SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
2.3 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก
ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นอกจากเหล็ก ซึ่งเป็นวัสดุช่างที่สาคัญ ยังมีโลหะที่มิใช่เหล็ก โลหะประเภทนี้ แบ่งออกเป็น 2
ประเภทใหญ่ ๆ คือ โลหะหนักและโลหะเบา
โลหะหนัก หมายถึง โลหะที่มีความหนาแน่นมากกว่า 4 กรัม/ซม3
ทองแดง (CU)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 8.93g/cm3
- จุดหลอมละลาย 1083°c
- อ่อนเหนียว
- ดึงและรีดได้
- นาไฟฟ้าได้ดี
- เชื่อมติดยาก แต่บัดกรีได้
- นาความร้อน
- ทนต่อการสึกหรอ
- ทนต่อการกัดกร่อน
- ใช้เป็นภาชนะบรรจุอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรดไม่ได้
- ทองแดงรีดได้บางที่สุด 0.01 มม. ดึงได้เส้นผ่านศูนย์กาลาง 0.02 มม.
กรรมวิธีถลุงทองแดง
แร่ที่นามาถลุงเอาทองแดง คือ แร่ทองแดงไพไรต์ แร่ทองแดงออกไซด์ แร่ทองแดงซัลไฟต์ แร่ทองแดงดา และแร่
ทองแดงคาร์บอเนต กรรมวิธีถลุงนั้นมี 2 กรรมวิธี
กรรมวิธีแห้ง (Dry Process)
นาแร่ทองแดงซัลไฟต์ (Cu2 s) มาเผาคั่ว กามะถันที่ปนอยู่ในแร่จะทาปฏิกิริยากับออกซิเจนกลายเป็นแก๊สซัลเฟอร์ได
ออกไซด์ (So2) แร่ทองแดงซัลไฟต์มีออกซิเจนเข้าแทนที่กามะถัน กลายเป็นทองแดงออกไซด์ นาทองแดงออกไซด์ไปถลุงกับ
แร่ทองแดงซัลไฟต์ดีกครั้งหนึ่ง กามะถันที่อยู่ในแร่ทองแดงซัลไฟต์จะรวมตัวกับออกซิเจนที่ปนอยู่ในแร่ทองแดงออกไซด์
กลายเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระเหยออกไป ได้เนื้อทองออกมาดังสมการ
เผาคั่ว (Roasting) 2Cu2S + 302 2Cu2 O + 2So2
ถลุง (Semelting) 2Cu2O + Cu2S 6Cu + So2
รูปที่ 2.30 เตาคั่วแร่ทองแดง
กรรมวิธีเปียก (Fluid Process)
นาแร่ทองแดงซัลไฟต์ละลายกับกรดกามะถันหรือกรดเกลือ กรดเกลือนี้จะกัดเนื้อทองแดงออกจากแร่ประสมอยู่ใน
กรดเกลือ นาสารละลายนี้ไปแยกทองแดงด้วยกระแสไฟฟ้า ทองแดงจะเคลือบอยู่ที่แผ่นอิเล็กโตรดขั้วลบ ทองแดงที่ได้มาจาก
กรรมวิธีแห้งและวิธีเปียกนี้ นาไปใช้งานยังไม่ได้เพราะมีสารมลทินปนอยู่ต้องนาไปแยกสารมลทินออกโดยวิธีทาให้ทองแดง
บริสุทธิ์
กรรมวิธีทาทองแดงดิบให้เป็นทองแดงบริสุทธิ์
นาแผ่นทองแดงดิบเป็นอิเล็กโทรดทาหน้าที่เป็นขั้วบวก แผ่นทองแดงบริสุทธิ์เป็นขั้วลบจุ่มอยู่ในสารละลายที่มีกรด
กามะถันกับทองแดงดิบละลายอยู่ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไป เกิดปฏิกิริยาทองแดงบริสุทธิ์ไปเคลือบที่ขั้วลบ สารมลทิน
ปนอยู่ในสารละลายทองแดงที่ได้นี้มีความบริสุทธิ์ 99.99% เรียกว่าอิเล็กโตรไลติกคอปเปอร์ เป็นทองแดงที่นาไฟฟ้าได้ดีที่สุด
ใช้ทาวงจรพิมพ์ในเครื่องรับวิทยุ
รูปที่ 2.31 แสดงกรรมวิธีทาทองแดงดิบให้เป็นทองแดงบริสุทธิ์
ประโยชน์ของแดง
- ใช้เป็นตัวนาไฟฟ้า
- ทาไส้หลอดไฟ
- ทาโลหะหัวแร้งบัดกรี
- เป็นโลหะประสมทาภาชนะ
- ทาท่อในเครื่องเย็น
- ทาเครื่องนาอากาศเหลว
- ในยุโรปใช้ทาแผ่นหลังคาบ้าน
รูปที่ 2.32 ปลายหัวแร้งทาด้วยทองแดง
สังกะสี (Zn)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 7,149 g/cm3
- ไม่ทนต่อกรดและเกลือ
- จุดหลอมละลาย419.5°c - ขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน
- เปราะหักง่าย - เหนียว
- ทนต่อการกัดกร่อนได้มากที่สุด - เม็ดเกรนโต
- รีดและดึงได้ - ทนต่อบรรยากาศ
กรรมวิธีถลุงสังกะสี
แร่ที่นามาถลุงสังกะสี คือ แร่สังกะสีซัลไฟต์ ทางโลหะวิทยาเรียกว่า สปาร์เลอร์ไรด์นามาเผาคั่วกามะถันที่ปนอยู่ใน
แร่รวมตัวกับออกซิเจนในอาหาศกลายเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระเหยออกไป ออกซิเจนจะเข้าแทนที่กามะถัน แร่
สังกะสีซัลไฟต์จะกลายเป็นสังกะสีออกไซด์ (ZnO) นาแร่สังกะสีออกไซด์ไปถลุง โดยมีถ่านคาร์บอนเป็นเชื้อเพลิงคาร์บอน (C)
ที่อยู่ในถ่านรวมตัวกับออกซิเจนที่อยู่ในแร่กลายเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ระเหยออกไป ก็จะได้สังกะสีออกมาดังสมการ
2Zns + 302 2ZnO + 2SO2
ZnOC Zn + CO2
รูปที่ 2.33 เตาคั่วแร่สังกะสี
ประโยชน์
- ใช้อาบแผ่นเหล็ก เช่น สังกะสีมุงหลังคาลวดหนาม ท่อประปา กระป๋ อง
- ใช้เป็นขั้วลบในแบตเตอรี่รถยนต์
- ทาปลอกถ่านไฟฉาย
- ทาสี
- ชิ้นงานหล่อใช้ทาคาร์บูเรเตอร์รถยนต์โครงปั๊มน้ามันเชื้อเพลิง
- มือจับประตู
- ทาลูกกุญแจ
รูปที่ 2.34 กระป๋ องอาบสังกะสี
ดีบุก (Sn)
ประเทศไทยมีดีบุกเป็นอันดับสามของโลก อันดับสองคือ มาเลเซีย และอันดับหนึ่งคือ ประเทศโบลิเวีย
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 7,289 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 231.8°c
- มีสีขาวคล้ายเงิน
- อ่อนรีดได้ง่าย
- ทนต่อการกัดกร่อน
- หักจะมีเสียงดัง
- มีจุดหลอมต่า
- ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย
- อุณหภูมิต่ากว่า 18°c จะสลายตัวเป็นเม็ดป่นสีเทา
กรรมวิธีถลุงดีบุก
แร่ที่นามาถลุง คือ แร่ดีบุกออกไซด์ ทางโลหะวิทยาเรียกว่า เคสซิเทอร์ไรด์หรือทินสโตน นาแร่ดีบุกออกไซดมาถลุง
โดยใช้คาร์บอน คาร์บอนจะดึงเอาออกซิเจนที่อยู่ในแร่มารวมเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระเหยออกไป จะได้เนื้อดีบุกดัง
สมการ
(Roasting) 2ZnS + 302 2ZnO + 2SO2
(Semelting) 2ZnO + C CO2 + 2Zn
ประโยชน์
- ใช้อาบแผ่นเหล็ก (เหล็กวิลาศ) - ใช้เป็นโลหะบัดกรี
- ทากระป๋ องบรรจุอาหาร - เป็นโลหะยุทธปัจจัย
- เป็นโลหะประสม - ใช้ทาแผ่นฟอยด์
- โลหะหล่อตัวพิมพ์ - ใช้ทาเครื่องประดับ
ตะกั่ว (Pb)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 11.349 g/cm3
- มีความเหนียว
- จุดหลอมละลาย 327.4°C - ทนกรด
- นิ่ม อ่อน - สารประกอบเป็นพิษต่อร่างกาย
- เป็นตัวหล่อลื่นที่ดี - มีความแข็งแรงต่า
- ทนการกัดกร่อนได้ดี - จุดหลอมต่า
- ทาให้ขึ้นรูปง่าย
กรรมวิธีถลุงตะกั่ว
แร่ที่นามาถลุง คือ แร่ตะกั่วซัลไฟต์ ทางโลหะวิทยาเรียกว่า กาลีนา (Calena) หรือกาลีไนต์ (Calinte) นาแร่ตะกั่วซัล
ไฟต์เผาคั่ว ออกซิเจนในอากาศจะดึงเอากามะถันที่อยู่ในแร่รวมตัวเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระเหยออกไป แร่
ตะกั่วก็จะกลายเป็นตะกั่วออกไซด์นาไปถลุงต่อ คาร์บอนที่อยู่ในถ่านดึงเอาออกซิเจนในแร่รวมตัวกลายเป็นแก๊ส
คาร์บอนได้ออกไซด์ระเหยออกไปที่เหลือจะเป็นเนื้อตะกั่ว
ประโยชน์
- ใช้ผสมหมึกพิมพ์สี
- ทาโลหะประสม
- ใช้ทาน้าหนักถ่วงความสมดุล
- ใช้ทาแผ่นฟอยด์
- ใช้ในงานอุตสาหกรรมทาสี เช่น สีขาว สีเสน
- ทาแผ่นตะกั่วในหม้อแบตเตอรี่ (ขั้วบวก)
- ทาโลหะหุ้มสายเคเบิล โลหะเบริ่ง
- ทาฉากป้ องกันกัมมันตภาพรังสีต่าง ๆ
- ใช้บุตามผนังห้อง พื้นห้อง เพื่อเก็บเสียงและลดความสั่นสะเทือน
- ตะกั่วหลอมใช้ในการชุบแข็ง
- ทาโลหะแบริ่ง
- เกลือของตะกั่วใช้เป็นองค์ประกอบของการทาแก้วเจียระไน
- ทาเลนส์
รูปที่ 2.35 แบตเตอรี่รถจักรยานยนต์เป็นธาตุทาด้วยตะกั่วบริสุทธิ์
นิกเกิล (Ni)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 8.85 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 1452°C
- มีสีขาวคล้ายเงิน
- เหนียว
- ขัดขึ้นมันได้ดี
- ทนต่อการกัดกร่อน
- ถ้าประสมกับเหล็กจะมีคุณสมบัติแม่เหล็ก
ประโยชน์
- ทาวาล์วที่อยู่ในต่าง
- เป็นโลหะประสม
- ใช้ทาเครื่องมือแพทย์
- ทาเครื่องมือเกี่ยวกับสารเคมี
- ผสมกับเหล็กเป็นเหล็กไร้สนิม
- ใช้ในงานชุบเคลือบผิวป้ องกันสนิม
- ชุบผิวทองเหลือง
รูปที่ 2.36 ประแจเลื่อนชุบผิวด้วยนิกเกิล
โครเมียม (Cr)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 7.1 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 3370°C
- มีสีขาวเหมือนเงิน
- เหนียว
- มีจุดหลอมสูง
- ทนต่อการกัดกร่อน
- นาความร้อนได้ดี
- นาไฟฟ้าได้ดี
- แข็ง รูปที่ 2.37 กรรไกรทาด้วยเหล็กไร้สนิม
- เปราะ
ประโยชน์
- ใช้ทาไส้หลอดไฟฟ้า
- ทาอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์
- ทาโลหะประสม เช่น พวกเหล็กไฮสปีด
- โลหะแข็ง เหล็กเครื่องมือ
- แผ่นกั้นเปลวไฟ
- กังหันแก๊ส
- หน้าคอนแทค
รูปที่ 2.38 ไส้หลอดไฟทาด้วยวุลแฟรม
โมลิบดีนัม (Mo)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 10.29 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 2600°C
- มีความเค้นแรงดึงสูง
- ดัดงอโค้งได้
- มีสีขาวเหมือนเงิน
- ทาเป็นแผ่นได้
- มีความเหนียว
ประโยชน์
- เป็นโลหะประสมเป็นโลหะแข็ง
- ใช้เป็นอิเล็กโทรดในหลอดรังสีเอกซเรย์
- ใช้เป็นสารหล่อลื่น
รูปที่ 2.39 น้ามันเครื่องมีส่วนผสมของโมลิบดีนัมซัลไฟต์
วาเนเดียม (V)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 6.1 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 1730 g
- มีสีเทาคล้ายเหล็ก
- แข็งมาก
- ทนกรด
- ทนความร้อนได้สูง
- เตรียมจากสารประกอบของเหล็ก
- มีความเค้นแรงดึงสูง
รูปที่ 2.40 เครื่องมือทุกประเภทเป็นโลหะประสมวาเนเดียม
ประโยชน์
- เป็นโลหะประสมกับเหล็ก ซึ่งประสมลงไปเพียงนิดหน่อย ก็ทาให้เหล็กมีคุณสมบัติในด้านความเหนียวและ
ความเค้นแรงดึงสูงมาก
-
โคบอลต์ (Co)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 8.9 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 1490°C
- มีสีเงินเทา
- มีความเหนียวมากกว่านิกเกิล
บิสมัท (Bi)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 9.8 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 271°C
- มีสีค่อนข้างแดง
- เปราะ
- แข็ง
- ประสมในโลหะทาให้จุดหลอมเหลมต่าลง
- มีจุดหลอมต่า
ประโยชน์
- ทาฟิวส์ไฟฟ้า
- ทาโคมสะท้อนแสงไฟ
ปรอท (Hg)
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 13,595 g/cm3
- มีสีขาว
- เป็นของเหลวในอุณหภูมิปกติ
- รวมตัวกับโลหะอื่นได้เกือบทุกชนิดยกเว้น เหล็ก นิกเกิล วุลแฟรม โมลิบดีนัม
- มีการขยายตัวสูงมาก
- ไอของปรอทมีพิษ
ประโยชน์
- บรรจุในเทอร์โมมิเตอร์
- ทาสวิตซ์ปรอท
- ไอของปรอทบรรจุในหลอดไฟมีผลให้แสงสีเขียวและอัลตราไวโอเลตซึ่งใช้ได้ทั้งไฟส่องสว่างและเป็นไฟ
วิทยาศาสตร์ฆ่าเชื้อโรค
เงิน (Ag)
เป็นโลหะราคาแพง เรียกโลหะมีตระกูลหรือโลหะเศรษฐกิจ
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 10.5 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 960°C
- มีสีขาว
- นาไฟฟ้าได้ดีที่สุด
- ดีขึ้นรูปได้
- มีการขยายตัวเท่ากับทองเหลือง
- เป็นมัน
- มีราคาแพง
- ใช้เป็นโลหะชุบ
ประโยชน์
- ใช้เป็นเงินตรา
- ใช้ทาเครื่องใช้ต่าง ๆ
- ใช้ชุบเงิน
- ทาโลหะรูปพรรณ
- เป็นมัน
- มีราคาแพง
- ใช้เป็นโลหะชุบ
- ประสมกับโลหะอื่นทาเหรียญ
- ใช้ทาหลอดในกลักฟิวส์และหน้าสัมผัสในงานไฟฟ้า
- ใช้ทาเครื่องมือวัดด้วยแสงที่ต้องการความเที่ยงตรงของสเกล เช่น กล้องโทรทรรศน์ กล้องเซ็กเตนด์ซีโอโคไลด์
ทองคา (Au)
เป็นโลหะมีตระกูลเช่นเดียวกับเงิน
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 19.33 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 1063°C
- เป็นโลหะอ่อน
- รีดง่าย
- นาไฟฟ้า
- ทนต่อการกัดกร่อน
- ทนต่อไฟ
- ความบริสุทธิ์ของทองวัดเป็นกะรัต ทองบริสุทธิ์ คือ ทอง 24 กะรัต
ประโยชน์
- ทาเครื่องประดับ
- ทาฟัน
- เป็นโลหะเศรษฐกิจ
ทองคาขาว (Pt)
เป็นโลหะมีตระกูลเช่นเดียวกับเงิน
คุณสมบัติ
- ความหนาแน่น 21.45 g/cm3
- จุดหลอมละลาย 1773°C
- ราคาแพง
- เป็นโลหะที่หนักที่สุด
- มันวาว
- สีขาวไม่มีสนิม
- นาไฟฟ้าได้ดี
- เป็นโลหะที่ไม่รวมตัวกับออกซิเจนในอากาศ
- ดึงและรีดได้
- รีดได้บางที่สุด 0.0025 มม.
- ดึงเป็นเส้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.015 มม.
- ทนต่อการกัดกร่อน
ประโยชน์
- ทาเครื่องประดับ
- ทาเครื่องมือแพทย์
- ทาเบ้าหลอมที่ต้องทนอุณหภูมิสูงและทนต่อการกัดกร่อน
- ในงานอุตสาหกรรมใช้เป็นคู่สายเทอร์โมคัปเปิล ใช้วัดอุณหภูมิได้สูง 1,600°C
-
โลหะเบา หมายถึง โลหะที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า 4 กรัม/ซม3
อลูมิเนียม (Aluminium) สัญลักษณ์ AI
คุณสมบัติเฉพาะของอลูมิเนียม
- ความหนาแน่น 2.7 กรัม/ซม3
- จุดหลอมเหลว 658 องศาเซลเซียศ
- ความแค้นแรงดึง 98 นิวตัน/มม2
(อลูมิเนียมหล่อ)
68 นิวตัน/มม2
(อลูมิเนียมมอบเหนียว)
166 นิวตัน/มม2
(อลูมิเนียมรีดแข็ง)
- อัตราการยืดตัวประมาณ 3-35%
- ความต้านทานจาเพาะ 0.0278 __ _.__มม
ม
อลูเนียมผลิตจากแร่ Boxite ซึ่งมี AI2 O3 ประมาณ 55-60% แร่บอกไซท์พบมากในตอนใต้ของฝรั่งเศส ยูโกสลาเวีย อินเดีย
รัสเซีย และอเมริกา
คุณสมบัติทั่วไป
อลูมิเนียมออกไซด์ เป็นวัสดุซึ่งทนต่อการกัดกร่อนได้ดี น้าหนักเบา เป็นตัวนาความร้อนและไฟฟ้าที่ดีใช้ในงานรีด
หล่อ อัดขึ้นรูป หรือผ่านการตัดเฉือนได้ง่าย
การถลุงอลูมิเนียม (Production of Aluminium)
ในการถลุงอลูมิเนียมจะทาเป็น 2 ขั้นตอน คือ
1. จากแร่ Boxite ทาให้เป็น AI2 O3
2. ทาการลดออกซิเจนจาก AI2 O3 เพื่อให้ได้อลูมิเนียม
ถ้าต้องการอลูมิเนียม 1 ตัน จะต้องใช้ AI2 O3 2 ตัน และต้องใช้แร่ Boxite จานวน 4 ตัน การถลอลูมิเนียมจะต้องใช้
กระแสไฟสูง
ประโยชน์ของอลูมิเนียม
อลูมิเนียมได้ถูกนามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึ้นเป็นลาดับ เช่น เครื่องใช้ในการหุงต้ม
สายไฟฟ้า กรอบหรือโครงเครื่องใช้ไฟฟ้า ใช้ทาเฟอร์นิเจอร์ กระป๋ องอาหารสาเร็จรูปหลอดยาต่าง ๆ ใช้ภายในเครื่องยนต์ เช่น
ตัวเรือนเครื่องยนต์ ลูกสูบ และอื่น ๆ ในงานบางลักษณะ ที่ต้องการความแข็งแรงสูงแต่ต้องการน้าหนักเบา สามารถทาได้โดย
ทาเป็นอลูมิเนียมประสม (Aluminium Alloy)
แมกนีเซียม (Magnesium) สัญลักษณ์ Mg
คุณสมบัติเฉพาะของแมกนีเซียม
- ความหนาแน่น 1.74 กรัม/ซม3
- จุดหลอมเหลว 650 องศาเซลเซียส
- ความต้านทานจาเพาะ 0.44__ _.__มม2
โลหะแมกนีเซียม เป็นโลหะที่มีมากอย่างหนึ่งในโลก แร่แมกนีเซียมที่พบมากได้แก่ Magnesite และ แร่หินปูนโดโล
ไมต์ (Dolomite)
Magnesite (MgCO3) มี Mg 27%
Dolomite (CaCO3 . MgCO3) มี Mg 13%
การถลุงแมกนีเซียม
การถลุงแมกนีเซียม ทาเป็น 2 ขั้นตอน คือ
1. ถลุงแร่แมกนีเซียม จะได้แมกนีเซียมคอลไรด์
2. นาแมกนีเซียมคลอไรด์ไปผ่านการแยกด้วยไฟฟ้า จะได้แมกนีเซียม
ประโยชน์ของแมกนีเซียมบริสุทธิ์
ใช้เป็นโลหะประสม ให้ทาพลุเพลิง ใช้ไล่ออกซิเจนในการหลอมนิเกิล ใช้ใส่ลงในน้าเหล็กหล่อให้
เป็นเหล็กหล่อกราไฟต์ก้อนกลม แมกนีเซียมติดไฟได้และให้เปลวสว่างใช้ทาแฟลชท์ไลท์สาหรับถ่ายรูป ทาดอกไม้ไฟ ทาพลุ
ส่องสว่างในสนามและพลุสงคราม

More Related Content

What's hot

บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวโครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวPanu Kethirun
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนsomchao
 
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]อบต. เหล่าโพนค้อ
 
ปกเค้าโครงงานวิจัยA
ปกเค้าโครงงานวิจัยAปกเค้าโครงงานวิจัยA
ปกเค้าโครงงานวิจัยANeannapa Khajornmot
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์Pipat Chooto
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1sompak02
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีApinya Phuadsing
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่Phudittt
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10supap6259
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดีย
14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดีย14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดีย
14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดียBeerrrbood
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสJariya Jaiyot
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยSarit Tiyawongsuwan
 
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพPattamaporn Kheawfu
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 

What's hot (20)

บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าวโครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
โครงงานกระดาษซับน้ำมันจากใยมะพร้าว
 
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียนแบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
แบบฝึกหน่วยที่ 1 นักเรียน
 
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
นำเสนอธนาคารขยะโรงเรียนบ้านห้วยยาง [โหมดความเข้ากันได้]
 
Empirical exc. sp
Empirical exc. spEmpirical exc. sp
Empirical exc. sp
 
ปกเค้าโครงงานวิจัยA
ปกเค้าโครงงานวิจัยAปกเค้าโครงงานวิจัยA
ปกเค้าโครงงานวิจัยA
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
เรื่อง ของเล่นของใช้ ป1
 
123
123123
123
 
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10สุขฯ ม.2 หน่วย 10
สุขฯ ม.2 หน่วย 10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดีย
14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดีย14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดีย
14 หลักการเรียนรู้มัลติมีเดีย
 
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบสLab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
Lab 2 ปฏิกิริยาระหว่างกรดกับเบส
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอยคู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
คู่มือแนวทางการลดคัดแยก และใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
ข้อสอบ O-net ปี 53 วิชา สุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพ
 
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 1 รู้จักอาเซียน
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

2 5

  • 1. 2.3 โลหะที่ไม่ใช่เหล็ก ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นอกจากเหล็ก ซึ่งเป็นวัสดุช่างที่สาคัญ ยังมีโลหะที่มิใช่เหล็ก โลหะประเภทนี้ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ โลหะหนักและโลหะเบา โลหะหนัก หมายถึง โลหะที่มีความหนาแน่นมากกว่า 4 กรัม/ซม3 ทองแดง (CU) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 8.93g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1083°c - อ่อนเหนียว - ดึงและรีดได้ - นาไฟฟ้าได้ดี - เชื่อมติดยาก แต่บัดกรีได้ - นาความร้อน - ทนต่อการสึกหรอ - ทนต่อการกัดกร่อน - ใช้เป็นภาชนะบรรจุอาหารที่มีฤทธิ์เป็นกรดไม่ได้ - ทองแดงรีดได้บางที่สุด 0.01 มม. ดึงได้เส้นผ่านศูนย์กาลาง 0.02 มม. กรรมวิธีถลุงทองแดง แร่ที่นามาถลุงเอาทองแดง คือ แร่ทองแดงไพไรต์ แร่ทองแดงออกไซด์ แร่ทองแดงซัลไฟต์ แร่ทองแดงดา และแร่ ทองแดงคาร์บอเนต กรรมวิธีถลุงนั้นมี 2 กรรมวิธี กรรมวิธีแห้ง (Dry Process) นาแร่ทองแดงซัลไฟต์ (Cu2 s) มาเผาคั่ว กามะถันที่ปนอยู่ในแร่จะทาปฏิกิริยากับออกซิเจนกลายเป็นแก๊สซัลเฟอร์ได ออกไซด์ (So2) แร่ทองแดงซัลไฟต์มีออกซิเจนเข้าแทนที่กามะถัน กลายเป็นทองแดงออกไซด์ นาทองแดงออกไซด์ไปถลุงกับ แร่ทองแดงซัลไฟต์ดีกครั้งหนึ่ง กามะถันที่อยู่ในแร่ทองแดงซัลไฟต์จะรวมตัวกับออกซิเจนที่ปนอยู่ในแร่ทองแดงออกไซด์ กลายเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระเหยออกไป ได้เนื้อทองออกมาดังสมการ เผาคั่ว (Roasting) 2Cu2S + 302 2Cu2 O + 2So2 ถลุง (Semelting) 2Cu2O + Cu2S 6Cu + So2
  • 2. รูปที่ 2.30 เตาคั่วแร่ทองแดง กรรมวิธีเปียก (Fluid Process) นาแร่ทองแดงซัลไฟต์ละลายกับกรดกามะถันหรือกรดเกลือ กรดเกลือนี้จะกัดเนื้อทองแดงออกจากแร่ประสมอยู่ใน กรดเกลือ นาสารละลายนี้ไปแยกทองแดงด้วยกระแสไฟฟ้า ทองแดงจะเคลือบอยู่ที่แผ่นอิเล็กโตรดขั้วลบ ทองแดงที่ได้มาจาก กรรมวิธีแห้งและวิธีเปียกนี้ นาไปใช้งานยังไม่ได้เพราะมีสารมลทินปนอยู่ต้องนาไปแยกสารมลทินออกโดยวิธีทาให้ทองแดง บริสุทธิ์ กรรมวิธีทาทองแดงดิบให้เป็นทองแดงบริสุทธิ์ นาแผ่นทองแดงดิบเป็นอิเล็กโทรดทาหน้าที่เป็นขั้วบวก แผ่นทองแดงบริสุทธิ์เป็นขั้วลบจุ่มอยู่ในสารละลายที่มีกรด กามะถันกับทองแดงดิบละลายอยู่ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไป เกิดปฏิกิริยาทองแดงบริสุทธิ์ไปเคลือบที่ขั้วลบ สารมลทิน ปนอยู่ในสารละลายทองแดงที่ได้นี้มีความบริสุทธิ์ 99.99% เรียกว่าอิเล็กโตรไลติกคอปเปอร์ เป็นทองแดงที่นาไฟฟ้าได้ดีที่สุด ใช้ทาวงจรพิมพ์ในเครื่องรับวิทยุ รูปที่ 2.31 แสดงกรรมวิธีทาทองแดงดิบให้เป็นทองแดงบริสุทธิ์
  • 3. ประโยชน์ของแดง - ใช้เป็นตัวนาไฟฟ้า - ทาไส้หลอดไฟ - ทาโลหะหัวแร้งบัดกรี - เป็นโลหะประสมทาภาชนะ - ทาท่อในเครื่องเย็น - ทาเครื่องนาอากาศเหลว - ในยุโรปใช้ทาแผ่นหลังคาบ้าน รูปที่ 2.32 ปลายหัวแร้งทาด้วยทองแดง สังกะสี (Zn) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 7,149 g/cm3 - ไม่ทนต่อกรดและเกลือ - จุดหลอมละลาย419.5°c - ขยายตัวเมื่อได้รับความร้อน - เปราะหักง่าย - เหนียว - ทนต่อการกัดกร่อนได้มากที่สุด - เม็ดเกรนโต - รีดและดึงได้ - ทนต่อบรรยากาศ กรรมวิธีถลุงสังกะสี แร่ที่นามาถลุงสังกะสี คือ แร่สังกะสีซัลไฟต์ ทางโลหะวิทยาเรียกว่า สปาร์เลอร์ไรด์นามาเผาคั่วกามะถันที่ปนอยู่ใน แร่รวมตัวกับออกซิเจนในอาหาศกลายเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระเหยออกไป ออกซิเจนจะเข้าแทนที่กามะถัน แร่ สังกะสีซัลไฟต์จะกลายเป็นสังกะสีออกไซด์ (ZnO) นาแร่สังกะสีออกไซด์ไปถลุง โดยมีถ่านคาร์บอนเป็นเชื้อเพลิงคาร์บอน (C) ที่อยู่ในถ่านรวมตัวกับออกซิเจนที่อยู่ในแร่กลายเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซค์ระเหยออกไป ก็จะได้สังกะสีออกมาดังสมการ 2Zns + 302 2ZnO + 2SO2 ZnOC Zn + CO2
  • 4. รูปที่ 2.33 เตาคั่วแร่สังกะสี ประโยชน์ - ใช้อาบแผ่นเหล็ก เช่น สังกะสีมุงหลังคาลวดหนาม ท่อประปา กระป๋ อง - ใช้เป็นขั้วลบในแบตเตอรี่รถยนต์ - ทาปลอกถ่านไฟฉาย - ทาสี - ชิ้นงานหล่อใช้ทาคาร์บูเรเตอร์รถยนต์โครงปั๊มน้ามันเชื้อเพลิง - มือจับประตู - ทาลูกกุญแจ รูปที่ 2.34 กระป๋ องอาบสังกะสี ดีบุก (Sn) ประเทศไทยมีดีบุกเป็นอันดับสามของโลก อันดับสองคือ มาเลเซีย และอันดับหนึ่งคือ ประเทศโบลิเวีย คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 7,289 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 231.8°c
  • 5. - มีสีขาวคล้ายเงิน - อ่อนรีดได้ง่าย - ทนต่อการกัดกร่อน - หักจะมีเสียงดัง - มีจุดหลอมต่า - ไม่เป็นพิษต่อร่างกาย - อุณหภูมิต่ากว่า 18°c จะสลายตัวเป็นเม็ดป่นสีเทา กรรมวิธีถลุงดีบุก แร่ที่นามาถลุง คือ แร่ดีบุกออกไซด์ ทางโลหะวิทยาเรียกว่า เคสซิเทอร์ไรด์หรือทินสโตน นาแร่ดีบุกออกไซดมาถลุง โดยใช้คาร์บอน คาร์บอนจะดึงเอาออกซิเจนที่อยู่ในแร่มารวมเป็นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ระเหยออกไป จะได้เนื้อดีบุกดัง สมการ (Roasting) 2ZnS + 302 2ZnO + 2SO2 (Semelting) 2ZnO + C CO2 + 2Zn ประโยชน์ - ใช้อาบแผ่นเหล็ก (เหล็กวิลาศ) - ใช้เป็นโลหะบัดกรี - ทากระป๋ องบรรจุอาหาร - เป็นโลหะยุทธปัจจัย - เป็นโลหะประสม - ใช้ทาแผ่นฟอยด์ - โลหะหล่อตัวพิมพ์ - ใช้ทาเครื่องประดับ ตะกั่ว (Pb) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 11.349 g/cm3 - มีความเหนียว - จุดหลอมละลาย 327.4°C - ทนกรด - นิ่ม อ่อน - สารประกอบเป็นพิษต่อร่างกาย - เป็นตัวหล่อลื่นที่ดี - มีความแข็งแรงต่า - ทนการกัดกร่อนได้ดี - จุดหลอมต่า - ทาให้ขึ้นรูปง่าย กรรมวิธีถลุงตะกั่ว แร่ที่นามาถลุง คือ แร่ตะกั่วซัลไฟต์ ทางโลหะวิทยาเรียกว่า กาลีนา (Calena) หรือกาลีไนต์ (Calinte) นาแร่ตะกั่วซัล ไฟต์เผาคั่ว ออกซิเจนในอากาศจะดึงเอากามะถันที่อยู่ในแร่รวมตัวเป็นแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ระเหยออกไป แร่
  • 6. ตะกั่วก็จะกลายเป็นตะกั่วออกไซด์นาไปถลุงต่อ คาร์บอนที่อยู่ในถ่านดึงเอาออกซิเจนในแร่รวมตัวกลายเป็นแก๊ส คาร์บอนได้ออกไซด์ระเหยออกไปที่เหลือจะเป็นเนื้อตะกั่ว ประโยชน์ - ใช้ผสมหมึกพิมพ์สี - ทาโลหะประสม - ใช้ทาน้าหนักถ่วงความสมดุล - ใช้ทาแผ่นฟอยด์ - ใช้ในงานอุตสาหกรรมทาสี เช่น สีขาว สีเสน - ทาแผ่นตะกั่วในหม้อแบตเตอรี่ (ขั้วบวก) - ทาโลหะหุ้มสายเคเบิล โลหะเบริ่ง - ทาฉากป้ องกันกัมมันตภาพรังสีต่าง ๆ - ใช้บุตามผนังห้อง พื้นห้อง เพื่อเก็บเสียงและลดความสั่นสะเทือน - ตะกั่วหลอมใช้ในการชุบแข็ง - ทาโลหะแบริ่ง - เกลือของตะกั่วใช้เป็นองค์ประกอบของการทาแก้วเจียระไน - ทาเลนส์ รูปที่ 2.35 แบตเตอรี่รถจักรยานยนต์เป็นธาตุทาด้วยตะกั่วบริสุทธิ์ นิกเกิล (Ni) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 8.85 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1452°C - มีสีขาวคล้ายเงิน - เหนียว
  • 7. - ขัดขึ้นมันได้ดี - ทนต่อการกัดกร่อน - ถ้าประสมกับเหล็กจะมีคุณสมบัติแม่เหล็ก ประโยชน์ - ทาวาล์วที่อยู่ในต่าง - เป็นโลหะประสม - ใช้ทาเครื่องมือแพทย์ - ทาเครื่องมือเกี่ยวกับสารเคมี - ผสมกับเหล็กเป็นเหล็กไร้สนิม - ใช้ในงานชุบเคลือบผิวป้ องกันสนิม - ชุบผิวทองเหลือง รูปที่ 2.36 ประแจเลื่อนชุบผิวด้วยนิกเกิล โครเมียม (Cr) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 7.1 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 3370°C - มีสีขาวเหมือนเงิน - เหนียว - มีจุดหลอมสูง - ทนต่อการกัดกร่อน - นาความร้อนได้ดี - นาไฟฟ้าได้ดี - แข็ง รูปที่ 2.37 กรรไกรทาด้วยเหล็กไร้สนิม - เปราะ
  • 8. ประโยชน์ - ใช้ทาไส้หลอดไฟฟ้า - ทาอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ - ทาโลหะประสม เช่น พวกเหล็กไฮสปีด - โลหะแข็ง เหล็กเครื่องมือ - แผ่นกั้นเปลวไฟ - กังหันแก๊ส - หน้าคอนแทค รูปที่ 2.38 ไส้หลอดไฟทาด้วยวุลแฟรม โมลิบดีนัม (Mo) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 10.29 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 2600°C - มีความเค้นแรงดึงสูง - ดัดงอโค้งได้ - มีสีขาวเหมือนเงิน - ทาเป็นแผ่นได้ - มีความเหนียว ประโยชน์ - เป็นโลหะประสมเป็นโลหะแข็ง - ใช้เป็นอิเล็กโทรดในหลอดรังสีเอกซเรย์ - ใช้เป็นสารหล่อลื่น
  • 9. รูปที่ 2.39 น้ามันเครื่องมีส่วนผสมของโมลิบดีนัมซัลไฟต์ วาเนเดียม (V) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 6.1 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1730 g - มีสีเทาคล้ายเหล็ก - แข็งมาก - ทนกรด - ทนความร้อนได้สูง - เตรียมจากสารประกอบของเหล็ก - มีความเค้นแรงดึงสูง รูปที่ 2.40 เครื่องมือทุกประเภทเป็นโลหะประสมวาเนเดียม ประโยชน์ - เป็นโลหะประสมกับเหล็ก ซึ่งประสมลงไปเพียงนิดหน่อย ก็ทาให้เหล็กมีคุณสมบัติในด้านความเหนียวและ ความเค้นแรงดึงสูงมาก - โคบอลต์ (Co) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 8.9 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1490°C - มีสีเงินเทา - มีความเหนียวมากกว่านิกเกิล
  • 10. บิสมัท (Bi) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 9.8 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 271°C - มีสีค่อนข้างแดง - เปราะ - แข็ง - ประสมในโลหะทาให้จุดหลอมเหลมต่าลง - มีจุดหลอมต่า ประโยชน์ - ทาฟิวส์ไฟฟ้า - ทาโคมสะท้อนแสงไฟ ปรอท (Hg) คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 13,595 g/cm3 - มีสีขาว - เป็นของเหลวในอุณหภูมิปกติ - รวมตัวกับโลหะอื่นได้เกือบทุกชนิดยกเว้น เหล็ก นิกเกิล วุลแฟรม โมลิบดีนัม - มีการขยายตัวสูงมาก - ไอของปรอทมีพิษ ประโยชน์ - บรรจุในเทอร์โมมิเตอร์ - ทาสวิตซ์ปรอท - ไอของปรอทบรรจุในหลอดไฟมีผลให้แสงสีเขียวและอัลตราไวโอเลตซึ่งใช้ได้ทั้งไฟส่องสว่างและเป็นไฟ วิทยาศาสตร์ฆ่าเชื้อโรค เงิน (Ag) เป็นโลหะราคาแพง เรียกโลหะมีตระกูลหรือโลหะเศรษฐกิจ คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 10.5 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 960°C - มีสีขาว - นาไฟฟ้าได้ดีที่สุด - ดีขึ้นรูปได้
  • 11. - มีการขยายตัวเท่ากับทองเหลือง - เป็นมัน - มีราคาแพง - ใช้เป็นโลหะชุบ ประโยชน์ - ใช้เป็นเงินตรา - ใช้ทาเครื่องใช้ต่าง ๆ - ใช้ชุบเงิน - ทาโลหะรูปพรรณ - เป็นมัน - มีราคาแพง - ใช้เป็นโลหะชุบ - ประสมกับโลหะอื่นทาเหรียญ - ใช้ทาหลอดในกลักฟิวส์และหน้าสัมผัสในงานไฟฟ้า - ใช้ทาเครื่องมือวัดด้วยแสงที่ต้องการความเที่ยงตรงของสเกล เช่น กล้องโทรทรรศน์ กล้องเซ็กเตนด์ซีโอโคไลด์ ทองคา (Au) เป็นโลหะมีตระกูลเช่นเดียวกับเงิน คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 19.33 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1063°C - เป็นโลหะอ่อน - รีดง่าย - นาไฟฟ้า - ทนต่อการกัดกร่อน - ทนต่อไฟ - ความบริสุทธิ์ของทองวัดเป็นกะรัต ทองบริสุทธิ์ คือ ทอง 24 กะรัต ประโยชน์ - ทาเครื่องประดับ - ทาฟัน - เป็นโลหะเศรษฐกิจ
  • 12. ทองคาขาว (Pt) เป็นโลหะมีตระกูลเช่นเดียวกับเงิน คุณสมบัติ - ความหนาแน่น 21.45 g/cm3 - จุดหลอมละลาย 1773°C - ราคาแพง - เป็นโลหะที่หนักที่สุด - มันวาว - สีขาวไม่มีสนิม - นาไฟฟ้าได้ดี - เป็นโลหะที่ไม่รวมตัวกับออกซิเจนในอากาศ - ดึงและรีดได้ - รีดได้บางที่สุด 0.0025 มม. - ดึงเป็นเส้นมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.015 มม. - ทนต่อการกัดกร่อน ประโยชน์ - ทาเครื่องประดับ - ทาเครื่องมือแพทย์ - ทาเบ้าหลอมที่ต้องทนอุณหภูมิสูงและทนต่อการกัดกร่อน - ในงานอุตสาหกรรมใช้เป็นคู่สายเทอร์โมคัปเปิล ใช้วัดอุณหภูมิได้สูง 1,600°C - โลหะเบา หมายถึง โลหะที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า 4 กรัม/ซม3 อลูมิเนียม (Aluminium) สัญลักษณ์ AI คุณสมบัติเฉพาะของอลูมิเนียม - ความหนาแน่น 2.7 กรัม/ซม3 - จุดหลอมเหลว 658 องศาเซลเซียศ - ความแค้นแรงดึง 98 นิวตัน/มม2 (อลูมิเนียมหล่อ) 68 นิวตัน/มม2 (อลูมิเนียมมอบเหนียว) 166 นิวตัน/มม2 (อลูมิเนียมรีดแข็ง) - อัตราการยืดตัวประมาณ 3-35% - ความต้านทานจาเพาะ 0.0278 __ _.__มม ม
  • 13. อลูเนียมผลิตจากแร่ Boxite ซึ่งมี AI2 O3 ประมาณ 55-60% แร่บอกไซท์พบมากในตอนใต้ของฝรั่งเศส ยูโกสลาเวีย อินเดีย รัสเซีย และอเมริกา คุณสมบัติทั่วไป อลูมิเนียมออกไซด์ เป็นวัสดุซึ่งทนต่อการกัดกร่อนได้ดี น้าหนักเบา เป็นตัวนาความร้อนและไฟฟ้าที่ดีใช้ในงานรีด หล่อ อัดขึ้นรูป หรือผ่านการตัดเฉือนได้ง่าย การถลุงอลูมิเนียม (Production of Aluminium) ในการถลุงอลูมิเนียมจะทาเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1. จากแร่ Boxite ทาให้เป็น AI2 O3 2. ทาการลดออกซิเจนจาก AI2 O3 เพื่อให้ได้อลูมิเนียม ถ้าต้องการอลูมิเนียม 1 ตัน จะต้องใช้ AI2 O3 2 ตัน และต้องใช้แร่ Boxite จานวน 4 ตัน การถลอลูมิเนียมจะต้องใช้ กระแสไฟสูง ประโยชน์ของอลูมิเนียม อลูมิเนียมได้ถูกนามาเกี่ยวข้องกับชีวิตประจาวันมากขึ้นเป็นลาดับ เช่น เครื่องใช้ในการหุงต้ม สายไฟฟ้า กรอบหรือโครงเครื่องใช้ไฟฟ้า ใช้ทาเฟอร์นิเจอร์ กระป๋ องอาหารสาเร็จรูปหลอดยาต่าง ๆ ใช้ภายในเครื่องยนต์ เช่น ตัวเรือนเครื่องยนต์ ลูกสูบ และอื่น ๆ ในงานบางลักษณะ ที่ต้องการความแข็งแรงสูงแต่ต้องการน้าหนักเบา สามารถทาได้โดย ทาเป็นอลูมิเนียมประสม (Aluminium Alloy) แมกนีเซียม (Magnesium) สัญลักษณ์ Mg คุณสมบัติเฉพาะของแมกนีเซียม - ความหนาแน่น 1.74 กรัม/ซม3 - จุดหลอมเหลว 650 องศาเซลเซียส - ความต้านทานจาเพาะ 0.44__ _.__มม2 โลหะแมกนีเซียม เป็นโลหะที่มีมากอย่างหนึ่งในโลก แร่แมกนีเซียมที่พบมากได้แก่ Magnesite และ แร่หินปูนโดโล ไมต์ (Dolomite) Magnesite (MgCO3) มี Mg 27% Dolomite (CaCO3 . MgCO3) มี Mg 13%
  • 14. การถลุงแมกนีเซียม การถลุงแมกนีเซียม ทาเป็น 2 ขั้นตอน คือ 1. ถลุงแร่แมกนีเซียม จะได้แมกนีเซียมคอลไรด์ 2. นาแมกนีเซียมคลอไรด์ไปผ่านการแยกด้วยไฟฟ้า จะได้แมกนีเซียม ประโยชน์ของแมกนีเซียมบริสุทธิ์ ใช้เป็นโลหะประสม ให้ทาพลุเพลิง ใช้ไล่ออกซิเจนในการหลอมนิเกิล ใช้ใส่ลงในน้าเหล็กหล่อให้ เป็นเหล็กหล่อกราไฟต์ก้อนกลม แมกนีเซียมติดไฟได้และให้เปลวสว่างใช้ทาแฟลชท์ไลท์สาหรับถ่ายรูป ทาดอกไม้ไฟ ทาพลุ ส่องสว่างในสนามและพลุสงคราม