกับกลุมตัวอยาง 5. ขั้นการประเมินผล (Evaluation) 2.1 กลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5.1 นําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียน กอนเรียน จํานวน 30 ขอ ใชเวลา 1 ชั่วโมง และหลังเรียน ไปใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 3 ทาน ทํา 2.2 กลุมตัวอยางศึกษาเนื้อหาตามขั้นตอนกิจกรรมการเรียน การประเมิ น ความสอดคล อ งระหว า งข อ คํ า ถามกั บ แบบเว็บเควสท วัตถุประสงคการวิจัย(IOC: Item Objective Conguence 2.3 กลุมตัวอยางทําแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Index) หลังเรียน จํานวน 30 ขอ ใชเวลา 1 ชัวโมง ่ 5.2 นําผลการประเมินแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ 3. ตรวจคะแนนแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอน เรียนกอนเรียนและหลังเรียน ที่ไดจาก Item Objective เรียนและหลังเรียน โดยกําหนดใหขอที่ตอบถูกได 1 คะแนน Conguence Index) โดยพิจารณาเลือกขอขอคําถามที่มีคา ตอบผิดได 0 คะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 30 คะแนน รวม ดัชนีความสอดคลองระหวาง 0.67 -1.00 และเลือกขอ ขอมูลเพื่อนําไปวิเคราะหตอไป คํ า ถามที่ ผ า นเกณฑ ก ารประเมิ น จํ า นวน 30 ข อ ซึ่ ง ครอบคลุมตามวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมเพื่อนํามาใช 5) ผลการวิจัย เปนทดสอบวั ดผลสัมฤทธิ์ท างการเรียนกอนเรียนและ ตอนที่ 1 บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท หลังผานการจัดการเนื้อหาและกิจกรรมในระบบบริหาร สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จัดการเรียนรู 1.1 บทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสท วิชา TM 5.3 นํ า แบบประเมิ น คุ ณภาพสื่ อ ด า นเนื้ อ หา และการ 653 เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตรและการนําเสนอสื่อ ประเมินคุณภาพสื่อดานการออกแบบการเรียนการสอน โทรทัศน (Film & Television Productions and TV บนเว็บที่พัฒนาขึ้นไปใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหา 3 ทาน Presentation Technologies) ประกอบดวย 10 หัวขอ ดังนี้ และผูเชี่ยวชาญดานการออกแบบการเรียนการสอนบน 1. ประวัติวิวัฒนาการวิทยุโทรทัศน เว็ บ 3 ท า น การประเมิ น คุ ณ ภาพด า นเนื้ อ หาและการ 2. การบริหารงานกิจการวิทยุโทรทัศน ออกแบบการเรียนการสอนบนเว็บ 3. สถานีวิทยุโทรทัศน 4. รายการวิทยุโทรทัศน ระยะที่ 2 การศึกษาผลการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือ 5. เทคนิคการผลิตรายการวิทยุโทรทัศน โดยใชเว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับ 6. การกํากับรายการวิทยุโทรทัศน การศึกษาผลการใชบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช 7. การผลิตรายการบันเทิง เว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษาครั้งนี้ใช 8. การผลิตรายการสารคดี ขาว การโฆษณา และอื่นๆ 223
  • 8. 9. การผลิตรายการวิทยุโทรทัศนการศึกษา อยางมีนัยสําคัญทางสถิตที่ .01 สอดคลองกับงานวิจัย เชิดชัย 10. การผลิตภาพยนตร รักษาอินทร (2553) ปยธิดา รอบรู (2551) และ บุญสง ประ 1.2 ผลการประเมินคุณภาพของบทเรียนบนเว็บแบบ จิตร (2551) ที่พบวา การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดย รวมมือโดยใชเว็บเควสท ใช บ ทเรี ย นออนไลน แ บบเว็ บ เควสท สามารถพั ฒ นา การประเมินการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช ผลสัมฤทธิ์ทางเรียนของผูเรียนได เว็บเควสทสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดานเนื้อหา พบว า ผูเ ชี่ ย วชาญด า นเนื้ อ หา มี ค วามเห็ น ด านเนื้ อ หาที่ 7) ขอเสนอแนะ พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมดี ( x =3.77,S.D.= 0.43) สวน 7.1) ขอเสนอแนะสําหรับการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน การประเมินการพัฒนาบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดยใช 7.1.1) สถาบันการศึกษาที่นํารูปแบบการจัดการเรียนแบบ เว็บเควสท สําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ดานการ รวมมือบนเว็บโดยใชเว็ บเควสท ควรเตรียมหองปฏิบัติการ เรียนการสอนบนเว็บ พบวา ผูเชี่ยวชาญดานการเรียนการ คอมพิ ว เตอร ระบบเครื อ ข า ยอิ น เตอร เ น็ ต และให ค วามรู สอนบนเว็บมีความเห็นดานการเรียนการสอนบนเว็บ ที่ เบื้ อ งต น เกี่ ยวกั บการใชงานคอมพิ วเตอร ผ านระบบบริ หาร พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมดี ( x = 3.17,S.D.= 0.64) จัดการเรียนรู ( LMS ) ของ Moodle LMS ตลอดจนกิจกรรม การเรียนโดยใชเว็บเควสท ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 7.1.2) การนํารูปแบบการจัดการเรียนแบบรวมมือบนเว็บ กอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย โดยใชเว็บเควสทไปใช ควรมีคณาจารยหรือผูเกี่ยวของการ ใชเว็บเควสท ชี้แจงเกี่ยวกับวิธีและขั้นตอนกิจกรรมของเว็บเควสทอยาง ชัดเจน เพื่อสรางความเขาใจใหกับผูเขารับการทดสอบหรือ ตารางที่ 1: ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ฝกอบรม เพราะผลการจัดการเรียนแบบรวมมือ จําเปนอยาง กอนเรียนและหลังเรียนบทเรียนบนเว็บแบบรวมมือโดย ยิ่งที่จะตองอาศัยความเขาใจเพื่อใหเกิ ดทักษะในทางปฏิบัติ ใชเว็บเควสท ไดอยางถูกตอง 7.2) ขอเสนอแนะสําหรับการวิจัยในครั้งตอไป คะแนนผลสัมฤทธิ์ คะแนน x ควรวิจัยเพื่อศึกษาผลการใชบทเรียนแบบรวมมือบนเว็บโดย S.D. t-test Sig. ทางการเรียน เต็ม ใช เ ว็ บ เควสท ในด า นอื่ น ๆ เช น ความร ว มมื อ ในการเรี ย น กอนเรียน 30 15.24 2.64 -25.59 .00 ความคิดสรางสรรค การคิดแกปญหา หรือความพึงพอใจใน หลังเรียน 30 21.19 2.23 การเรียน เปนตน **P>.01 จากตารางที่ 1 พบวา นักศึกษาที่เรียนโดยใชบทเรียนบน 8) เอกสารอางอิง เว็บแบบรวมมือโดยใชเว็บเควสทมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เชิดชัย รักษาอินทร. (2553). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ เรียนหลังเรียน ( x =21.19, S.D. = 2.23) สูงกวากอน ทางการเรียนและการคิดวิเคราะหดวยบทเรียน เรียน ( x = 15.24, S.D. = 2.64) อยางมีนัยสําคัญทาง ออนไลนแบบเว็บเควสท เรื่อง การสรางเว็บเพจ สถิต.ิ 01 ระหวางนักเรียนที่เรียนแบบอิสระและเรียนแบบ รวมมือ. วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต 6) อภิปรายผล สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษามหาวิทยาลัย นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาดวยแบบวัดผลวัดผลสัมฤทธิ์ มหาสารคาม. ทางการเรียนกอนและหลังเรียนรายวิชา เทคโนโลยีการ ผลิตภาพยนตรและการนําเสนอสื่อทีวี พบวา นักศึกษามี คาเฉลี่ยของผลสัมฤทธิ์ ทางเรีย นหลังเรียนสูง กวากอ น 224
  • 9. ไชยยศ เรืองสุววรณ. (2546). เอกสารประกอบการ บรรยายรายวิชา 0503860. ภาควิชาเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษามหาวิทยาลัยมหาสารคาม, มหาสารคาม บุญสง ประจิตร. (2551). การพัฒนาบทเรียนออนไลน แบบเว็บเควสท เรื่องการชวยฟนคืนชีพ รายวิชาสุขศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 6 การศึกษาคนควาอิสระของ. วิทยานิพนธ ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปยธิดา รอบรู. (2551). การเปรียบเทียบผลการเรียนรู เรื่อง คําควบกล้ํา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปที่ 4 ระหวางการเรียนรูดวยโปรแกรมบทเรียน แบบเว็บเควสทกับการเรียนตามคูมือครู.  วิทยานิพนธปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัย มหาสารคาม. ปยนาถ ศรบุญลา. (2552). ผลการเรียนโดยใชบทเรียน แบบเว็บเควสทและการสอนแบบ โครงงาน เรื่อง การจัดการ ฐานขอมูล เบื้องตน ที่มีตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการคิด วิเคราะหและทักษะการสืบเสาะ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5. ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. Bloom, Benjamin Samnel. (1972).Taxonomy of Educational Objectives. New York: David Mckay. William W., and Stephen G. J. (2009). Research methods in education: an introduction. 9th ed. Boston, U.S.: Pearson. 225