SlideShare a Scribd company logo
1 of 75
Download to read offline
ตอนที่ ๑
ข้อมูลพื้นฐาน
1. ที่ตั้งโรงเรียน
ชื่อโรงเรียนบ้านโคกสามัคคี ที่ตั้งบ้านโคกสามัคคี ตาบล. หนองม่วง อาเภอ โคกสูง จังหวัด.
สระแก้ว สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต ๒ เปิดสอนระดับชั้น
อนุบาล๑ ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เนื้อที่ ๑๓ ไร่ ๒๘๐ ตารางวา เขตพื้นที่บริการ หมู่ที่ ๖
บ้านโคกสามัคคีและหมู่ที่ ๑๓ บ้านถาวรสามัคคี
๒. ข้อมูลผู้บริหาร
๒.๑ ผู้อานวยการโรงเรียน นางชาลี บุญญา โทรศัพท์ ๐๘๑๓๗๗๓๒๖๕ e-Mail
cha๑๙๕๗๑@hotmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด กศ.ม. .สาขา บริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่
โรงเรียนนี้ตั้งแต่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา ๒๐ ปี ๕ เดือน
๓. ข้อมูลนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๗)
จาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน
ระดับชั้นเรียน จานวนห้อง
เพศ
รวม เฉลี่ยต่อห้อง
ชาย หญิง
อ.๒
อ.๒
๑
๑
๘
๔
๘
๖
๑๖
๑๐
รวม ๒ ๑๒ ๑๔ ๒๘
ป.๑
ป.๒
ป.๓
ป.๔
ป.๕
ป.๖
๑
๑
๑
๑
๑
๑
๑๔
๑๑
๑๑
๙
๑๔
๑๔
๖
๘
๖
๑๒
๗
๙
๒๐
๑๙
๑๘
๒๑
๒๐
๒๓
รวม ๖ ๗๓ ๖๘ ๑๔๑
ม.๑
ม.๒
ม.๓
๑
๑
๑
๑๑
๑๒
๕
๑๒
๑๐
๑
๒๓
๒๒
๖
รวม ๓ ๒๘ ๒๓ ๕๑
รวมทั้งหมด ๑๑ ๑๑๔ ๘๔ ๑๙๕
๒
ข้อมูลครูและบุคลากร
ที่ ชื่อ-สกุล อายุ
อายุ
ราชการ
ตาแหน่ง/
วิทยฐานะ
วุฒิ วิชาเอก
สอน
วิชา/ชั้น
จานวน
ครั้ง/
ชั่วโมงที่
รับการ
พัฒนา/ปี
1 นางชาลี บุญญา 5๗ 3๖ ชานาญการ
พิเศษ
กศม. บริหารการศึกษา -
2 นายปรีดา มานะต่อ 5๓ 2๗ ชานาญการพิเศษ คบ. พละศึกษา ป.4
3 นายธนดล โสธิฤทธิ์ 5๒ 24 ชานาญการ คบ. การประถม ป.4-ป.6
4 นายวิโรจน์ เชียมขุนทด 47 17 ชานาญการ คบ. ภาษาไทย ป.4-ป.6
5 นางนงนุช ดั้งชารี 45 19 ชานาญการ
พิเศษ
คบ. การประถม ป.3
6 นางวราวรรณ พองเสียง 37 13 ชานาญการพิเศษ คบ. การประถม ป.2
7 น.ส.จุฑารัตน์ อะโรคา 31 1 ครู ผู้ช่วย คบ. วิทยาศาสตร์ ป.4-ป6
8 นางสาวสุขเนตร ชมชื่น 39 8 ชานาญการ คบ. วิทย์ทั่วไป ม.3
9 นางสาวศิริกุล จุลศรี 37 5 ครู คศ.1 คบ. การประถม ป.1
10 นายเอกวิทย์ นาทุ่งมน 41 3 ครู คศ.1 คบ. ดนตรีศึกษา ม.1
11 นายสมพงษ์ จิตรสว่าง 45 9 ชานาญการ คบ. อุตสาหกรรม ป.6
12 นางสาวรัตยากร คาบาง 43 19 ชานาญการ คบ. ภาษาอังกฤษ ป.5
13 นางสาวสุภลักษณ์ บุตรพรหม 25 1 ครูผู้ช่วย คบ. การศึกษาปฐมวัย อบ.1
14 นางสาวศิรดา ดุลย์นี 31 1 ครูผู้ช่วย คบ. ภาษาไทย ม1-ม3
15 นายสุรศักดิ์ ปาแดง 28 1 ครูผู้ช่วย คบ. คณิตศาสตร์ ม1-ม3
16 นายชัยพร ดีกร 25 1 ครูผู้ช่วย คบ. คอมพิวเตอร์ศึกษา ม.1-ม.3
17 นางสายรุ้ง เชียงสระน้อย 36 10 พนักงาน
ราชการ
ศษ.บ. ปฐมวัย อนุบาล
18 นางสาวปานทิพย์ ปะทา 33 2 พนักงานราชการ คบ. สังคม ป.5
19 นายมิตร แก้ววงษ์ 39 1 ลูกจ้างชั่วคราว ม.3 นักการ
ภารโรง
20 น.ส.ชลลดา พรหมทิพย์ 26 1 ลูกจ้างชั่วคราว ม.3 ครูพี่เลี้ยง
เด็ก
พิการ
๑) ครูที่สอนตรงวิชาเอก/วิชา จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ94.11
๒) ครูที่สอนตรงความถนัด/ความสามารถ จานวน1คน คิดเป็นร้อยละ 5.88
๓
ข้อมูลอาคารสถานที่
อาคารเรียน จานวน ๔ หลัง อาคารประกอบจานวน ๑ หลัง ส้วม ๓ หลัง สนาม
ฟุตบอล ๑ สนาม สนามบาสเก็ตบอล ๑ สนาม
ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม
๑)สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะของชุมชนชนบทมีบ้านที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชิดติดกันมี
ประชากรประมาณ๑,๖๐๐ คน บริเวณใกล้เคียง อาชีพหลักของชุมชน คือทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือศาสนา
พุทธ
๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ป.๖อาชีพหลักคือ ทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือศาสนา
พุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ๓๐,๐๐๐บาท
๔
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนบ้านบ้านโคกสามัคคีจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๑ พุทธศักราช ๒๕๕๗) สาหรับหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนได้กาหนดโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ได้กาหนดกรอบเวลาเรียนตามสัดส่วน
สาระการเรียนรู้ ดังแสดงในตารางต่อไปนี้
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษากาหนดกรอบเวลาเรียน ดังนี้
กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม
เวลาเรียน
ระดับประถมศึกษา
ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖
*กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐
วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
- ประวัติศาสตร์
- ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
- หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการ
ดาเนินชีวิตในสังคม
- เศรษฐศาสตร์
- ภูมิศาสตร์
๑๒๐
(๔๐)
(๘๐)
๑๒๐
(๔๐)
(๘๐)
๑๒๐
(๔๐)
(๘๐)
๑๒๐
(๔๐)
(๘๐)
๑๒๐
(๔๐)
(๘๐)
๑๒๐
(๔๐)
(๘๐)
สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐
ภาษาอังกฤษเสริมทักษะ ๔๐ ๔๐ ๔๐
หน้าที่พลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐
*กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐
กิจกรรมนักเรียน
- ลูกเสือ
- ชมรม,ชุมนุม
๔๐
๓๐
๔๐
๓๐
๔๐
๓๐
๔๐
๓๐
๔๐
๓๐
๔๐
๓๐
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
รวมเวลาเรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐
รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๑,๐4๐ชั่วโมง / ปี
 โครงสร้างหลักสูตรจานวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน ระดับปฐมวัย ทั้งปี เท่ากับ ๘๐๐ ชั่วโมง
 โครงสร้างหลักสูตรจานวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน ระดับขั้นพื้นฐาน ทั้งปี เท่ากับ ๑,๐4๐ ชั่วโมง
๕
แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
๑) ห้องสมุด มีขนาด๒๐x ๑๕ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุดประมาณ๑๖,๐๐๐เล่ม
การสืบค้นหนังสือและการยืม - คืนใช้ระบบเจ้าหน้าที่รับยืม – คืน
จานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษานี้ เฉลี่ย๑๒๐คน/วัน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๔๑
ของนักเรียนทั้งหมด
๒) ห้องปฏิบัติการ/ห้องปฏิบัติการ อื่น ๆ
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จานวน๑ห้อง
ห้องดนตรี จานวน๑ห้อง
ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จานวน ๑ ห้อง
ห้องอาเซียน จานวน 1 ห้อง
๓) คอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อการเรียนการสอน๒๐เครื่อง
ใช้เพื่อเพื่อสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เนต๒๐เครื่อง
ใช้เพื่อการบริหารจัดการ๒เครื่อง
จานวนนักเรียนที่สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เนตในปีการศึกษา ๒๕๕7 เฉลี่ย ๒๕คนต่อวัน
คิดเป็นร้อยละ๑๑.๑๑ของจานวนนักเรียนทั้งหมด
๔) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน
แหล่งเรียนรู้ภายใน สถิติการใช้
จานวนครั้ง/ปีชื่อแหล่งเรียนรู้
๑. ห้องดนตรี
๒. ห้องพยาบาล
๓. ห้องคอมพิวเตอร์
๔. สนามกีฬา
๕. สวนหย่อม
๖. โรงอาหาร
๗. ห้องครัว
๘. แปลงเกษตร
๒๐๐
๑๒๐
๒๐๐
๒๐๐
๕๐
๑๔๐
๑๐๐
๑๒๐
๕) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน
แหล่งเรียนรู้ภายนอก สถิติการใช้
จานวนครั้ง/ปีชื่อแหล่งเรียนรู้
๑. ศูนย์สาธิตการตลาด
๒. วัดสามัคคีสันติธรรม
๒๕
๓๐
๖) ปราชญ์ชาวบ้าน / ภูมิปัญญาท้องถิ่น / ผู้ทรงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู / หรือ
นักเรียนไปเรียนรู้ ในปีการศึกษานี้
๖.๑ ชื่อ-สกุล นางเตือนใจ เผือกสีสุก ให้ความรู้เรื่อง งานจักสานวัสดุในท้องถิ่น
สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน๑๒ครั้ง/ปี
๖
๑๐. ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา
ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล
สถานศึกษา -โรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนรู้การ
สหกรณ์
- โรงเรียนต้นแบบการจัดการถนน
ปลอดภัยระดับเขตพื้นที่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสระแก้ว เขต๒
ครู
นายปรีดา มานะต่อ
เป็นผู้มีผลงานดีเด่นในการป้องกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาสระแก้ว เขต๒
๑๐.๓ งาน / โครงการ / กิจกรรมที่ประสบความสาเร็จ /ที่ภาคภูมิใจ
ที่ ชื่องาน/โครงการ/
กิจกรรม
วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีดาเนินการ (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ
(จานวน/ร้อยละ)
๑ พัฒนาการเรียนการ
สอนระดับ
ประถมศึกษา
๑.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้
อย่างมีความสุข เรียนรู้จาก
การปฏิบัติจริง และเรียนรู้จาก
บุคคลอื่น
๒,เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนา
กระบวนการเรียนรู้ตาม
ศักยภาพของผู้เรียน
๑.ประชุมชี้แจงคณะครูเพื่อ
ชี้แจงโครงการ
๒.แต่งตั้งคณะกรรมการ
ดาเนินงาน
๓.จัดทาโครงการและขอ
อนุมัติ
๔.ดาเนินงานตามโครงการ
๕.ติดตามผลการดาเนินงาน
๖. สรุปผลและรายงาน
โครงการ
นักเรียนร้อยละ ๑๐๐
ผ่านเกณฑ์การประเมิน
ทุกกลุ่มสาระ
๗
๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายในรอบที่ผ่านมา
๑๑.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายใน
ผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา
ผลการติดตามตรวจสอบ
โดยหน่วยงานต้นสังกัด
มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก
มาตรฐานที่ 1เด็กมีพัฒนาการทางร่างกาย ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และ
จิตใจ
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง
มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 6 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามหน้าที่อย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา ดีมาก
ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 8 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพ
ภายในสถานศึกษาตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
ดีมาก ดีเยี่ยม
มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษาและ
ผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตามบทบาท
หน้าที่อย่างประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
ดีมาก ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุ
เป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้น
ของการศึกษาปฐมวัย
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 11 การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบาย
และแนวทางปฏิรูปสถานศึกษา
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
๘
11.2ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินคุณภาพภายใน
ผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา
ผลการติดตามตรวจสอบ
โดยหน่วยงานต้นสังกัด
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและ
ค่านิยมที่พึงประสงค์
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้
ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่าง
เป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ
แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิผล
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น
ตามหลักสูตร
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการ
ทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมี
เจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่
อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามทบาทหน้าที่
อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานด้านการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษาและ
ผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตามบทบาท
หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผล
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินคุณภาพภายใน
ผลการประเมินตนเอง
ของสถานศึกษา
ผลการติดตามตรวจสอบ
โดยหน่วยงานต้นสังกัด
มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร
กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา
คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อม
และการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเต็ม
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
๙
ศักยภาพ
มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพ
ภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้างส่งเสริม
สนับสนุนให้เสถานศึกษาเป็นสังคมในการ
เรียนรู้
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุ
เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่
กาหนดขึ้น
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย
จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ
พัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับ
คุณภาพสูงขึ้น
ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
๑๐
1ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามที่ผ่านมา
โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ. รอบสาม เมื่อวันที่ ๒๖ , ๒๗
๓๐ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ดังนี้
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
น้าหนัก
คะแนน
ระดับ
คุณภาพ
แปลคุณภาพ
มาตรฐาน
กลุ่มตัวบุ่งชี้พื้นฐาน
ตัวบุ่งชี้ที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5.00 4.00 ดี
ตัวบุ่งชี้ที่ 2เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย 5.00 5.00 ดีมาก
ตัวบุ่งชี้ที่ 3เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย 5.00 4.00 ดี
ตัวบุ่งชี้ที่ 4เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย 10.00 8.50 ดี
ตัวบุ่งชี้ที่ 5เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป 10.00 10.00 ดีมาก
ตัวบุ่งชี้ที่ 6ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนที่เน้น
เด็กเป็นสาคัญ
35.00 27.00 ดี
ตัวบุ่งชี้ที่ 7ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
15.00 14.00 ดีมาก
ตัวบุ่งชี้ที่ 8ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน 5.00 4.78 ดีมาก
กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์
ตัวบุ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณฺธาน/วิสัยทัศน์
พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา
2.50 2.50 ดีมาก
ตัวบุ่งชี้ที่ 10ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน
เป็นเอกลักษณ์ของสถาศึกษา
2.50 2.50 ดีมาก
ตัวบุ่งชี้มาตรการส่งเสริม
ตัวบุ่งชี้ที่ 11ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท
ของสถานศึกษา
2.50 2.50 ดีมาก
ตัวบุ่งชี้ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐานมาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็น
เลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
2.50 2.50 ดีมาก
รวมคะแนน 100.00 87.28 ดี
๑๑
ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
น้าหนัก
(คะแนน)
คะแนน
ที่ได้
ระดับคุณภาพ
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ 1ผู้เรียนมีสุขภาพกายและมีสุขภาพจิตที่ดี
10 9.59 ดีมาก
มาตรฐานที่ 2ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง
ประสงค์
10 9.34 ดีมาก
มาตรฐานที่ 3ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10 8.96 ดี
มาตรฐานที่ 4ผู้เรียนคิดเป็นทาเป็น 10 8.93 ดี
มาตรฐานที่ 5ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20 7.56 ต้องปรับปรุง
มาตรฐานที่ 6ประสิทธิ์ภาพของการจัดการเรียนการสอนที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
10 8 ดี
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ 7ประสิทธิ์ภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา
สถานศึกษา
5 4.3 ดี
มาตรฐานที่ 8พัฒนาการของประกันคุณภาพภายในโดย
สถานศึกษาและต้นสังกัด
5 4.75 ดีมาก
มาตรฐานที่ 9ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปฏิธาน
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง
สถานศึกษา
5 5 ดีมาก
มาตรฐานที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้น และจุดเน้นที่สงผล
สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา
5 5 ดีมาก
มาตรฐานที่ 11ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม
บทบาทของสถานศึกษา
5 5 ดีมาก
มาตรฐานที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ
มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่
สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปศึกษา
5 5 ดีมาก
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ปฐมวัย
ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๗.๒๘
มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้
ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน
รับรอง  ไม่รับรอง
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ขั้นพื้นฐาน
ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๑.๔๓
มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้
มีตัวบ่งชี้ที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 1 ตัวบ่งชี้คือตัวบ่งชี้ที่5
รวมคะแนน 81.43
แปลคุณภาพในภาพรวม ดี
๑๒
รับรอง  ไม่รับรอง
ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก
๑. ด้านการจัดการศึกษา
๑) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะในกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน กลุ่มการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง สุขศึกษาและพลศึกษา และศิลปะที่มีระดับ
คุณภาพพอใช้ โดยสถานศึกษาต้องนาผลการทดสอบ O-net ของผู้เรียนมาวิเคราะห์หาสาเหตุที่ผู้เรียนได้คะแนนต่า
กาหนดแนวทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มอ่อน กลุ่มปานกลาง และกลุ่มเก่ง ออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสม
กับแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้
๒)ครูควรใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลายและสอดคล้องกับกระบวนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ โดยเฉพาะการใช้สื่อเทคโนโลยี การสืบค้นจากอินเตอร์เน็ต จัดหาเครื่องมือในการวัดผล
ประเมินผลที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับแนวการวัดผลของสทศ. ให้ผู้เรียนได้ฝึกทาฝึกคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๓) ผู้บริหารควรจัดให้มีระบบนิเทศ กากับติดตาม การจัดการเรียนการสอนการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ของครูทุก
คนอย่างต่อเนื่อง นาผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ให้สูงขึ้น
๒.ด้านการบริหารจัดการศึกษา
สถานศึกษาควรจัดระบบการพัฒนาบุคลากรและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่าง
หลากหลาย ให้ผู้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง จากการศึกษาค้นคว้าแหล่งเรียนรู้และสื่อICT ส่งเสริมให้ครูร่วมกัน
ศึกษาหารูปแบบแนวทางการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อและพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
สถานศึกษาควรจัดให้มีการประเมินแบบวัดผลแบบทดสอบของครูทุกคนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ควรควรพัฒนา
ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสอนให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด มีทักษะในการคิดสามารถสรุปและสร้างองค์ความรู้ด้วย
ตนเอง
๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน
๑) สถานศึกษาควรดาเนินการประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง นาผลการประเมินตนเองตามหลักการประกันคุณภาพ
ภายในเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนายกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นตามลาดับในทุกด้าน
๒) สถานศึกษาควรประสานงานกับต้นสังกัด ให้สรุปผลการประเมินการประกันคุณภาพภาพและข้อเสนอแนะเพื่อการ
พัฒนาที่สะท้อนให้เห็นจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ที่สถานศึกษาสามารถนาไปปฏิบัติได้
อย่างเป็นรูปธรรม
สรุปสภาพปัญหา จุดเด่นจุดที่ควรพัฒนาในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
สภาพปัญหา
นักเรียนส่วนใหญ่ ขาดทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี
ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ ไม่มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ขาดนิสัยรักการ
เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
ครูขาดทักษะในการพัฒนา ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนรู้จักคิด
วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์
๑๓
จุดเด่น
ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
มีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีสุนทรียภาพ
และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และมีความรู้ทักษะที่จาเป็น
ตามหลักสูตร
ครูมีคุณลักษณะที่เหมาะสม สอนตรงตามวิชาเอกและความถนัด มีความรู้ความสามารถตรงกับ
งานที่รับผิดชอบ และมีประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสูง
ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหารจัดการ มีการจัดกิจกรรมและการเรียน
การสอนโดนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญรวมทั้งมีการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนา
การศึกษา
จุดที่ควรพัฒนา
ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี
ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองรักการเรียนรู้ และ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
ครูควรได้รับการพัฒนาความสามารถในการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน มีการประเมินการใช้หลักสูตร
โดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และมีการพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็นระบบ พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสม
และเอื้อต่อการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาการบริหารโดยใช้หลักการมีส่วนร่วมและตรวจสอบถ่วงดุลอย่างเป็นระบบ
ครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา
๑๔
ตอนที่ ๒
การวางแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา
๑. การบริหารจัดการศึกษา
โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
ผู้อำนวยกำรโรงเรียน
คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ
บริหำรวิชำกำร
๑.การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
๒.การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
๓.การวัดผล ประเมินผล
๔.การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา
๕.การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ
เทคโนโลยีทางการศึกษา
๖.การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
๗.การนิเทศการศึกษา
๘.การพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพภายในสถานศึกษา
๙. การส่งเสริมความรู้ด้าน
วิชาการแก่ชุมชน
๑๐. การประสานความร่วมมือใน
การพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษา
อื่น
๑๑. การส่งเสริมและสนับสนุน
งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว
องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่น
ที่จัดการศึกษา
งบประมำณ
๑.การจัดทาและเสนอขอ
งบประมาณ
๒.การจัดสรรงบประมาณ
๓.การตรวจสอบ ติดตาม
ประเมินผลและรายงานผล
การใช้เงินและผลการ
ดาเนินงาน
๔.การระดมทรัพยากรและ
การลงทุนเพื่อการศึกษา
๕.การบริหารการเงิน
๖.การบริหารบัญชี
๗.การบริหารพัสดุและ
สินทรัพย์
งำนบุคคล
๑.การวางแผนอัตรากาลัง
และกาหนดตาแหน่ง
๒.การสรรหาและการ
บรรจุแต่งตั้ง
๓.การเสริมสร้างประสิทธิ
ภาพในการปฏิบัติราชการ
๔.วินัยและการรักษาวินัย
๕.การออกจากราชการ
๖.การพัฒนาบุคลากร
บริหำรทั่วไป
๑.การดาเนินงานธุรการ
๒.งานพัฒนาระบบและเครือข่าย
ข้อมูลสารสนเทศ
๓.การประสานและพัฒนาเครือข่าย
การศึกษา
๔.การจัดระบบการบริหารและพัฒนา
องค์กร
๕.การดูแลอาคารสถานที่และ
สภาพแวดล้อม
๖.การจัดทาสามะโนผู้เรียน
๗.การรับนักเรียน
๘.การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา
๙.งานส่งเสริมงานกิจการนักเรียน
๑๐.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา
๑๑.การส่งเสริมสนับสนุนและ
ประสานงานการศึกษาของบุคคล
ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบัน
สังคมอื่นที่จัดการศึกษา
๑๒.การจัดระบบการควบคุมภายใน
๑๓.งานบริการสาธารณะ
๑๔.งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น
๑๕
๒. ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา
ปรัชญา : อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ใส่ใจสุขภาพ
โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี.แบ่งโครงสร้างการบริหารงาน เป็น 4 ด้าน ได้แก่ด้านการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคลากร การบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารนาหลักการบริหาร/
เทคนิคการบริหารหลายรูปแบบมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน เช่น การพัฒนาตาม
กระบวนการ P D C A การบริหารแบบมีส่วนร่วม การบริหารโดยเน้นโรงเรียนเป็นฐาน ผลการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา/ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีมีดังนี้
ด้านวิชาการ
1. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการดาเนินงาน ดังนี้
1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยนาหลักสูตรท้องถิ่นบรรจุลงในคาอธิบาย
รายวิชา ในหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
2) มีการนาหลักสูตรไปใช้อย่างเป็นระบบ
3) มีการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรและมีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ได้มุ่งเน้นและส่งเสริมให้ครูผู้สอนทุกคนพัฒนาตนเองให้สามารถวิเคราะห์
หลักสูตรและจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้า/
จูงใจ/เสริมแรง ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์
ส่งเสริมให้นักเรียนฝึกคิด ฝึกทา ฝึกแก้ปัญหา ใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเชื่อมโยงประสบการณ์กับชีวิตจริง
สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ได้
3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
1) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดทาเครื่องมือวัดผลประเมินผลอย่างหลากหลาย และมีการพัฒนา
เครื่องมืออย่างต่อเนื่อง
2) ส่งเสริมให้ครูนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
3) ครูมีเอกสารการวัดและประเมินผลครบถ้วน และจัดทาเอกสารการประเมินได้ถูกต้อง
4. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ครูทุกคนมีผลงานการวิจัยชั้นเรียน คนละ 1 รายการ / ปีการศึกษา และมีการนาผลการวิจัยไปใช้ใน
การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
5. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
1) โรงเรียนได้มีการดาเนินการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยส่งเสริมให้
ครูผู้สอนผลิตสื่อ ใช้สื่อ และพัฒนาสื่ออย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
2) ติดตั้งจานดาวเทียมเพื่อรับสัญญาณ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ซึ่งส่งผลให้นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลายเพิ่มมากขึ้น
3) ส่งเสริมครูและนักเรียนใช้อินเตอร์เน็ตในการค้นคว้าหาความรู้
4) จัดทาเว็บไซด์เพื่อประชาสัมพันธ์กิจการของโรงเรียน
๑๖
6. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
ได้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกโรงเรียน ดังนี้
1)ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ ในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้
2)ประสานงานกับผู้ปกครอง/ชุมชน ในการนานักเรียนไปเรียนรู้ยังแหล่งความรู้ในชุมชน เช่น การเลี้ยง
สัตว์ การปลูกพืช อุตสาหกรรมในครัวเรือน วัด ฯลฯ
3) ปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียนให้สามารถบริการนักเรียนและชุมชนได้อย่างทั่วถึง และจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้
ห้องสมุด เช่น การประกวดยอดนักอ่านนักเขียน การประกวดเรียงความ บันทึกการอ่าน อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ
7.การนิเทศการศึกษา
ดาเนินการนิเทศภายใน ตามระบบและขั้นตอนของการนิเทศการศึกษา โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ
ครูผู้สอนทุกคน โดยครูผู้สอนทุกคนจะได้รับการนิเทศด้วยวิธีการต่างๆอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง/คน
8. คุณภาพนักเรียน
ระดับปฐมวัย
นักเรียนระดับปฐมวัย ผ่านการประเมินความพร้อมในชั้นเรียนอนุบาลปีที่ 1 และปีที่ 2 ร้อยละ 100
และนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ทุกคน มีความพร้อมในการเข้าเรียนชั้นประถมปีที่ 1
ระดับประถมศึกษา
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของนักเรียน และร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับผลการเรียนระดับ 3
– 4 ชั้นประถมปีที่ 1 – ม.3 โดยรวมในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วิทาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ
2. อัตราการซ้าชั้น ในปีการศึกษา 2557 ไม่มีนักเรียนซ้าชั้น
3. ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน นักเรียนมีสุขภาพอนามัยตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวง
สาธารณสุข
4.นักเรียนร้อยละ 100 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด
ด้านการบริหารงบประมาณ
1. โรงเรียนได้ดาเนินการด้านการบริหารงบประมาณ โดยยึดหลักความถูกต้องตามระเบียบและ
เงื่อนไขทัน ตามกาหนดระยะเวลา เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียนและโรงเรียน ดังนี้
2.การตรวจสอบ ติดตามประเมินผล และรายงานการใช้เงิน ได้มีการแจ้งวงเงินแก่คณะกรรมการ
สถานศึกษา ข้าราชการครู ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามแผนการใช้เงิน มีการตรวจสอบติดตามการใช้เงิน
3.การดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และพัสดุ ได้ดาเนินการตามระเบียบ โดยเน้นความ
ถูกต้อง เป็นระบบ และเป็นปัจจุบัน
ด้านการบริหารงานบุคคล
การบริหารงานบุคคล ได้ดาเนินการโดยยึดหลักให้มีความคล่องตัว ภายใต้กฎหมาย ระเบียบ เป็นไปตาม
หลักธรรมาภิบาล ซึ่ง มีผลการดาเนินงานดังนี้
1. พัฒนาความรู้ความสามารถในการปฎิบัติงานของข้าราชการครู ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การจัดทา ID
Plan การนิเทศภายใน การจัดส่งครูเข้ารับการอมรม สัมมนา ที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานอื่นจัด การศึกษา
เอกสาร การศึกษาดูงานฯลฯ
2. การดาเนินงานทุกด้านของโรงเรียน เน้นการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
๑๗
3. การสร้างขวัญกาลังใจในการปฎิบัติงานของข้าราชการครูได้ใช้เทคนิควิธีการที่หลากหลาย ทาให้
ข้าราชการครูมีความกระตือรือร้นในการทางาน มีความสุขในการทางาน มีบรรยากาศในการทางานที่ดี ซึ่งส่งผลต่อ
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ดีขึ้น
ด้านการบริหารงานทั่วไป
การบริหารงานทั่วไป เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้การ
ดาเนินงานด้านอื่นๆ ของโรงเรียนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งใน
ปีงบประมาณ 2557 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้
1. การดาเนินงานด้านงานธุรการ เนื่องจากบุคลากรมีจานวนจากัด จึงได้ออกแบบลดขั้นตอนการ
ปฏิบัติงานสารบรรณเพื่อให้เกิดความคล่องตัว
2. ด้านกิจการนักเรียน
1) ปรับปรุงข้อมูลสามะโนนักเรียนและจัดทาข้อมูลเด็กเกิด
2) จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้สามารถดูแลช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนานักเรียนด้านต่างๆ
ครบทุกคน
3) จัดทามาตรการรักษาความปลอดภัยแก่นักเรียน
4) ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้า/น้าประปา โดยการกาหนดมาตรการประหยัดพลังงาน
5) จัดกิจกรรมชุมนุมเพื่อส่งเสริมความสามารถและความถนัดของนักเรียน ประกอบด้วย
ชุมนุมดนตรี ชุมนุมกีฬา ชุมนุมศิลปะชุมนุมวิชาการ และชุมนุมอาเซียน
6) จัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนเพื่อการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน
3. ด้านอาคารสถานที่
1) การวางแผนการใช้อาคารเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด
2) พัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดร่มรื่น สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย
3) พัฒนาห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต
4. การพัฒนาระบบเทคโนโลยี ได้ดาเนินการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการติดตั้ง
จานดาวเทียม เพื่อรับสัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง สาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนและงานด้านต่าง ๆ
ของโรงเรียน
5. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานกับเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มทัพบดินทร์ ในการ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน
6. จัดโรงเรียนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน และให้บริการแก่ชุมชน
7. การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ได้มีการระดมทรัพยากร จากบุคคลองค์กรชุมชน และองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อใช้ในการพัฒนาโรงเรียนสู่โรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝัน
การพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ
1. การนาการเปลี่ยนแปลง โดยการกาหนดทิศทางในการปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน จัดกิจกรรมให้สอดคล้อง
กับทิศทางในการปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน พร้อมกับการสร้างและส่งเสริมให้เกิดภาวะผู้นาของบุคลากรใน
โรงเรียน
2. การกระจายอานาจโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
2.1 เน้นการทางานเป็นทีม มีการแสดงออกถึงความรับผิดชอบและชื่นชมต่อผลงานร่วมกัน มี
ปฏิสัมพันธ์เชื่อมโยงงานระหว่างทีมงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดของงาน
2.2 มีระบบถ่วงดุล โดยมีกระบวนการควบคุมภายใน มีการบริหารจัดการความเสี่ยง
ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงานและนาเสนอต่อสาธารณะ
๑๘
2.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการสนับสนุนและ
การจัดการศึกษาของโรงเรียน
2.4 ยึดหลักธรรมาภิบาล โดยมีการประชุมปรึกษาและนิเทศงานอย่างสม่าเสมอ การทางาน
โดยยึดกฎ ระเบียบ ธรรมเนียม ประเพณีอย่างเป็นธรรม คานึงถึงประโยชน์ของนักเรียนและชุมชนเป็น
สาคัญเปิดเผยข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรในองค์กรและสาธารณชน
3. การปฏิรูปการเรียนรู้สู่มาตรฐานการศึกษา โดยนาผลการทด สอบ ระดับชาติและข้อมูลสารสนเทศการ
ประเมินภายนอกประเมินภายในมาใช้ในการพัฒนาโรงเรียน พัฒนาบุคลากรให้ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน
สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ในองค์กร มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร
4.การดาเนินงานห้องเรียนคุณภาพ
4.1 จัดหาสื่อและอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
4.2 พัฒนาห้องสมุดให้เอื้อต่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ทันสมัย สะดวกต่อการสืบค้น มีหนังสือเพียงพอ
จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้อย่างหลากหลายและต่อเนื่องผู้เรียนมีโอกาสใช้อย่างทั่วถึง
4.3 พัฒนาห้องปฏิบัติการให้มีสภาพพร้อมใช้ มีอุปกรณ์เพียงพอและมีความปลอดภัย
4.4 พัฒนาห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความสะอาด มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีสื่อเทคโนโลยีที่
ทันสมัยอยู่ในสภาพพร้อมใช้ และมีความเพียงพอสาหรับนักเรียนทุกคน
4.5 บรรยากาศห้องเรียนน่าเรียน มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และปลอดภัย มีแสงสว่าง
เพียงพอ โต๊ะเก้าอี้เหมาะสมกับผู้เรียน จัดเหมาะสมกับวิธีการจัดการเรียนรู้ มีการจัดมุมหรือป้ายนิเทศ
กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
วิสัยทัศน์
โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี เป็นโรงเรียนดี ครูมีคุณภาพ สภาพแวดล้อมเยี่ยม
นักเรียนเปี่ยมคุณธรรม นาสู่การพัฒนา ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์
มาตรฐาน สืบสานวัฒนธรรมไทย
พันธกิจ
1. จัดให้มีการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันและพัฒนา คุณภาพนักเรียน
เต็มศักยภาพ โดยเน้นการจัดการเรียนการสอน ที่ยึดเด็กเป็นสาคัญ
2.จัดให้มีการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีระเบียบ วินัย ซื่อสัตย์ เสียสละ
ขยัน ประหยัด อดทน และมีสัมมาคารวะ โดยจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม ให้
นักเรียนรู้จักทาความดี
3.จัดให้มีการสนับสนุนให้ชุมชนองค์กร ทุกฝ่ายเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างทั่วถึง
4.จัดให้มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.จัดให้มีการพัฒนาลักษณะทางกายภาพของโรงเรียนให้เอื้อพัฒนาคุณภาพและการศึกษา
6.จัดให้มีสื่อ เทคโนโลยีให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ
7.จัดให้มีกิจกรมส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมไทย
๑๙
เป้าหมาย
1. นักเรียนทุกคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ
2.นักเรียนทุกคนมีลักษณะที่พึงประสงค์ อยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข
3.ชุมชนองค์กร ยอมรับและเชื่อมั่นให้ความร่วมมือ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เป็นอย่างดี
4.ครูจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างมีประสิทธิภาพ
5.โรงเรียน มีสื่อเทคโนโลยีที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอ
อัตลักษณ์ของสถานศึกษา
ประหยัดและอดออม
เอกลักษณ์ของสถานศึกษา
ในฝันโรงเรียน
คาขวัญ
พึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร เรียนดี มีคุณธรรม
กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
กลยุทธ์
จากวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีจึงกาหนด กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้
กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้
กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม
ศักยภาพ
กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี
คุณภาพ
กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษา หลัก
ธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริม
และสนับสนุนการจัดการศึกษา
กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาอัตลักษณ์โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
๒๐
จุดเน้น
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5
2. นักเรียน ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) คิดเลขคล่อง
และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
3. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติไทย และดารงสืบสานวัฒนธรรมไทย
4. เพิ่มศักยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี
5. นักเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน เพิ่มโอกาส
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ และได้รับการจัดการระบบดูและช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง
6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนในฝัน
7. นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อม
สู่ประชาคมอาเซียนมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม
8. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและได้รับการรับรองจากการประเมิน
คุณภาพ ภายนอก
9 .นักเรียนได้รับการส่งเสริมกิจกรรมการศึกษาค้นคว้าอิสระ การคิดวิเคราะห์และการพัฒนา
ทักษะ นาเสนอผลงา น การนาเสนอความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ความสามารถด้าน
ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ การพูดและการเขียนเรียงความขั้นสูง การส่งเสริมการอ่าน
10. โรงเรียนมีการพัฒนาอาคารสถานที่ ห้องพิเศษ ห้องบริการ โรงเรียนสวยงามและเอื้อต่อการ
เรียนรู้
๒๑
๔. เป้าหมายการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา
๔.๑ มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย
มาตรฐาน/ ตัวบ่งชี้ ปฐมวัย
เป้าหมาย/เกณฑ์
ที่คาดหวัง
มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน
มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย
๑.๑ มีนาหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๕
๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ๘๕
๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง ๘๕
๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ๘๕
มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
๒.๑ ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ๘๕
๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ๘๘
๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ๘๕
๒.๔ ชื่นชมศิลปะ คนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ๘๕
มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม
๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ๘๕
๓.๒ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน ๘๕
๓.๓ เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๘๕
๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนเองนับถือ ๘๕
มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา
๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ๘๕
๔.๒ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ๘๐
๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๘๕
๔.๔ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๘๒
๔.๕ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๘๐
มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
๕.๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนามา ประยุกต์ใช้
ในการจัดประสบการณ์
๘๕
๕.๒ ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์การ
เรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
๘๕
๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวิธีนับเชิงบวก ๘๕
๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ๘๕
๕.๕ ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของ
เด็กแก่ผู้ปกครอง
๘๕
๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการจัดประสบการณ์ ๘๕
๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ๘๕
๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง ๘๕
๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ๘๕
๕.๑๐ ครูจัดสารนิทัศน์และนามาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ๘๕
มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล
๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕
๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และมีความคิดริเริ่มที่เน้นพัฒนาเด็กปฐมวัย ๘๕
๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้าน
วิชาการและการจัดการ
๘๕
๒๒
มาตรฐาน/ ตัวบ่งชี้ ปฐมวัย
เป้าหมาย/เกณฑ์
ที่คาดหวัง
๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๘๕
๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ๘๕
๖.๖ ผู้บริหารให้คาแนะนาคาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๘๒
๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕
มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา
๗.๑ มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนาสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๘๕
๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕
๗.๓ จักกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕
๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครองชุมชนและท้องถิ่น ๘๕
๗.๕ จัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ๘๕
มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตาม ที่กาหนด ในกฎกระทรวง
๘.๑ กาหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ๘๕
๘.๒ จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๘๕
๘.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๘๕
๘.๔ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๘๕
๘.๕ นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง ๘๕
๘.๖ จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ๘๕
มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๙สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้
๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ๘๕
๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่
เกี่ยวข้อง
๘๕
มาตรฐานด้านอัตลักษณ์
มาตรฐานที่ ๑๐การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของ
การศึกษาปฐมวัย
๑๐.๑ จัดโครงการกิจกรรมพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมายปรัชญาวิสัยทัศน์และจุดเน้นการจัดการศึกษา
ปฐมวัย
๘๕
๑๐.๒ ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ๘๕
มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม
มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางการปฏิรูปการศึกษา
เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น
๑๑.๑ จัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕
๑๑.๒ ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ๘๕
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี

More Related Content

What's hot

133490081225383
133490081225383133490081225383
133490081225383
SenSei Ka
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
Aon Narinchoti
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
Khunkrunuch
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
krupornpana55
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
Nattapon
 
หน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า
หน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้าหน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า
หน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า
krupornpana55
 

What's hot (18)

133490081225383
133490081225383133490081225383
133490081225383
 
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
รายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา 2560 โรงเรียนพระบางวิทยา สพม.42
 
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
แผ่นพับแนะนำโรงเรียนหนองแวงวิทยาคม7
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
A2
A2A2
A2
 
ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑ส่วนที่ ๑
ส่วนที่ ๑
 
ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57
ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57
ประเมินเศรษฐกิจพอเพียง57
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
 
ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2ก.ค.ศ.2
ก.ค.ศ.2
 
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้าปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
ปกวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้ดวงดาวบนท้องฟ้า
 
Sar ปี2555
Sar ปี2555Sar ปี2555
Sar ปี2555
 
หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)หนังสือราชการ (ใหม่)
หนังสือราชการ (ใหม่)
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์(บ้านถวาย)
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1
 
หน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า
หน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้าหน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า
หน่วยย่อยที่ 1 การบอกตำแหน่งของวัตถุบนท้องฟ้า
 

Viewers also liked

คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ทศพล พรหมภักดี
 
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
krupornpana55
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
Montree Jareeyanuwat
 
ค่าน้ำหนักปฐมวัย
ค่าน้ำหนักปฐมวัยค่าน้ำหนักปฐมวัย
ค่าน้ำหนักปฐมวัย
warijung2012
 
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัยค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
warijung2012
 
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีการจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
Montree Jareeyanuwat
 
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
Pochchara Tiamwong
 
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นรางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
Montree Jareeyanuwat
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
phiphitthanawat
 
ทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปทะเบียนรูป
ทะเบียนรูป
Pochchara Tiamwong
 
48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผล48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผล
Pochchara Tiamwong
 
รางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นรางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่น
Montree Jareeyanuwat
 
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55
krupornpana55
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
Montree Jareeyanuwat
 

Viewers also liked (20)

คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้นโครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
โครงสร้างรายวิชา สาระการงานอาชีพ ม ต้น
 
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตรม.ต้น ปี 55
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
ค่าน้ำหนักปฐมวัย
ค่าน้ำหนักปฐมวัยค่าน้ำหนักปฐมวัย
ค่าน้ำหนักปฐมวัย
 
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัยค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
ค่าเป้าหมาย ปฐมวัย
 
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
นโยบายลดเวลเรียนปรับเมื่อ ๗ ต.ค. ๕๘
 
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปีการจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
การจัดทำแผนพัฒนา 4 ปี
 
O net
O netO net
O net
 
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
คำสั่งการแข่งขันกีฬา – กรีฑานักเรียน สพป. บุรีรัมย์ เขต 3 ประจำปี 2557
 
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่นรางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
รางวัลผู้บริหารโรงเรียนดีเด่น
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
ทะเบียนรูป
ทะเบียนรูปทะเบียนรูป
ทะเบียนรูป
 
48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผล48ระเบียบวัดผล
48ระเบียบวัดผล
 
รางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่นรางวัลนักเรียนดีเด่น
รางวัลนักเรียนดีเด่น
 
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55
หลักสูตรโครงสร้างหลักสูตร ม.ปลาย55
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตารายงานประเมินตนเองครูบุญตา
รายงานประเมินตนเองครูบุญตา
 
Focus3
Focus3Focus3
Focus3
 

Similar to Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี

มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการ
Narapong Asarin
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittaya
Komsun See
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
พงษ์เทพ ทองจันทร์
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
waranyuati
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
peerapong715
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
peerapong14
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
peerapong715
 

Similar to Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี (20)

รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
รายงานพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจำปีการศึกษา 2558
 
โรงเรียนธงธานี โรงเรียนดีประจำตำบล
โรงเรียนธงธานี  โรงเรียนดีประจำตำบลโรงเรียนธงธานี  โรงเรียนดีประจำตำบล
โรงเรียนธงธานี โรงเรียนดีประจำตำบล
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
Sar โรงเรียนนาดีวิทยา ปีการศึกษา ๒๕๕๗
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
Sapuewittayakarn school Ubon.
Sapuewittayakarn school Ubon.Sapuewittayakarn school Ubon.
Sapuewittayakarn school Ubon.
 
มหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการมหกรรมวิชาการ
มหกรรมวิชาการ
 
Lab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittayaLab school thungkhananwittaya
Lab school thungkhananwittaya
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคมข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
ข้อมูลพื้นฐานโรงเรียนน้ำคำวิทยาคม
 
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sarรายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
รายงานการประเมินตนเองรายบุคคล Sar
 
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
วารสารโรงเรียนทุ่งยาวผดุงศิษย์ ปี 2555
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
โรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวายโรงเรียนบ้านดงหวาย
โรงเรียนบ้านดงหวาย
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Libary
LibaryLibary
Libary
 
libary
libarylibary
libary
 

Sar57โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี

  • 1. ตอนที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐาน 1. ที่ตั้งโรงเรียน ชื่อโรงเรียนบ้านโคกสามัคคี ที่ตั้งบ้านโคกสามัคคี ตาบล. หนองม่วง อาเภอ โคกสูง จังหวัด. สระแก้ว สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต ๒ เปิดสอนระดับชั้น อนุบาล๑ ถึงระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๓ เนื้อที่ ๑๓ ไร่ ๒๘๐ ตารางวา เขตพื้นที่บริการ หมู่ที่ ๖ บ้านโคกสามัคคีและหมู่ที่ ๑๓ บ้านถาวรสามัคคี ๒. ข้อมูลผู้บริหาร ๒.๑ ผู้อานวยการโรงเรียน นางชาลี บุญญา โทรศัพท์ ๐๘๑๓๗๗๓๒๖๕ e-Mail cha๑๙๕๗๑@hotmail.com วุฒิการศึกษาสูงสุด กศ.ม. .สาขา บริหารการศึกษา ดารงตาแหน่งที่ โรงเรียนนี้ตั้งแต่ ๔ ธันวาคม ๒๕๓๖ จนถึงปัจจุบันเป็นเวลา ๒๐ ปี ๕ เดือน ๓. ข้อมูลนักเรียน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๗) จาแนกตามระดับชั้นที่เปิดสอน ระดับชั้นเรียน จานวนห้อง เพศ รวม เฉลี่ยต่อห้อง ชาย หญิง อ.๒ อ.๒ ๑ ๑ ๘ ๔ ๘ ๖ ๑๖ ๑๐ รวม ๒ ๑๒ ๑๔ ๒๘ ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑ ๑๔ ๑๑ ๑๑ ๙ ๑๔ ๑๔ ๖ ๘ ๖ ๑๒ ๗ ๙ ๒๐ ๑๙ ๑๘ ๒๑ ๒๐ ๒๓ รวม ๖ ๗๓ ๖๘ ๑๔๑ ม.๑ ม.๒ ม.๓ ๑ ๑ ๑ ๑๑ ๑๒ ๕ ๑๒ ๑๐ ๑ ๒๓ ๒๒ ๖ รวม ๓ ๒๘ ๒๓ ๕๑ รวมทั้งหมด ๑๑ ๑๑๔ ๘๔ ๑๙๕
  • 2. ๒ ข้อมูลครูและบุคลากร ที่ ชื่อ-สกุล อายุ อายุ ราชการ ตาแหน่ง/ วิทยฐานะ วุฒิ วิชาเอก สอน วิชา/ชั้น จานวน ครั้ง/ ชั่วโมงที่ รับการ พัฒนา/ปี 1 นางชาลี บุญญา 5๗ 3๖ ชานาญการ พิเศษ กศม. บริหารการศึกษา - 2 นายปรีดา มานะต่อ 5๓ 2๗ ชานาญการพิเศษ คบ. พละศึกษา ป.4 3 นายธนดล โสธิฤทธิ์ 5๒ 24 ชานาญการ คบ. การประถม ป.4-ป.6 4 นายวิโรจน์ เชียมขุนทด 47 17 ชานาญการ คบ. ภาษาไทย ป.4-ป.6 5 นางนงนุช ดั้งชารี 45 19 ชานาญการ พิเศษ คบ. การประถม ป.3 6 นางวราวรรณ พองเสียง 37 13 ชานาญการพิเศษ คบ. การประถม ป.2 7 น.ส.จุฑารัตน์ อะโรคา 31 1 ครู ผู้ช่วย คบ. วิทยาศาสตร์ ป.4-ป6 8 นางสาวสุขเนตร ชมชื่น 39 8 ชานาญการ คบ. วิทย์ทั่วไป ม.3 9 นางสาวศิริกุล จุลศรี 37 5 ครู คศ.1 คบ. การประถม ป.1 10 นายเอกวิทย์ นาทุ่งมน 41 3 ครู คศ.1 คบ. ดนตรีศึกษา ม.1 11 นายสมพงษ์ จิตรสว่าง 45 9 ชานาญการ คบ. อุตสาหกรรม ป.6 12 นางสาวรัตยากร คาบาง 43 19 ชานาญการ คบ. ภาษาอังกฤษ ป.5 13 นางสาวสุภลักษณ์ บุตรพรหม 25 1 ครูผู้ช่วย คบ. การศึกษาปฐมวัย อบ.1 14 นางสาวศิรดา ดุลย์นี 31 1 ครูผู้ช่วย คบ. ภาษาไทย ม1-ม3 15 นายสุรศักดิ์ ปาแดง 28 1 ครูผู้ช่วย คบ. คณิตศาสตร์ ม1-ม3 16 นายชัยพร ดีกร 25 1 ครูผู้ช่วย คบ. คอมพิวเตอร์ศึกษา ม.1-ม.3 17 นางสายรุ้ง เชียงสระน้อย 36 10 พนักงาน ราชการ ศษ.บ. ปฐมวัย อนุบาล 18 นางสาวปานทิพย์ ปะทา 33 2 พนักงานราชการ คบ. สังคม ป.5 19 นายมิตร แก้ววงษ์ 39 1 ลูกจ้างชั่วคราว ม.3 นักการ ภารโรง 20 น.ส.ชลลดา พรหมทิพย์ 26 1 ลูกจ้างชั่วคราว ม.3 ครูพี่เลี้ยง เด็ก พิการ ๑) ครูที่สอนตรงวิชาเอก/วิชา จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ94.11 ๒) ครูที่สอนตรงความถนัด/ความสามารถ จานวน1คน คิดเป็นร้อยละ 5.88
  • 3. ๓ ข้อมูลอาคารสถานที่ อาคารเรียน จานวน ๔ หลัง อาคารประกอบจานวน ๑ หลัง ส้วม ๓ หลัง สนาม ฟุตบอล ๑ สนาม สนามบาสเก็ตบอล ๑ สนาม ข้อมูลสภาพชุมชนโดยรวม ๑)สภาพชุมชนรอบบริเวณโรงเรียนมีลักษณะของชุมชนชนบทมีบ้านที่พักอาศัยอยู่ใกล้ชิดติดกันมี ประชากรประมาณ๑,๖๐๐ คน บริเวณใกล้เคียง อาชีพหลักของชุมชน คือทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ๒) ผู้ปกครองส่วนใหญ่จบการศึกษาระดับ ป.๖อาชีพหลักคือ ทาการเกษตรส่วนใหญ่นับถือศาสนา พุทธ ฐานะทางเศรษฐกิจ/รายได้โดยเฉลี่ยต่อครอบครัวต่อปี ๓๐,๐๐๐บาท
  • 4. ๔ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนบ้านบ้านโคกสามัคคีจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ ๑ พุทธศักราช ๒๕๕๗) สาหรับหลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนได้กาหนดโครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ได้กาหนดกรอบเวลาเรียนตามสัดส่วน สาระการเรียนรู้ ดังแสดงในตารางต่อไปนี้ โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษากาหนดกรอบเวลาเรียน ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้/ กิจกรรม เวลาเรียน ระดับประถมศึกษา ป.๑ ป.๒ ป.๓ ป.๔ ป.๕ ป.๖ *กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ๒๔๐ ๒๔๐ ๒๔๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ คณิตศาสตร์ ๒๐๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๑๖๐ ๑๖๐ ๑๖๐ วิทยาศาสตร์ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม - ประวัติศาสตร์ - ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม - หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการ ดาเนินชีวิตในสังคม - เศรษฐศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ ๑๒๐ (๔๐) (๘๐) ๑๒๐ (๔๐) (๘๐) ๑๒๐ (๔๐) (๘๐) ๑๒๐ (๔๐) (๘๐) ๑๒๐ (๔๐) (๘๐) ๑๒๐ (๔๐) (๘๐) สุขศึกษาและพลศึกษา ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ศิลปะ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ภาษาต่างประเทศ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (พื้นฐาน) ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๘๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ๘๔๐ ภาษาอังกฤษเสริมทักษะ ๔๐ ๔๐ ๔๐ หน้าที่พลเมือง ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ รวมเวลาเรียน (เพิ่มเติม) ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๘๐ ๘๐ ๘๐ *กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ ๔๐ กิจกรรมนักเรียน - ลูกเสือ - ชมรม,ชุมนุม ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ ๔๐ ๓๐ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ รวมเวลาเรียนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ ๑๒๐ รวมเวลาเรียนทั้งหมด ๑,๐4๐ชั่วโมง / ปี  โครงสร้างหลักสูตรจานวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน ระดับปฐมวัย ทั้งปี เท่ากับ ๘๐๐ ชั่วโมง  โครงสร้างหลักสูตรจานวนชั่วโมงที่จัดให้นักเรียน ระดับขั้นพื้นฐาน ทั้งปี เท่ากับ ๑,๐4๐ ชั่วโมง
  • 5. ๕ แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ๑) ห้องสมุด มีขนาด๒๐x ๑๕ตารางเมตร จานวนหนังสือในห้องสมุดประมาณ๑๖,๐๐๐เล่ม การสืบค้นหนังสือและการยืม - คืนใช้ระบบเจ้าหน้าที่รับยืม – คืน จานวนนักเรียนที่ใช้ห้องสมุดในปีการศึกษานี้ เฉลี่ย๑๒๐คน/วัน คิดเป็นร้อยละ ๕๐.๔๑ ของนักเรียนทั้งหมด ๒) ห้องปฏิบัติการ/ห้องปฏิบัติการ อื่น ๆ ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ จานวน๑ห้อง ห้องดนตรี จานวน๑ห้อง ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ จานวน ๑ ห้อง ห้องอาเซียน จานวน 1 ห้อง ๓) คอมพิวเตอร์ ใช้เพื่อการเรียนการสอน๒๐เครื่อง ใช้เพื่อเพื่อสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เนต๒๐เครื่อง ใช้เพื่อการบริหารจัดการ๒เครื่อง จานวนนักเรียนที่สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เนตในปีการศึกษา ๒๕๕7 เฉลี่ย ๒๕คนต่อวัน คิดเป็นร้อยละ๑๑.๑๑ของจานวนนักเรียนทั้งหมด ๔) แหล่งเรียนรู้ภายในโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ภายใน สถิติการใช้ จานวนครั้ง/ปีชื่อแหล่งเรียนรู้ ๑. ห้องดนตรี ๒. ห้องพยาบาล ๓. ห้องคอมพิวเตอร์ ๔. สนามกีฬา ๕. สวนหย่อม ๖. โรงอาหาร ๗. ห้องครัว ๘. แปลงเกษตร ๒๐๐ ๑๒๐ ๒๐๐ ๒๐๐ ๕๐ ๑๔๐ ๑๐๐ ๑๒๐ ๕) แหล่งเรียนรู้ภายนอกโรงเรียน แหล่งเรียนรู้ภายนอก สถิติการใช้ จานวนครั้ง/ปีชื่อแหล่งเรียนรู้ ๑. ศูนย์สาธิตการตลาด ๒. วัดสามัคคีสันติธรรม ๒๕ ๓๐ ๖) ปราชญ์ชาวบ้าน / ภูมิปัญญาท้องถิ่น / ผู้ทรงคุณวุฒิที่สถานศึกษาเชิญมาให้ความรู้แก่ครู / หรือ นักเรียนไปเรียนรู้ ในปีการศึกษานี้ ๖.๑ ชื่อ-สกุล นางเตือนใจ เผือกสีสุก ให้ความรู้เรื่อง งานจักสานวัสดุในท้องถิ่น สถิติการให้ความรู้ในโรงเรียนแห่งนี้ จานวน๑๒ครั้ง/ปี
  • 6. ๖ ๑๐. ผลงานดีเด่นในรอบปีที่ผ่านมา ประเภท ระดับรางวัล/ชื่อรางวัลที่ได้รับ หน่วยงานที่มอบรางวัล สถานศึกษา -โรงเรียนต้นแบบการจัดการเรียนรู้การ สหกรณ์ - โรงเรียนต้นแบบการจัดการถนน ปลอดภัยระดับเขตพื้นที่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสระแก้ว เขต๒ ครู นายปรีดา มานะต่อ เป็นผู้มีผลงานดีเด่นในการป้องกันและ แก้ไขปัญหายาเสพติดในสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสระแก้ว เขต๒ ๑๐.๓ งาน / โครงการ / กิจกรรมที่ประสบความสาเร็จ /ที่ภาคภูมิใจ ที่ ชื่องาน/โครงการ/ กิจกรรม วัตถุประสงค์/เป้าหมาย วิธีดาเนินการ (ย่อๆ) ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ (จานวน/ร้อยละ) ๑ พัฒนาการเรียนการ สอนระดับ ประถมศึกษา ๑.เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้ อย่างมีความสุข เรียนรู้จาก การปฏิบัติจริง และเรียนรู้จาก บุคคลอื่น ๒,เพื่อให้นักเรียนได้พัฒนา กระบวนการเรียนรู้ตาม ศักยภาพของผู้เรียน ๑.ประชุมชี้แจงคณะครูเพื่อ ชี้แจงโครงการ ๒.แต่งตั้งคณะกรรมการ ดาเนินงาน ๓.จัดทาโครงการและขอ อนุมัติ ๔.ดาเนินงานตามโครงการ ๕.ติดตามผลการดาเนินงาน ๖. สรุปผลและรายงาน โครงการ นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ ผ่านเกณฑ์การประเมิน ทุกกลุ่มสาระ
  • 7. ๗ ๑๑. ผลการประเมินคุณภาพภายในรอบที่ผ่านมา ๑๑.๑ ระดับการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา การประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา ผลการติดตามตรวจสอบ โดยหน่วยงานต้นสังกัด มาตรฐานด้านคุณภาพเด็ก มาตรฐานที่ 1เด็กมีพัฒนาการทางร่างกาย ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และ จิตใจ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 6 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามหน้าที่อย่างมี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา ดีมาก ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 8 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพ ภายในสถานศึกษาตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง ดีมาก ดีเยี่ยม มาตรฐานด้านการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษาและ ผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล ดีมาก ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุ เป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้น ของการศึกษาปฐมวัย ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 11 การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบาย และแนวทางปฏิรูปสถานศึกษา ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
  • 8. ๘ 11.2ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา ผลการติดตามตรวจสอบ โดยหน่วยงานต้นสังกัด มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรมจริยธรรมและ ค่านิยมที่พึงประสงค์ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่าง เป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิผล ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จาเป็น ตามหลักสูตร ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทางาน รักการ ทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมี เจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามทบาทหน้าที่ อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานด้านการเรียนการสอน มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษาและ ผู้ปกครอง ชุมชน ปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิด ประสิทธิผล ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินตนเอง ของสถานศึกษา ผลการติดตามตรวจสอบ โดยหน่วยงานต้นสังกัด มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนา คุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานด้านการบริหารและการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 11 สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อม และการบริการที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเต็ม ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
  • 9. ๙ ศักยภาพ มาตรฐานที่ 12 สถานศึกษามีการประกันคุณภาพ ภายในของสถานศึกษาตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 13 สถานศึกษามีการสร้างส่งเสริม สนับสนุนให้เสถานศึกษาเป็นสังคมในการ เรียนรู้ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 14 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุ เป้าหมายตามวิสัยทัศน์ ปรัชญา และจุดเน้นที่ กาหนดขึ้น ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม มาตรฐานที่ 15 การจัดกิจกรรมตามนโยบาย จุดเน้น แนวทางการปฏิรูปการศึกษาเพื่อ พัฒนาและส่งเสริมสถานศึกษาให้ยกระดับ คุณภาพสูงขึ้น ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
  • 10. ๑๐ 1ผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามที่ผ่านมา โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี ได้รับการประเมินคุณภาพภายนอกจากสมศ. รอบสาม เมื่อวันที่ ๒๖ , ๒๗ ๓๐ เดือน มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๕ สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม ดังนี้ มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้าหนัก คะแนน ระดับ คุณภาพ แปลคุณภาพ มาตรฐาน กลุ่มตัวบุ่งชี้พื้นฐาน ตัวบุ่งชี้ที่ 1 เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกายสมวัย 5.00 4.00 ดี ตัวบุ่งชี้ที่ 2เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจสมวัย 5.00 5.00 ดีมาก ตัวบุ่งชี้ที่ 3เด็กมีพัฒนาการด้านสังคมสมวัย 5.00 4.00 ดี ตัวบุ่งชี้ที่ 4เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญาสมวัย 10.00 8.50 ดี ตัวบุ่งชี้ที่ 5เด็กมีความพร้อมศึกษาต่อในขั้นต่อไป 10.00 10.00 ดีมาก ตัวบุ่งชี้ที่ 6ประสิทธิผลการจัดประสบการณ์การเรียนที่เน้น เด็กเป็นสาคัญ 35.00 27.00 ดี ตัวบุ่งชี้ที่ 7ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา 15.00 14.00 ดีมาก ตัวบุ่งชี้ที่ 8ประสิทธิผลของระบบการประกันคุณภาพภายใน 5.00 4.78 ดีมาก กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ ตัวบุ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณฺธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา 2.50 2.50 ดีมาก ตัวบุ่งชี้ที่ 10ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน เป็นเอกลักษณ์ของสถาศึกษา 2.50 2.50 ดีมาก ตัวบุ่งชี้มาตรการส่งเสริม ตัวบุ่งชี้ที่ 11ผลการดาเนินการโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาท ของสถานศึกษา 2.50 2.50 ดีมาก ตัวบุ่งชี้ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐานมาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็น เลิศที่สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปการศึกษา 2.50 2.50 ดีมาก รวมคะแนน 100.00 87.28 ดี
  • 11. ๑๑ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้ น้าหนัก (คะแนน) คะแนน ที่ได้ ระดับคุณภาพ มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ 1ผู้เรียนมีสุขภาพกายและมีสุขภาพจิตที่ดี 10 9.59 ดีมาก มาตรฐานที่ 2ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึง ประสงค์ 10 9.34 ดีมาก มาตรฐานที่ 3ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 10 8.96 ดี มาตรฐานที่ 4ผู้เรียนคิดเป็นทาเป็น 10 8.93 ดี มาตรฐานที่ 5ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน 20 7.56 ต้องปรับปรุง มาตรฐานที่ 6ประสิทธิ์ภาพของการจัดการเรียนการสอนที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ 10 8 ดี มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ 7ประสิทธิ์ภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนา สถานศึกษา 5 4.3 ดี มาตรฐานที่ 8พัฒนาการของประกันคุณภาพภายในโดย สถานศึกษาและต้นสังกัด 5 4.75 ดีมาก มาตรฐานที่ 9ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปฏิธาน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้ง สถานศึกษา 5 5 ดีมาก มาตรฐานที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้น และจุดเน้นที่สงผล สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา 5 5 ดีมาก มาตรฐานที่ 11ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริม บทบาทของสถานศึกษา 5 5 ดีมาก มาตรฐานที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับ มาตรฐาน รักษามาตรฐานและพัฒนาสู่ความเป็นเลิศที่ สอดคล้องกับแนวทางการปฏิรูปศึกษา 5 5 ดีมาก สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ปฐมวัย ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๗.๒๘ มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้ ไม่มีตัวบ่งชี้ใดที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงหรือต้องปรับปรุงเร่งด่วน รับรอง  ไม่รับรอง สรุปผลการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสามระดับ ขั้นพื้นฐาน ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ได้คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนนขึ้นไป คือ ๘๑.๔๓ มีตัวบ่งชี้ที่ได้ระดับดีขึ้นไป ๑๐ ตัวบ่งชี้จาก ๑๒ ตัวบ่งชี้ มีตัวบ่งชี้ที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง 1 ตัวบ่งชี้คือตัวบ่งชี้ที่5 รวมคะแนน 81.43 แปลคุณภาพในภาพรวม ดี
  • 12. ๑๒ รับรอง  ไม่รับรอง ข้อเสนอแนะจากการประเมินคุณภาพภายในและภายนอก ๑. ด้านการจัดการศึกษา ๑) ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยเฉพาะในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุงเร่งด่วน กลุ่มการเรียนรู้ภาษาไทย วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาต่างประเทศที่มีระดับคุณภาพต้องปรับปรุง สุขศึกษาและพลศึกษา และศิลปะที่มีระดับ คุณภาพพอใช้ โดยสถานศึกษาต้องนาผลการทดสอบ O-net ของผู้เรียนมาวิเคราะห์หาสาเหตุที่ผู้เรียนได้คะแนนต่า กาหนดแนวทางแก้ไข เช่นจัดกลุ่มผู้เรียนเป็นกลุ่มอ่อน กลุ่มปานกลาง และกลุ่มเก่ง ออกแบบการเรียนรู้ให้เหมาะสม กับแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒)ครูควรใช้สื่อประกอบการจัดการเรียนการสอนอย่างหลากหลายและสอดคล้องกับกระบวนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ทุกกลุ่มสาระ โดยเฉพาะการใช้สื่อเทคโนโลยี การสืบค้นจากอินเตอร์เน็ต จัดหาเครื่องมือในการวัดผล ประเมินผลที่มีคุณภาพและสอดคล้องกับแนวการวัดผลของสทศ. ให้ผู้เรียนได้ฝึกทาฝึกคิดวิเคราะห์สังเคราะห์ทุกกลุ่ม สาระการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ๓) ผู้บริหารควรจัดให้มีระบบนิเทศ กากับติดตาม การจัดการเรียนการสอนการวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ของครูทุก คนอย่างต่อเนื่อง นาผลการประเมินมาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผลเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้สูงขึ้น ๒.ด้านการบริหารจัดการศึกษา สถานศึกษาควรจัดระบบการพัฒนาบุคลากรและส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่าง หลากหลาย ให้ผู้เรียนรู้จากการปฏิบัติจริง จากการศึกษาค้นคว้าแหล่งเรียนรู้และสื่อICT ส่งเสริมให้ครูร่วมกัน ศึกษาหารูปแบบแนวทางการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อการศึกษาการพัฒนาสื่อและพฤติกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน ๓. ด้านการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สถานศึกษาควรจัดให้มีการประเมินแบบวัดผลแบบทดสอบของครูทุกคนอย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง ควรควรพัฒนา ความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสอนให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด มีทักษะในการคิดสามารถสรุปและสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง ๔. ด้านการประกันคุณภาพภายใน ๑) สถานศึกษาควรดาเนินการประกันคุณภาพอย่างต่อเนื่อง นาผลการประเมินตนเองตามหลักการประกันคุณภาพ ภายในเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนพัฒนายกระดับคุณภาพให้สูงขึ้นตามลาดับในทุกด้าน ๒) สถานศึกษาควรประสานงานกับต้นสังกัด ให้สรุปผลการประเมินการประกันคุณภาพภาพและข้อเสนอแนะเพื่อการ พัฒนาที่สะท้อนให้เห็นจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา และข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ที่สถานศึกษาสามารถนาไปปฏิบัติได้ อย่างเป็นรูปธรรม สรุปสภาพปัญหา จุดเด่นจุดที่ควรพัฒนาในการจัดการศึกษาของสถานศึกษา สภาพปัญหา นักเรียนส่วนใหญ่ ขาดทักษะความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ ไม่มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ขาดนิสัยรักการ เรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ครูขาดทักษะในการพัฒนา ความสามารถในการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนรู้จักคิด วิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์
  • 13. ๑๓ จุดเด่น ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ มีทักษะในการทางาน รักการทางาน สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต มีสุนทรียภาพ และลักษณะนิสัยด้านศิลปะ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และมีความรู้ทักษะที่จาเป็น ตามหลักสูตร ครูมีคุณลักษณะที่เหมาะสม สอนตรงตามวิชาเอกและความถนัด มีความรู้ความสามารถตรงกับ งานที่รับผิดชอบ และมีประสบการณ์ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสูง ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหารจัดการ มีการจัดกิจกรรมและการเรียน การสอนโดนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญรวมทั้งมีการส่งเสริมความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนา การศึกษา จุดที่ควรพัฒนา ผู้เรียนควรได้รับการพัฒนาให้มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวิจารณญาณ มี ความคิดสร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองรักการเรียนรู้ และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และควรได้รับการพัฒนาให้มีความรู้และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ครูควรได้รับการพัฒนาความสามารถในการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียน เป็นสาคัญ สถานศึกษาควรพัฒนาหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับผู้เรียน มีการประเมินการใช้หลักสูตร โดยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง และมีการพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็นระบบ พัฒนาสื่อการเรียนการสอนให้มีความเหมาะสม และเอื้อต่อการเรียนรู้ ตลอดจนพัฒนาการบริหารโดยใช้หลักการมีส่วนร่วมและตรวจสอบถ่วงดุลอย่างเป็นระบบ ครบวงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา
  • 14. ๑๔ ตอนที่ ๒ การวางแผนปฏิบัติการประจาปีของสถานศึกษา ๑. การบริหารจัดการศึกษา โครงสร้างการบริหารงานโรงเรียนบ้านโคกสามัคคี ผู้อำนวยกำรโรงเรียน คณะกรรมกำรสถำนศึกษำ บริหำรวิชำกำร ๑.การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ๒.การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ๓.การวัดผล ประเมินผล ๔.การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพ การศึกษา ๕.การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีทางการศึกษา ๖.การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ๗.การนิเทศการศึกษา ๘.การพัฒนาระบบการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา ๙. การส่งเสริมความรู้ด้าน วิชาการแก่ชุมชน ๑๐. การประสานความร่วมมือใน การพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษา อื่น ๑๑. การส่งเสริมและสนับสนุน งานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงานและสถาบันอื่น ที่จัดการศึกษา งบประมำณ ๑.การจัดทาและเสนอขอ งบประมาณ ๒.การจัดสรรงบประมาณ ๓.การตรวจสอบ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผล การใช้เงินและผลการ ดาเนินงาน ๔.การระดมทรัพยากรและ การลงทุนเพื่อการศึกษา ๕.การบริหารการเงิน ๖.การบริหารบัญชี ๗.การบริหารพัสดุและ สินทรัพย์ งำนบุคคล ๑.การวางแผนอัตรากาลัง และกาหนดตาแหน่ง ๒.การสรรหาและการ บรรจุแต่งตั้ง ๓.การเสริมสร้างประสิทธิ ภาพในการปฏิบัติราชการ ๔.วินัยและการรักษาวินัย ๕.การออกจากราชการ ๖.การพัฒนาบุคลากร บริหำรทั่วไป ๑.การดาเนินงานธุรการ ๒.งานพัฒนาระบบและเครือข่าย ข้อมูลสารสนเทศ ๓.การประสานและพัฒนาเครือข่าย การศึกษา ๔.การจัดระบบการบริหารและพัฒนา องค์กร ๕.การดูแลอาคารสถานที่และ สภาพแวดล้อม ๖.การจัดทาสามะโนผู้เรียน ๗.การรับนักเรียน ๘.การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ๙.งานส่งเสริมงานกิจการนักเรียน ๑๐.การประชาสัมพันธ์งานการศึกษา ๑๑.การส่งเสริมสนับสนุนและ ประสานงานการศึกษาของบุคคล ชุมชน องค์กร หน่วยงานและสถาบัน สังคมอื่นที่จัดการศึกษา ๑๒.การจัดระบบการควบคุมภายใน ๑๓.งานบริการสาธารณะ ๑๔.งานที่ไม่ได้ระบุไว้ในงานอื่น
  • 15. ๑๕ ๒. ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกิจอัตลักษณ์ เอกลักษณ์ และมาตรการส่งเสริมของสถานศึกษา ปรัชญา : อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ใส่ใจสุขภาพ โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี.แบ่งโครงสร้างการบริหารงาน เป็น 4 ด้าน ได้แก่ด้านการบริหารงานวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคลากร การบริหารงานทั่วไป ผู้บริหารนาหลักการบริหาร/ เทคนิคการบริหารหลายรูปแบบมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน เช่น การพัฒนาตาม กระบวนการ P D C A การบริหารแบบมีส่วนร่วม การบริหารโดยเน้นโรงเรียนเป็นฐาน ผลการพัฒนา คุณภาพการศึกษา/ผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีมีดังนี้ ด้านวิชาการ 1. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 1) พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา โดยนาหลักสูตรท้องถิ่นบรรจุลงในคาอธิบาย รายวิชา ในหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ 2) มีการนาหลักสูตรไปใช้อย่างเป็นระบบ 3) มีการติดตามประเมินผลการใช้หลักสูตรและมีการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 2. การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ได้มุ่งเน้นและส่งเสริมให้ครูผู้สอนทุกคนพัฒนาตนเองให้สามารถวิเคราะห์ หลักสูตรและจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยการจัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่ปลุกเร้า/ จูงใจ/เสริมแรง ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้แสดงออกอย่างสร้างสรรค์ ส่งเสริมให้นักเรียนฝึกคิด ฝึกทา ฝึกแก้ปัญหา ใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายเชื่อมโยงประสบการณ์กับชีวิตจริง สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ได้ 3. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1) ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดทาเครื่องมือวัดผลประเมินผลอย่างหลากหลาย และมีการพัฒนา เครื่องมืออย่างต่อเนื่อง 2) ส่งเสริมให้ครูนาผลการประเมินไปใช้ในการพัฒนาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 3) ครูมีเอกสารการวัดและประเมินผลครบถ้วน และจัดทาเอกสารการประเมินได้ถูกต้อง 4. การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ครูทุกคนมีผลงานการวิจัยชั้นเรียน คนละ 1 รายการ / ปีการศึกษา และมีการนาผลการวิจัยไปใช้ใน การพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน 5. การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา 1) โรงเรียนได้มีการดาเนินการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา โดยส่งเสริมให้ ครูผู้สอนผลิตสื่อ ใช้สื่อ และพัฒนาสื่ออย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ 2) ติดตั้งจานดาวเทียมเพื่อรับสัญญาณ อินเตอร์เน็ตความเร็วสูง ซึ่งส่งผลให้นักเรียนมีแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลายเพิ่มมากขึ้น 3) ส่งเสริมครูและนักเรียนใช้อินเตอร์เน็ตในการค้นคว้าหาความรู้ 4) จัดทาเว็บไซด์เพื่อประชาสัมพันธ์กิจการของโรงเรียน
  • 16. ๑๖ 6. การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ได้มีการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ทั้งในและนอกโรงเรียน ดังนี้ 1)ปรับปรุงสภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ ในโรงเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ 2)ประสานงานกับผู้ปกครอง/ชุมชน ในการนานักเรียนไปเรียนรู้ยังแหล่งความรู้ในชุมชน เช่น การเลี้ยง สัตว์ การปลูกพืช อุตสาหกรรมในครัวเรือน วัด ฯลฯ 3) ปรับปรุงห้องสมุดโรงเรียนให้สามารถบริการนักเรียนและชุมชนได้อย่างทั่วถึง และจัดกิจกรรมส่งเสริมการใช้ ห้องสมุด เช่น การประกวดยอดนักอ่านนักเขียน การประกวดเรียงความ บันทึกการอ่าน อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ 7.การนิเทศการศึกษา ดาเนินการนิเทศภายใน ตามระบบและขั้นตอนของการนิเทศการศึกษา โดยเน้นการมีส่วนร่วมของ ครูผู้สอนทุกคน โดยครูผู้สอนทุกคนจะได้รับการนิเทศด้วยวิธีการต่างๆอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง/คน 8. คุณภาพนักเรียน ระดับปฐมวัย นักเรียนระดับปฐมวัย ผ่านการประเมินความพร้อมในชั้นเรียนอนุบาลปีที่ 1 และปีที่ 2 ร้อยละ 100 และนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 ทุกคน มีความพร้อมในการเข้าเรียนชั้นประถมปีที่ 1 ระดับประถมศึกษา 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของนักเรียน และร้อยละของนักเรียนที่ได้ระดับผลการเรียนระดับ 3 – 4 ชั้นประถมปีที่ 1 – ม.3 โดยรวมในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ อยู่ในระดับดี ยกเว้นกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทาศาสตร์ และภาษาต่างประเทศ 2. อัตราการซ้าชั้น ในปีการศึกษา 2557 ไม่มีนักเรียนซ้าชั้น 3. ด้านสุขภาพอนามัยของนักเรียน นักเรียนมีสุขภาพอนามัยตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวง สาธารณสุข 4.นักเรียนร้อยละ 100 มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนด ด้านการบริหารงบประมาณ 1. โรงเรียนได้ดาเนินการด้านการบริหารงบประมาณ โดยยึดหลักความถูกต้องตามระเบียบและ เงื่อนไขทัน ตามกาหนดระยะเวลา เกิดประโยชน์สูงสุดแก่นักเรียนและโรงเรียน ดังนี้ 2.การตรวจสอบ ติดตามประเมินผล และรายงานการใช้เงิน ได้มีการแจ้งวงเงินแก่คณะกรรมการ สถานศึกษา ข้าราชการครู ดาเนินการจัดซื้อจัดจ้างตามแผนการใช้เงิน มีการตรวจสอบติดตามการใช้เงิน 3.การดาเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี และพัสดุ ได้ดาเนินการตามระเบียบ โดยเน้นความ ถูกต้อง เป็นระบบ และเป็นปัจจุบัน ด้านการบริหารงานบุคคล การบริหารงานบุคคล ได้ดาเนินการโดยยึดหลักให้มีความคล่องตัว ภายใต้กฎหมาย ระเบียบ เป็นไปตาม หลักธรรมาภิบาล ซึ่ง มีผลการดาเนินงานดังนี้ 1. พัฒนาความรู้ความสามารถในการปฎิบัติงานของข้าราชการครู ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การจัดทา ID Plan การนิเทศภายใน การจัดส่งครูเข้ารับการอมรม สัมมนา ที่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานอื่นจัด การศึกษา เอกสาร การศึกษาดูงานฯลฯ 2. การดาเนินงานทุกด้านของโรงเรียน เน้นการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง และคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 17. ๑๗ 3. การสร้างขวัญกาลังใจในการปฎิบัติงานของข้าราชการครูได้ใช้เทคนิควิธีการที่หลากหลาย ทาให้ ข้าราชการครูมีความกระตือรือร้นในการทางาน มีความสุขในการทางาน มีบรรยากาศในการทางานที่ดี ซึ่งส่งผลต่อ การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ดีขึ้น ด้านการบริหารงานทั่วไป การบริหารงานทั่วไป เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดระบบบริหารในโรงเรียน เพื่อส่งเสริมให้การ ดาเนินงานด้านอื่นๆ ของโรงเรียนเป็นไปด้วยความเรียบร้อยอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ซึ่งใน ปีงบประมาณ 2557 มีผลการดาเนินงาน ดังนี้ 1. การดาเนินงานด้านงานธุรการ เนื่องจากบุคลากรมีจานวนจากัด จึงได้ออกแบบลดขั้นตอนการ ปฏิบัติงานสารบรรณเพื่อให้เกิดความคล่องตัว 2. ด้านกิจการนักเรียน 1) ปรับปรุงข้อมูลสามะโนนักเรียนและจัดทาข้อมูลเด็กเกิด 2) จัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ให้สามารถดูแลช่วยเหลือและส่งเสริมพัฒนานักเรียนด้านต่างๆ ครบทุกคน 3) จัดทามาตรการรักษาความปลอดภัยแก่นักเรียน 4) ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้า/น้าประปา โดยการกาหนดมาตรการประหยัดพลังงาน 5) จัดกิจกรรมชุมนุมเพื่อส่งเสริมความสามารถและความถนัดของนักเรียน ประกอบด้วย ชุมนุมดนตรี ชุมนุมกีฬา ชุมนุมศิลปะชุมนุมวิชาการ และชุมนุมอาเซียน 6) จัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนเพื่อการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้าน 3. ด้านอาคารสถานที่ 1) การวางแผนการใช้อาคารเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุด 2) พัฒนาปรับปรุงสภาพแวดล้อมในโรงเรียนให้สะอาดร่มรื่น สวยงาม เป็นระเบียบเรียบร้อย 3) พัฒนาห้องสมุดให้เป็นห้องสมุดมีชีวิต 4. การพัฒนาระบบเทคโนโลยี ได้ดาเนินการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการติดตั้ง จานดาวเทียม เพื่อรับสัญญาณอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง สาหรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนและงานด้านต่าง ๆ ของโรงเรียน 5. ส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานกับเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษากลุ่มทัพบดินทร์ ในการ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียน 6. จัดโรงเรียนให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน และให้บริการแก่ชุมชน 7. การระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา ได้มีการระดมทรัพยากร จากบุคคลองค์กรชุมชน และองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อใช้ในการพัฒนาโรงเรียนสู่โรงเรียนต้นแบบโรงเรียนในฝัน การพัฒนาผู้นาการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ 1. การนาการเปลี่ยนแปลง โดยการกาหนดทิศทางในการปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน จัดกิจกรรมให้สอดคล้อง กับทิศทางในการปรับปรุงพัฒนาโรงเรียน พร้อมกับการสร้างและส่งเสริมให้เกิดภาวะผู้นาของบุคลากรใน โรงเรียน 2. การกระจายอานาจโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน 2.1 เน้นการทางานเป็นทีม มีการแสดงออกถึงความรับผิดชอบและชื่นชมต่อผลงานร่วมกัน มี ปฏิสัมพันธ์เชื่อมโยงงานระหว่างทีมงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดของงาน 2.2 มีระบบถ่วงดุล โดยมีกระบวนการควบคุมภายใน มีการบริหารจัดการความเสี่ยง ประเมินผลและรายงานผลการปฏิบัติงานและนาเสนอต่อสาธารณะ
  • 18. ๑๘ 2.3 การมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการสนับสนุนและ การจัดการศึกษาของโรงเรียน 2.4 ยึดหลักธรรมาภิบาล โดยมีการประชุมปรึกษาและนิเทศงานอย่างสม่าเสมอ การทางาน โดยยึดกฎ ระเบียบ ธรรมเนียม ประเพณีอย่างเป็นธรรม คานึงถึงประโยชน์ของนักเรียนและชุมชนเป็น สาคัญเปิดเผยข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อบุคลากรในองค์กรและสาธารณชน 3. การปฏิรูปการเรียนรู้สู่มาตรฐานการศึกษา โดยนาผลการทด สอบ ระดับชาติและข้อมูลสารสนเทศการ ประเมินภายนอกประเมินภายในมาใช้ในการพัฒนาโรงเรียน พัฒนาบุคลากรให้ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอน สร้างบรรยากาศแห่งการเรียนรู้ในองค์กร มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในองค์กร 4.การดาเนินงานห้องเรียนคุณภาพ 4.1 จัดหาสื่อและอุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ 4.2 พัฒนาห้องสมุดให้เอื้อต่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ ทันสมัย สะดวกต่อการสืบค้น มีหนังสือเพียงพอ จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้อย่างหลากหลายและต่อเนื่องผู้เรียนมีโอกาสใช้อย่างทั่วถึง 4.3 พัฒนาห้องปฏิบัติการให้มีสภาพพร้อมใช้ มีอุปกรณ์เพียงพอและมีความปลอดภัย 4.4 พัฒนาห้องเรียนให้เอื้อต่อการเรียนรู้ มีความสะอาด มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย มีสื่อเทคโนโลยีที่ ทันสมัยอยู่ในสภาพพร้อมใช้ และมีความเพียงพอสาหรับนักเรียนทุกคน 4.5 บรรยากาศห้องเรียนน่าเรียน มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และปลอดภัย มีแสงสว่าง เพียงพอ โต๊ะเก้าอี้เหมาะสมกับผู้เรียน จัดเหมาะสมกับวิธีการจัดการเรียนรู้ มีการจัดมุมหรือป้ายนิเทศ กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วิสัยทัศน์ โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี เป็นโรงเรียนดี ครูมีคุณภาพ สภาพแวดล้อมเยี่ยม นักเรียนเปี่ยมคุณธรรม นาสู่การพัฒนา ก้าวหน้าทางเทคโนโลยี มีคุณภาพการศึกษาตามเกณฑ์ มาตรฐาน สืบสานวัฒนธรรมไทย พันธกิจ 1. จัดให้มีการพัฒนา ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับสภาพปัจจุบันและพัฒนา คุณภาพนักเรียน เต็มศักยภาพ โดยเน้นการจัดการเรียนการสอน ที่ยึดเด็กเป็นสาคัญ 2.จัดให้มีการพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ด้านความมีระเบียบ วินัย ซื่อสัตย์ เสียสละ ขยัน ประหยัด อดทน และมีสัมมาคารวะ โดยจัดกิจกรรมส่งเสริม คุณธรรม จริยธรรม ให้ นักเรียนรู้จักทาความดี 3.จัดให้มีการสนับสนุนให้ชุมชนองค์กร ทุกฝ่ายเข้ามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอย่างทั่วถึง 4.จัดให้มีการส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้เป็นมืออาชีพ สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.จัดให้มีการพัฒนาลักษณะทางกายภาพของโรงเรียนให้เอื้อพัฒนาคุณภาพและการศึกษา 6.จัดให้มีสื่อ เทคโนโลยีให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพ 7.จัดให้มีกิจกรมส่งเสริมและสืบสานวัฒนธรรมไทย
  • 19. ๑๙ เป้าหมาย 1. นักเรียนทุกคนได้พัฒนาเต็มศักยภาพ 2.นักเรียนทุกคนมีลักษณะที่พึงประสงค์ อยู่ในสังคมไทยได้อย่างมีความสุข 3.ชุมชนองค์กร ยอมรับและเชื่อมั่นให้ความร่วมมือ ในการจัดการศึกษาของโรงเรียน เป็นอย่างดี 4.ครูจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญอย่างมีประสิทธิภาพ 5.โรงเรียน มีสื่อเทคโนโลยีที่มีคุณภาพอย่างเพียงพอ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา ประหยัดและอดออม เอกลักษณ์ของสถานศึกษา ในฝันโรงเรียน คาขวัญ พึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียร เรียนดี มีคุณธรรม กลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา กลยุทธ์ จากวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ โรงเรียนบ้านโคกสามัคคีจึงกาหนด กลยุทธ์ ดังต่อไปนี้ กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม ความสามารถด้านเทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ กลยุทธ์ที่ 2 ปลูกฝังคุณธรรม ความสานึกในความเป็นชาติไทยและวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ที่ 3 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึง ครอบคลุม ผู้เรียนได้รับโอกาสในการพัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทั้งระบบ ให้สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี คุณภาพ กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษา ตามแนวทางการกระจายอานาจทางการศึกษา หลัก ธรรมาภิบาล เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนและความร่วมมือกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษา กลยุทธ์ที่ 6 พัฒนาอัตลักษณ์โรงเรียนบ้านโคกสามัคคี
  • 20. ๒๐ จุดเน้น 1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้นอย่างน้อยร้อยละ 5 2. นักเรียน ทุกคนอ่านคล่อง เขียนคล่อง(ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) คิดเลขคล่อง และมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน 3. นักเรียนทุกคนมีความสานึกในความรักชาติไทย และดารงสืบสานวัฒนธรรมไทย 4. เพิ่มศักยภาพนักเรียนด้านคณิตศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี 5. นักเรียนทุกคนเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน เพิ่มโอกาส การศึกษาต่อและประกอบอาชีพ และได้รับการจัดการระบบดูและช่วยเหลือนักเรียนที่เข้มแข็ง 6. ส่งเสริมการจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนในฝัน 7. นักเรียน ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนาเตรียมความพร้อม สู่ประชาคมอาเซียนมีภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงและสังคมพหุวัฒนธรรม 8. โรงเรียนมีระบบประกันคุณภาพภายในที่เข้มแข็งและได้รับการรับรองจากการประเมิน คุณภาพ ภายนอก 9 .นักเรียนได้รับการส่งเสริมกิจกรรมการศึกษาค้นคว้าอิสระ การคิดวิเคราะห์และการพัฒนา ทักษะ นาเสนอผลงา น การนาเสนอความสามารถด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา ความสามารถด้าน ภาษาไทยและ ภาษาอังกฤษ การพูดและการเขียนเรียงความขั้นสูง การส่งเสริมการอ่าน 10. โรงเรียนมีการพัฒนาอาคารสถานที่ ห้องพิเศษ ห้องบริการ โรงเรียนสวยงามและเอื้อต่อการ เรียนรู้
  • 21. ๒๑ ๔. เป้าหมายการจัดการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษา ๔.๑ มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย มาตรฐาน/ ตัวบ่งชี้ ปฐมวัย เป้าหมาย/เกณฑ์ ที่คาดหวัง มาตรฐานด้านคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานที่ ๑ เด็กมีพัฒนาการด้านร่างกาย ๑.๑ มีนาหนักส่วนสูงเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๕ ๑.๒ มีทักษะการเคลื่อนไหวตามวัย ๘๕ ๑.๓ มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพของตนเอง ๘๕ ๑.๔ หลีกเลี่ยงต่อสภาวะที่เสี่ยงต่อโรค อุบัติเหตุ ภัย และสิ่งเสพติด ๘๕ มาตรฐานที่ ๒ เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ ๒.๑ ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง ๘๕ ๒.๒ มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก ๘๘ ๒.๓ ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย ๘๕ ๒.๔ ชื่นชมศิลปะ คนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ ๘๕ มาตรฐานที่ ๓ เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม ๓.๑ มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคาสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์ ๘๕ ๓.๒ มีความซื่อสัตย์ สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน ๘๕ ๓.๓ เล่นและทางานร่วมกับผู้อื่นได้ ๘๕ ๓.๔ ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนเองนับถือ ๘๕ มาตรฐานที่ ๔ เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา ๔.๑ สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้ ๘๕ ๔.๒ มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้ ๘๐ ๔.๓ มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย ๘๕ ๔.๔ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ ๘๒ ๔.๕ มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ๘๐ มาตรฐานด้านการจัดการศึกษา มาตรฐานที่ ๕ ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล ๕.๑ ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถนามา ประยุกต์ใช้ ในการจัดประสบการณ์ ๘๕ ๕.๒ ครูจัดทาแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและสามารถจัดประสบการณ์การ เรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล ๘๕ ๕.๓ ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวิธีนับเชิงบวก ๘๕ ๕.๔ ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก ๘๕ ๕.๕ ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของ เด็กแก่ผู้ปกครอง ๘๕ ๕.๖ ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการจัดประสบการณ์ ๘๕ ๕.๗ ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ๘๕ ๕.๘ ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง ๘๕ ๕.๙ ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย ๘๕ ๕.๑๐ ครูจัดสารนิทัศน์และนามาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก ๘๕ มาตรฐานที่ ๖ ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและ เกิดประสิทธิผล ๖.๑ ผู้บริหารเข้าใจปรัชญาและหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕ ๖.๒ ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ ภาวะผู้นา และมีความคิดริเริ่มที่เน้นพัฒนาเด็กปฐมวัย ๘๕ ๖.๓ ผู้บริหารใช้หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วมและใช้ข้อมูลการประเมินผลหรือการวิจัยเป็นฐานคิดทั้งด้าน วิชาการและการจัดการ ๘๕
  • 22. ๒๒ มาตรฐาน/ ตัวบ่งชี้ ปฐมวัย เป้าหมาย/เกณฑ์ ที่คาดหวัง ๖.๔ ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามแผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ๘๕ ๖.๕ ผู้บริหารส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีประสิทธิภาพ ๘๕ ๖.๖ ผู้บริหารให้คาแนะนาคาปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาปฐมวัยเต็มศักยภาพและเต็มเวลา ๘๒ ๖.๗ เด็ก ผู้ปกครอง และชุมชนพึงพอใจผลการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕ มาตรฐานที่ ๗ แนวการจัดการศึกษา ๗.๑ มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนาสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๘๕ ๗.๒ มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕ ๗.๓ จักกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕ ๗.๔ สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครองชุมชนและท้องถิ่น ๘๕ ๗.๕ จัดสิ่งอานวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน ๘๕ มาตรฐานที่ ๘ สถานศึกษามีการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาตาม ที่กาหนด ในกฎกระทรวง ๘.๑ กาหนดมาตรฐานการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา ๘๕ ๘.๒ จัดทาและดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๘๕ ๘.๓ จัดระบบข้อมูลสารสนเทศและใช้สารสนเทศในการบริหารจัดการ ๘๕ ๘.๔ ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนินงานคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๘๕ ๘.๕ นาผลการประเมินคุณภาพทั้งภายในและภายนอกไปใช้วางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง ๘๕ ๘.๖ จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ๘๕ มาตรฐานด้านการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๙สถานศึกษามีการสร้าง ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ ๙.๑ เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา ๘๕ ๙.๒ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่ เกี่ยวข้อง ๘๕ มาตรฐานด้านอัตลักษณ์ มาตรฐานที่ ๑๐การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของ การศึกษาปฐมวัย ๑๐.๑ จัดโครงการกิจกรรมพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมายปรัชญาวิสัยทัศน์และจุดเน้นการจัดการศึกษา ปฐมวัย ๘๕ ๑๐.๒ ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ๘๕ มาตรฐานด้านมาตรการส่งเสริม มาตรฐานที่ ๑๑ การพัฒนาสถานศึกษาตามนโยบายและแนวทางการปฏิรูปการศึกษา เพื่อยกระดับคุณภาพให้สูงขึ้น ๑๑.๑ จัดโครงการ กิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนตามนโยบายเกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย ๘๕ ๑๑.๒ ผลการดาเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย ๘๕