SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
Social Media

        Social Media หมายถึงสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้
สื่อสาร หรือ เขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราว ประสบการณ์บทความ
รูปภาพ และ วีดิโอ ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอ
จากสื่ออื่นๆ แล้วนามา แบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของ
ตน ผ่านทางเว็บไซต์
ลักษณะของโซเซียลมีเดีย
สรุป
 โซเชียลมีเดีย เป็นเครื่องมือออนไลน์ที่ทาให้เรามีปฏิสัมพันธ์กับ
  ผู้อื่นด้วยการแบ่งปันข้อมูลหรือพูดคุยกัน
 โซเชียลมีเดีย มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ไม่ควรที่จะปิดกั้นตัวเองไม่
  ใช้ แต่ก็ไม่ควรที่จะใช้อย่างไม่มีวินัย
 เราควรจะเรียนรู้ที่จะใช้โซเชียลมีเดียให้เหมาะสมและให้เป็น
  ประโยชน์
การนา Social Media มาใช้
   ในการเรียนการสอน
การนา E-learning และ Social Media
มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่าง E-learning กับ
                  social media
 เราสามารถใช้คุณสมบัติของ Social Media ในการส่งเสริมการเรียนรู้
  ของผู้เรียนแบบ E-Learning ได้เป็นอย่างดี
 โดยในด้าน - การติดต่อ สื่อสาร การติดตาม ประสานงาน การส่งงานผ่าน
  Social Media และการแบ่งปันความรู้ระหว่างผู้สอน-ผู้สอน ผู้สอน-
  ผู้เรียน ผู้เรียน-ผู้เรียน
 การใช้ Social Media เป็นสื่อการเรียนรู้ ประกอบการเรียนการสอน เป็น
  ส่วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
 การใช้ Social Media รวบรวมแหล่งเรียนรู้ต่างๆในการศึกษาเรียนรู้ด้วย
  ตนเอง
การนา e-learning กับ social มาใช้ในการ
                 จัดการเรียนการรู้
1. ครูผู้สอนสอนโดยใช้ E-learning และSocial Media มาเป็นเครื่องมือ
   ประกอบการจัดการเรียนรู้
    ครูจะ ใช้ E-learning และSocial Media ถ่ายทอดเนื้อหา สาระ
      ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือประกอบการสอน ใน
      รายวิชาต่างๆ โดยให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ สร้างองค์ความรู้
      และเรียนรู้องค์ความรู้ต่างๆ ผ่าน E-learning และSocial Media
    อีกทั้ง การที่ครูได้นาสื่อ ICT ที่ได้จากการรวบรวมสื่อ ICT รูปแบบ
      ต่างๆ มาออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้ใหม่อย่างเป็นขั้นตอนแล้ว
      ให้นักเรียนเข้าไปศึกษาหาความรู้นั้น และทาการวัดประเมินผล ใน
      ลักษณะ ระบบออนไลน์
1.1 สอนโดยนาE-learning และSocial Media มาถ่ายทอด แบ่งปันองค์
   ความรู้และสาระเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ประกอบการสอนในแต่ละรายวิชา
   ในลักษณะ ต่างๆ
    เช่น การนาเสนอเนื้อหาผ่านโปรแกรมนาเสนอ(Presentation), สื่อ
     วีดิทัศน์ (VDO), สื่อ Electronic อื่นๆ ได้แก่ E–book, LO
     (Learning Objects), บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI),
     Courseware รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์รปแบบใหม่อื่นๆ แล้วแต่จะ
                                             ู
     เรียก เป็นต้น ลักษณะสื่อ ICT
    ปัจจุบันควรมีลักษณะที่มีขนาดของแฟ้มข้อมูล (file) ที่มีขนาดเล็ก
     ซึ่งสามารถออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตโดยใช้ Social Media
     และสามารถเข้าถึงสื่อได้อย่างรวดเร็ว
สอนโดยนา E-learning และSocial Media มาถ่ายทอด แบ่งปันองค์ความรู้และ
  สาระเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ประกอบการสอนในแต่ละรายวิชาในลักษณะ ต่างๆ
1.2 นาสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ได้จากการผลิต การสืบค้น หรือ สื่อ
   อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ มาออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning
   Courseware ด้วยระบบการจัดการ LMS (Learning Management
   System) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
    ผู้สอนอาจออกแบบให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการวัดและ
      ประเมินผล การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชานั้นๆ ได้โดยไม่ได้พบปะกับ
      ครูผสอนหรืออาจมาพบปะเป็นครั้งคราวก็ได้
          ู้
    หากนักเรียนเกิดมีปัญหาในการเรียนรู้อาจใช้ กระดานข่าว (web
      board) หรือ Social Media เช่น Twitter, Hi5, Face book, E-
      mail ในการติดต่อเพื่อสอบถามและแก้ไขปัญหากับครูผสอน    ู้
นาสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ได้จากการผลิต การสืบค้น หรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ มา
                   ออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning
2. ครูผู้สอนสอนให้นักเรียนเรียนรู้การใช้E-learning และการติดต่อสื่อสารด้วย
    Social Media โดยตรง
          2.1 ครูผู้สอน สอนให้นักเรียนสามารถใช้เครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร
    ผ่าน Social Media ในระบบอินเทอร์เน็ต แล้วครูนามาใช้เป็นเครื่องมือใน
    การจัดการเรียนรู้ และติดต่อกับผู้เรียน ได้แก่ การสืบค้นข้อมูล Search
    Engine, E-mail, Twitter, Hi5, Facebook, Twitter เป็นต้น
2.2 สอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติแต่มีการและ
   ประเมินผลงาน โดยใช้ Social Media ซึ่งนักเรียนมีความสามารถ
   ในการใช้งานสื่อ ICT โดยได้เรียนรู้การใช้งานโปรแกรมต่างๆ
   มาแล้วในวิชาคอมพิวเตอร์
   เช่น การจัดกิจกรรมรายวิชาวิทยาศาสตร์ ให้นักเรียนค้นหาประวัติ
    นักวิทยาศาสตร์ จากอินเทอร์เน็ตและทาการประเมินผลด้วยการให้
    นักเรียนจัดทารายงานด้วยโปรแกรมจัดทาเอกสารสานักงานต่างๆ
   นาเสนอเนื้อหาผ่านโปรแกรม Presentation ต่างๆ แล้วส่งครูผ่าน E-
    mail , Facebook, Slideshare
   อาจจัดทาเป็น WebPages หรือถ่ายเป็นวีดิโออัพโหลดผ่าน Youtube
    แล้วส่ง Link มาให้ครู แล้วครูก็ประเมินผลการดาเนินงานตามสาระ
    เนื้อหาและข้อมูลที่นักเรียน ได้นาเสนอ เป็นต้น
สอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติแต่มีการและประเมินผลงาน
                   โดยใช้ Social Media
การประยุกต์ใช้ E-learning และSocial Media
         ประกอบการจัดการเรียนรู้
 ใช้นาเข้าสู่บทเรียน




      ขั้นนาเข้าสูบทเรียน ครูผู้สอนอาจนาภาพ ดิจิทัล (Digital) จาก
                   ่
       Google , Flickr, Picasa หรือ VDO จาก Youtube หรือสื่อ
       อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอนมาให้นักเรียนดู
      สนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับชมเพื่อกระตุ้นความสนใจให้กับผู้เรียน
       โดยไม่จาเป็นต้องให้นักเรียนดูทั้งหมดของเรื่องที่นามาเสนอ สร้าง
       เร้าความสนใจในบทเรียนของนักเรียน สามารถตอบสนองความ
       ต้องการในการเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้


   ครูผสอนอาจออกแบบกิจกรรมการเรียนรูโดยอาศัยการจัดการใน
        ู้                           ้
    ระบบ LMS โดยอาศัย Software ให้นักเรียนเลือกศึกษาความรู้จาก
    การออกแบบของครูผู้สอนให้นักเรียนได้เลือกเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
    โดยอาศัยสื่ออื่นประกอบ
   เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ชวยสอน (CAI) E-Book, LOs,
                                 ่
    Courseware, VDO ผู้สอนจะต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้ไว้
    ล่วงหน้า
   และพิจารณาเนื้อหาทีสอนมาให้นักเรียนศึกษา เรียนรู้ดวยตนเอง
                           ่                            ้
    หรือให้เลือกสื่อให้นักเรียนเรียนรู้จากสื่อโดยตรง
 ใช้ขยายความรู้ การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้


   ครูผู้สอนต้องพิจารณาความรู้ความสามารถความพร้อมในการใช้ E-learning
     และSocial Media ของผู้เรียนมาเป็นแนวทางในการออกแบบกิจกรรมการ
     เรียนรู้และให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ เช่น
   ค้นหาความรู้จากอินเทอร์เน็ต โดยใช้ Search Engine เช่น ค้นหา
    ข้อมูลเนื้อหา รูปภาพ แผนที่จาก Google ค้นเรื่องราวข้อเท็จจริงที่
    เกี่ยวข้องจาก youtubeในลักษณะรายการโทรทัศน์
   นาความรู้ที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เป็นความรู้ของตนเอง
    และจัดทาเป็นเอกสารด้วยMS Word ส่ง E-mail ให้ครู หรือ แชร์ใน
    กลุ่ม Facebook
 สร้าง เป็น E-Book, Webpage หรือรายการโทรทัศน์ แล้วอัพโหลด
  ผ่านทาง Facebook-
 ให้นักเรียนทาปฏิทิน คานวณหาคาตอบทางคณิตศาสตร์ด้วย MS
  Excel - ทาบัตรอวยพร บัตรเชิญ หรือ แผ่นภาพสรุปความรู้ ด้วย MS
  Power point แล้ว Save เป็น .jpg แล้วอัพโหลดส่งครูผ่าน
  Facebook
 เปิดกระดานสนทนา (Web board) ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่ง
  กันและกัน- สร้างเป็นกลุ่มสนใจ เช่น Web Blog, Social Network
  ขยายความรู้ในกลุ่มด้วย hi5, Face book, twitter
 ใช้สรุปเนื้อหา


   ครูจะใช้ในขั้นตอนสุดท้ายของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง หรือแต่ละ
    ชั่วโมงครูอาจออกแบบนา Social Media มาให้นักเรียนทาการสรุปในลักษณะ
    ต่างๆ เช่น
   สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้มานาเสนอและจัดทาด้วยโปรแกรม
    คอมพิวเตอร์ นาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดย
    เชื่อมโยงกับการใช้ Social Media เช่น การใช้ Mindmeister ทา Mind
    map ออนไลน์ แล้วแบ่งปันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เป็นต้น
   นาสื่อ LO เกม หรือเพลงที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาให้
    นักเรียนทากิจกรรมเพื่อทบทวนความรู้และสรุปความรู้จากการเรียนรู้ หรือนา
    VDO จาก Youtube มาให้นักเรียนสรุปความรู้และประยุกต์ใช้ ใน
    ชีวิตประจาวัน
3. จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่วางแผนและออกแบบไว้
   โดยบูรณาการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ 3 ลักษณะ คือ
        1) ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น
        การนาคลิปวิดีโอจาก Youtube มาสร้างความสนใจในการนาเข้าสู่
   บทเรียนและประกอบการอธิบาย ซึ่งอาจใช้ผ่านเว็บไซต์โดยตรงแบบ
   ออนไลน์ หรือ ดาวน์โหลดเป็นไฟล์ไว้
        ยังสามารถนามารวมไว้ใน Wordpress สาหรับให้นักเรียนเข้ามา
   ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง หรือมอบหมายงานให้นักเรียนอภิปรายความรู้
   จากคลิปวิดีโอ เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้อัพโหลดไฟล์วิดีโอขึ้นไว้ใน
   Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress อีกด้วย
1) ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น

  อัพโหลดไฟล์วิดีโอขึ้นไว้ใน Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress
การนาภาพต่างๆ เช่น ภาพภูเขาไฟ ภาพโลก ภาพหิน มาจาก
                 Flickr และ Google
- การอัพโหลดเอกสารประกอบการสอน Presentation ใบงาน ขึ้นไว้ใน
Slideshare และ Scribd ตลอดจนการนาเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง ใน
Slideshare และ Scribd มาใช้ประกอบการสอน
- การนาเสนอข้อมูล เนื้อหา แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ รายละเอียดที่น่าสนใจ ผ่าน
ทาง Wordpressให้นักเรียนเข้ามาศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย และมี
ปฏิสัมพันธ์ในการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
2) ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่สนใจ เช่น
การใช้ Facebook Twitter Wordpress ในการแจ้งข่าวสาร แจ้งภาระงาน ตลอดจนการเชิญ
ชวนและประชาสัมพันธ์เข้าไปศึกษาเยี่ยมชมในบล็อกของครู
ใช้ในการมอบหมายงาน แสดงความคิดเห็น แบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
  ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่สนใจ ผ่านการ
                         Comment ในบทความ
 การมอบหมายงาน ครูจะดาเนินการสร้างบทความที่มีการนาเนื้อหาข่าว
  รูปภาพ หรือคลิปวิดีโอ มานาเสนอ พร้อมตั้งคาถามที่เน้นการกระตุ้นให้
  นักเรียนนาความรู้จากที่เรียนมาในห้องเรียน มาคิดเพื่อ ตอบคาถาม ในเชิง
  วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น
 เพราะฉะนั้นนักเรียนจะมีคาตอบที่ไม่ซ้ากันและไม่สามารถลอกกันได้ ซึ่งอาจ
  กาหนดให้มีการทาโพลล์ เพื่อสารวจความคิดเห็นของนักเรียนด้วย พร้อม
  จัดหาแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูล และแสวงหาสื่อการเรียนการสอนเพื่อใช้ใน
  การส่งเสริม การจัดการเรียนการสอนอยู่เสมอ
 นอกจากการเรียนการสอนแล้ว ยังได้ใช้ Wordpress ในการเผยแพร่และ
  ประชาสัมพันธ์ผลงาน กิจกรรม ตลอดจนสาระน่ารู้ที่จะเป็นประโยชน์ต่อ
  นักเรียน ครูและผู้ที่สนใจอีกด้วย
   4. ขั้นประเมินผล
       หลังจากที่ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว ต้องมีการวัดและ
           ประเมินผล ตรวจงานและประเมินผลจากการตอบคาถาม แสดง
           ความคิดเห็นของนักเรียนต่อสถานการณ์ที่ครูกาหนดเป็นบทความ
           ผ่านทาง http://teacherkobwit2010.wordpress.com และการ
           ทางานภายในห้องเรียนอย่างต่อเนื่อง
       ทั้งนี้ครูอาจใช้ Social Media ที่หลากหลายในการประเมิน เช่น
           Google Doc, Springnote หรือการทาโพลล์ เป็นต้น ซึงในการ
                                                            ่
           ประเมินครูควรกาหนดเป็น RuBricScore ที่ชัดเจน
ตัวอย่างการประเมินผลโดยการทาโพลล์
www.slideshare.com




www.youtube.com
การนาเสนอเนื้อหาสาระ ข้อมูลต่างๆและรวบรวมแหล่งเรียนรู้ต่างๆโดยใช้ Blog
                         www.wordpress.com
การสืบค้นข้อมูลออนไลน์ผ่าน Search engine ต่างๆ
               www.google.com
เพื่อการติดต่อ สื่อสาร แบ่งปันข้อมูล แจ้งข่าวสาร
              www.facebook.com
เพื่อการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลงาน ของครูและนักเรียน




                                          www.wordpress.com
เพื่อการดูแลช่วยเหลือติดตาม พฤติกรรมของนักเรียน




                                     www.facebook.com
เพื่อการประสานความร่วมมือ ติดต่อสื่อสารถึงผู้ปกครอง
เพื่อการดูแลช่วยเหลือติดตาม พฤติกรรมของนักเรียน
เพื่อการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียน
นโยบายของประเทศไทย กับการใช้ ICT ในการจัด
                   การศึกษา
 กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและ
  การสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556
  และได้กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
  สื่อสาร เพื่อการศึกษา ไว้ 4 ประการ คือ
 1. สร้างกาลังคนให้มีศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ
  การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม
  วิจารณญาณ และรู้เท่าทัน รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการ
  แข่งขันของประเทศไทย
 2. สนับสนุนการเรียนการสอน ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
  และการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาของประเทศไทย
 3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
  สื่อสาร เพื่อสนับสนุนด้านการศึกษาของประเทศไทย
 4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการ
  บริหารจัดการและการบริการด้านการศึกษา ซึ่งจะเอื้อต่อการสร้าง
  ธรรมาภิบาลของสังคม
 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
  2551 มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ
  โดยมีสมรรถนะ ที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี 1
  สมรรถนะ คือ
 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็น
  ความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง
  ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการ
  พัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ
  สื่อสารการทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
  ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)                            เทคโนโลยีการสื่อสาร (CT)
                   เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)




                         สมรรถนะและการเรียนรู้ของผู้เรียน
   นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนาเยาวชน ของชาติ
    เข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รัก
    ความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้าน
    เทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น
    ในสังคมโลกได้อย่างสันติ
ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชน จะใช้ ICT เพื่อพัฒนา
                 การศึกษาได้อย่างไร?

   แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 ได้ให้ความหมายของ เทคโนโลยี
    สารสนเทศและการสื่อสาร(Information and Communication
    Technology : ICT)” ไว้ว่า หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบ
    คอมพิวเตอร์ ระบบซอฟต์แวร์ ระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบเครือข่าย
    ระบบโทรคมนาคม วิทยุและโทรทัศน์ ที่ใช้เพื่อการศึกษา
    (กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556. 2554 : 1)
สมาชิกกลุ่มที่ 4
 นางสาวอุบล   คาคาดวน        รหัส   54010540001
 นายสุทธิพงษ์ โฮมแพน         รหัส   54010540002
 นางสาวชลิฎา ทามณี           รหัส   54010540003
 นางสาวอภัสรินทร์ หลานวงษ์   รหัส   54010540005
 นางสาวฐาปณี พัฒนาสาร        รหัส   54010540012
 นายสาราญ เมินดี             รหัส   54010540013
 นางสาวทับทิม ประมูลจะนัง    รหัส   54010540025
 นางสาววิภาพร ทิพย์รักษา     รหัส   54010540026

More Related Content

What's hot

9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176CUPress
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอguest082d95
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์peetchinnathan
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยKruBeeKa
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsiyabest
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3PattrapornSakkunee
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3Thamonwan Kottapan
 

What's hot (18)

Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
9789740329176
97897403291769789740329176
9789740329176
 
Moodle Presentation Th
Moodle Presentation ThMoodle Presentation Th
Moodle Presentation Th
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์งานคอมโครงงานสมบูรณ์
งานคอมโครงงานสมบูรณ์
 
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทยโซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
โซเชียลมีเดียกับการศึกษาไทย
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
Mooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographicsMooc infographics-gamification-infographics
Mooc infographics-gamification-infographics
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
20141105 social-edu
20141105 social-edu20141105 social-edu
20141105 social-edu
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3
 
Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
งานนำเสนอสัปดาห์ที่3
 

Similar to Pp social

ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4aom08
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictKobwit Piriyawat
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4aom08
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาFiction Lee'jslism
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4Nontt' Panich
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาmansupotyrc
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4Kubgife Yrc
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4Papam_Virinrda
 
4เพื่อการศึกษา
4เพื่อการศึกษา4เพื่อการศึกษา
4เพื่อการศึกษาMookda Phiansoongnern
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4mina612
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thep-in123456
 
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาRut' Np
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่  4ใบงานที่  4
ใบงานที่ 4berry green
 

Similar to Pp social (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงาน4
ใบงาน4ใบงาน4
ใบงาน4
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
4เพื่อการศึกษา
4เพื่อการศึกษา4เพื่อการศึกษา
4เพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาโครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
โครงการประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่  4ใบงานที่  4
ใบงานที่ 4
 

Pp social

  • 1.
  • 2. Social Media Social Media หมายถึงสังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้ สื่อสาร หรือ เขียนเล่า เนื้อหา เรื่องราว ประสบการณ์บทความ รูปภาพ และ วีดิโอ ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทาขึ้นเอง หรือพบเจอ จากสื่ออื่นๆ แล้วนามา แบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของ ตน ผ่านทางเว็บไซต์
  • 4. สรุป  โซเชียลมีเดีย เป็นเครื่องมือออนไลน์ที่ทาให้เรามีปฏิสัมพันธ์กับ ผู้อื่นด้วยการแบ่งปันข้อมูลหรือพูดคุยกัน  โซเชียลมีเดีย มีทั้งข้อดีและข้อเสีย ไม่ควรที่จะปิดกั้นตัวเองไม่ ใช้ แต่ก็ไม่ควรที่จะใช้อย่างไม่มีวินัย  เราควรจะเรียนรู้ที่จะใช้โซเชียลมีเดียให้เหมาะสมและให้เป็น ประโยชน์
  • 5. การนา Social Media มาใช้ ในการเรียนการสอน
  • 6. การนา E-learning และ Social Media มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการศึกษา
  • 7. ความสัมพันธ์ระหว่าง E-learning กับ social media  เราสามารถใช้คุณสมบัติของ Social Media ในการส่งเสริมการเรียนรู้ ของผู้เรียนแบบ E-Learning ได้เป็นอย่างดี  โดยในด้าน - การติดต่อ สื่อสาร การติดตาม ประสานงาน การส่งงานผ่าน Social Media และการแบ่งปันความรู้ระหว่างผู้สอน-ผู้สอน ผู้สอน- ผู้เรียน ผู้เรียน-ผู้เรียน  การใช้ Social Media เป็นสื่อการเรียนรู้ ประกอบการเรียนการสอน เป็น ส่วนหนึ่งของการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน  การใช้ Social Media รวบรวมแหล่งเรียนรู้ต่างๆในการศึกษาเรียนรู้ด้วย ตนเอง
  • 8. การนา e-learning กับ social มาใช้ในการ จัดการเรียนการรู้ 1. ครูผู้สอนสอนโดยใช้ E-learning และSocial Media มาเป็นเครื่องมือ ประกอบการจัดการเรียนรู้  ครูจะ ใช้ E-learning และSocial Media ถ่ายทอดเนื้อหา สาระ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ และเป็นเครื่องมือประกอบการสอน ใน รายวิชาต่างๆ โดยให้นักเรียนได้ศึกษาหาความรู้ สร้างองค์ความรู้ และเรียนรู้องค์ความรู้ต่างๆ ผ่าน E-learning และSocial Media  อีกทั้ง การที่ครูได้นาสื่อ ICT ที่ได้จากการรวบรวมสื่อ ICT รูปแบบ ต่างๆ มาออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้ใหม่อย่างเป็นขั้นตอนแล้ว ให้นักเรียนเข้าไปศึกษาหาความรู้นั้น และทาการวัดประเมินผล ใน ลักษณะ ระบบออนไลน์
  • 9. 1.1 สอนโดยนาE-learning และSocial Media มาถ่ายทอด แบ่งปันองค์ ความรู้และสาระเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ประกอบการสอนในแต่ละรายวิชา ในลักษณะ ต่างๆ  เช่น การนาเสนอเนื้อหาผ่านโปรแกรมนาเสนอ(Presentation), สื่อ วีดิทัศน์ (VDO), สื่อ Electronic อื่นๆ ได้แก่ E–book, LO (Learning Objects), บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), Courseware รวมทั้งสื่ออิเล็กทรอนิกส์รปแบบใหม่อื่นๆ แล้วแต่จะ ู เรียก เป็นต้น ลักษณะสื่อ ICT  ปัจจุบันควรมีลักษณะที่มีขนาดของแฟ้มข้อมูล (file) ที่มีขนาดเล็ก ซึ่งสามารถออนไลน์ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตโดยใช้ Social Media และสามารถเข้าถึงสื่อได้อย่างรวดเร็ว
  • 10. สอนโดยนา E-learning และSocial Media มาถ่ายทอด แบ่งปันองค์ความรู้และ สาระเนื้อหาวิชา เพื่อใช้ประกอบการสอนในแต่ละรายวิชาในลักษณะ ต่างๆ
  • 11. 1.2 นาสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ได้จากการผลิต การสืบค้น หรือ สื่อ อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ มาออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning Courseware ด้วยระบบการจัดการ LMS (Learning Management System) ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต  ผู้สอนอาจออกแบบให้นักเรียนเรียนรู้ด้วยตนเอง มีการวัดและ ประเมินผล การเรียนรู้ในเนื้อหาวิชานั้นๆ ได้โดยไม่ได้พบปะกับ ครูผสอนหรืออาจมาพบปะเป็นครั้งคราวก็ได้ ู้  หากนักเรียนเกิดมีปัญหาในการเรียนรู้อาจใช้ กระดานข่าว (web board) หรือ Social Media เช่น Twitter, Hi5, Face book, E- mail ในการติดต่อเพื่อสอบถามและแก้ไขปัญหากับครูผสอน ู้
  • 12. นาสื่อหรือแหล่งเรียนรู้ต่างๆ ที่ได้จากการผลิต การสืบค้น หรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ มา ออกแบบการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ E-Learning
  • 13. 2. ครูผู้สอนสอนให้นักเรียนเรียนรู้การใช้E-learning และการติดต่อสื่อสารด้วย Social Media โดยตรง 2.1 ครูผู้สอน สอนให้นักเรียนสามารถใช้เครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร ผ่าน Social Media ในระบบอินเทอร์เน็ต แล้วครูนามาใช้เป็นเครื่องมือใน การจัดการเรียนรู้ และติดต่อกับผู้เรียน ได้แก่ การสืบค้นข้อมูล Search Engine, E-mail, Twitter, Hi5, Facebook, Twitter เป็นต้น
  • 14. 2.2 สอนโดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามปกติแต่มีการและ ประเมินผลงาน โดยใช้ Social Media ซึ่งนักเรียนมีความสามารถ ในการใช้งานสื่อ ICT โดยได้เรียนรู้การใช้งานโปรแกรมต่างๆ มาแล้วในวิชาคอมพิวเตอร์  เช่น การจัดกิจกรรมรายวิชาวิทยาศาสตร์ ให้นักเรียนค้นหาประวัติ นักวิทยาศาสตร์ จากอินเทอร์เน็ตและทาการประเมินผลด้วยการให้ นักเรียนจัดทารายงานด้วยโปรแกรมจัดทาเอกสารสานักงานต่างๆ  นาเสนอเนื้อหาผ่านโปรแกรม Presentation ต่างๆ แล้วส่งครูผ่าน E- mail , Facebook, Slideshare  อาจจัดทาเป็น WebPages หรือถ่ายเป็นวีดิโออัพโหลดผ่าน Youtube แล้วส่ง Link มาให้ครู แล้วครูก็ประเมินผลการดาเนินงานตามสาระ เนื้อหาและข้อมูลที่นักเรียน ได้นาเสนอ เป็นต้น
  • 16. การประยุกต์ใช้ E-learning และSocial Media ประกอบการจัดการเรียนรู้
  • 17.  ใช้นาเข้าสู่บทเรียน  ขั้นนาเข้าสูบทเรียน ครูผู้สอนอาจนาภาพ ดิจิทัล (Digital) จาก ่ Google , Flickr, Picasa หรือ VDO จาก Youtube หรือสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องที่จะสอนมาให้นักเรียนดู  สนทนาเกี่ยวกับเรื่องที่ได้รับชมเพื่อกระตุ้นความสนใจให้กับผู้เรียน โดยไม่จาเป็นต้องให้นักเรียนดูทั้งหมดของเรื่องที่นามาเสนอ สร้าง เร้าความสนใจในบทเรียนของนักเรียน สามารถตอบสนองความ ต้องการในการเรียนรู้ของนักเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 18.  ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้  ครูผสอนอาจออกแบบกิจกรรมการเรียนรูโดยอาศัยการจัดการใน ู้ ้ ระบบ LMS โดยอาศัย Software ให้นักเรียนเลือกศึกษาความรู้จาก การออกแบบของครูผู้สอนให้นักเรียนได้เลือกเรียนรู้ได้ตลอดเวลา โดยอาศัยสื่ออื่นประกอบ  เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ชวยสอน (CAI) E-Book, LOs, ่ Courseware, VDO ผู้สอนจะต้องออกแบบการจัดการเรียนรู้ไว้ ล่วงหน้า  และพิจารณาเนื้อหาทีสอนมาให้นักเรียนศึกษา เรียนรู้ดวยตนเอง ่ ้ หรือให้เลือกสื่อให้นักเรียนเรียนรู้จากสื่อโดยตรง
  • 19.  ใช้ขยายความรู้ การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้  ครูผู้สอนต้องพิจารณาความรู้ความสามารถความพร้อมในการใช้ E-learning และSocial Media ของผู้เรียนมาเป็นแนวทางในการออกแบบกิจกรรมการ เรียนรู้และให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้ เช่น  ค้นหาความรู้จากอินเทอร์เน็ต โดยใช้ Search Engine เช่น ค้นหา ข้อมูลเนื้อหา รูปภาพ แผนที่จาก Google ค้นเรื่องราวข้อเท็จจริงที่ เกี่ยวข้องจาก youtubeในลักษณะรายการโทรทัศน์  นาความรู้ที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ สังเคราะห์ให้เป็นความรู้ของตนเอง และจัดทาเป็นเอกสารด้วยMS Word ส่ง E-mail ให้ครู หรือ แชร์ใน กลุ่ม Facebook
  • 20.  สร้าง เป็น E-Book, Webpage หรือรายการโทรทัศน์ แล้วอัพโหลด ผ่านทาง Facebook-  ให้นักเรียนทาปฏิทิน คานวณหาคาตอบทางคณิตศาสตร์ด้วย MS Excel - ทาบัตรอวยพร บัตรเชิญ หรือ แผ่นภาพสรุปความรู้ ด้วย MS Power point แล้ว Save เป็น .jpg แล้วอัพโหลดส่งครูผ่าน Facebook  เปิดกระดานสนทนา (Web board) ให้นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่ง กันและกัน- สร้างเป็นกลุ่มสนใจ เช่น Web Blog, Social Network ขยายความรู้ในกลุ่มด้วย hi5, Face book, twitter
  • 21.  ใช้สรุปเนื้อหา  ครูจะใช้ในขั้นตอนสุดท้ายของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละครั้ง หรือแต่ละ ชั่วโมงครูอาจออกแบบนา Social Media มาให้นักเรียนทาการสรุปในลักษณะ ต่างๆ เช่น  สรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้มานาเสนอและจัดทาด้วยโปรแกรม คอมพิวเตอร์ นาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดย เชื่อมโยงกับการใช้ Social Media เช่น การใช้ Mindmeister ทา Mind map ออนไลน์ แล้วแบ่งปันเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เป็นต้น  นาสื่อ LO เกม หรือเพลงที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาให้ นักเรียนทากิจกรรมเพื่อทบทวนความรู้และสรุปความรู้จากการเรียนรู้ หรือนา VDO จาก Youtube มาให้นักเรียนสรุปความรู้และประยุกต์ใช้ ใน ชีวิตประจาวัน
  • 22. 3. จัดการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่วางแผนและออกแบบไว้ โดยบูรณาการใช้ Social Media ในการจัดการเรียนรู้ 3 ลักษณะ คือ 1) ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น การนาคลิปวิดีโอจาก Youtube มาสร้างความสนใจในการนาเข้าสู่ บทเรียนและประกอบการอธิบาย ซึ่งอาจใช้ผ่านเว็บไซต์โดยตรงแบบ ออนไลน์ หรือ ดาวน์โหลดเป็นไฟล์ไว้ ยังสามารถนามารวมไว้ใน Wordpress สาหรับให้นักเรียนเข้ามา ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง หรือมอบหมายงานให้นักเรียนอภิปรายความรู้ จากคลิปวิดีโอ เป็นต้น นอกจากนี้ยังได้อัพโหลดไฟล์วิดีโอขึ้นไว้ใน Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress อีกด้วย
  • 23. 1) ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอน เช่น อัพโหลดไฟล์วิดีโอขึ้นไว้ใน Youtube แล้วนามาแสดงไว้ใน Wordpress
  • 24. การนาภาพต่างๆ เช่น ภาพภูเขาไฟ ภาพโลก ภาพหิน มาจาก Flickr และ Google
  • 25. - การอัพโหลดเอกสารประกอบการสอน Presentation ใบงาน ขึ้นไว้ใน Slideshare และ Scribd ตลอดจนการนาเอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้อง ใน Slideshare และ Scribd มาใช้ประกอบการสอน
  • 26. - การนาเสนอข้อมูล เนื้อหา แหล่งเรียนรู้ออนไลน์ รายละเอียดที่น่าสนใจ ผ่าน ทาง Wordpressให้นักเรียนเข้ามาศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองตามอัธยาศัย และมี ปฏิสัมพันธ์ในการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
  • 27. 2) ใช้ติดต่อสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่สนใจ เช่น การใช้ Facebook Twitter Wordpress ในการแจ้งข่าวสาร แจ้งภาระงาน ตลอดจนการเชิญ ชวนและประชาสัมพันธ์เข้าไปศึกษาเยี่ยมชมในบล็อกของครู
  • 28. ใช้ในการมอบหมายงาน แสดงความคิดเห็น แบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียนกับผู้เรียน ตลอดจนผู้ที่สนใจ ผ่านการ Comment ในบทความ
  • 29.  การมอบหมายงาน ครูจะดาเนินการสร้างบทความที่มีการนาเนื้อหาข่าว รูปภาพ หรือคลิปวิดีโอ มานาเสนอ พร้อมตั้งคาถามที่เน้นการกระตุ้นให้ นักเรียนนาความรู้จากที่เรียนมาในห้องเรียน มาคิดเพื่อ ตอบคาถาม ในเชิง วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็น  เพราะฉะนั้นนักเรียนจะมีคาตอบที่ไม่ซ้ากันและไม่สามารถลอกกันได้ ซึ่งอาจ กาหนดให้มีการทาโพลล์ เพื่อสารวจความคิดเห็นของนักเรียนด้วย พร้อม จัดหาแหล่งเรียนรู้ แหล่งข้อมูล และแสวงหาสื่อการเรียนการสอนเพื่อใช้ใน การส่งเสริม การจัดการเรียนการสอนอยู่เสมอ  นอกจากการเรียนการสอนแล้ว ยังได้ใช้ Wordpress ในการเผยแพร่และ ประชาสัมพันธ์ผลงาน กิจกรรม ตลอดจนสาระน่ารู้ที่จะเป็นประโยชน์ต่อ นักเรียน ครูและผู้ที่สนใจอีกด้วย
  • 30. 4. ขั้นประเมินผล  หลังจากที่ได้จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแล้ว ต้องมีการวัดและ ประเมินผล ตรวจงานและประเมินผลจากการตอบคาถาม แสดง ความคิดเห็นของนักเรียนต่อสถานการณ์ที่ครูกาหนดเป็นบทความ ผ่านทาง http://teacherkobwit2010.wordpress.com และการ ทางานภายในห้องเรียนอย่างต่อเนื่อง  ทั้งนี้ครูอาจใช้ Social Media ที่หลากหลายในการประเมิน เช่น Google Doc, Springnote หรือการทาโพลล์ เป็นต้น ซึงในการ ่ ประเมินครูควรกาหนดเป็น RuBricScore ที่ชัดเจน
  • 32.
  • 42. นโยบายของประเทศไทย กับการใช้ ICT ในการจัด การศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ ได้จัดทาแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารเพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 และได้กาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เพื่อการศึกษา ไว้ 4 ประการ คือ  1. สร้างกาลังคนให้มีศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ มีธรรมาภิบาล คุณธรรม จริยธรรม วิจารณญาณ และรู้เท่าทัน รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการ แข่งขันของประเทศไทย
  • 43.  2. สนับสนุนการเรียนการสอน ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการศึกษาของประเทศไทย  3. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร เพื่อสนับสนุนด้านการศึกษาของประเทศไทย  4. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการ บริหารจัดการและการบริการด้านการศึกษา ซึ่งจะเอื้อต่อการสร้าง ธรรมาภิบาลของสังคม
  • 44.  หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ โดยมีสมรรถนะ ที่เกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยี 1 สมรรถนะ คือ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็น ความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการ พัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การ สื่อสารการทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม
  • 45. เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เทคโนโลยีการสื่อสาร (CT) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) สมรรถนะและการเรียนรู้ของผู้เรียน
  • 46. นโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนาเยาวชน ของชาติ เข้าสู่โลกยุคศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งส่งเสริมผู้เรียนมีคุณธรรม รัก ความเป็นไทย ให้มีทักษะการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ มีทักษะด้าน เทคโนโลยี สามารถทางานร่วมกับผู้อื่น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่น ในสังคมโลกได้อย่างสันติ
  • 47. ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชน จะใช้ ICT เพื่อพัฒนา การศึกษาได้อย่างไร?  แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 ได้ให้ความหมายของ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร(Information and Communication Technology : ICT)” ไว้ว่า หมายถึง เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบ คอมพิวเตอร์ ระบบซอฟต์แวร์ ระบบข้อมูลสารสนเทศ ระบบเครือข่าย ระบบโทรคมนาคม วิทยุและโทรทัศน์ ที่ใช้เพื่อการศึกษา (กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556. 2554 : 1)
  • 48. สมาชิกกลุ่มที่ 4  นางสาวอุบล คาคาดวน รหัส 54010540001  นายสุทธิพงษ์ โฮมแพน รหัส 54010540002  นางสาวชลิฎา ทามณี รหัส 54010540003  นางสาวอภัสรินทร์ หลานวงษ์ รหัส 54010540005  นางสาวฐาปณี พัฒนาสาร รหัส 54010540012  นายสาราญ เมินดี รหัส 54010540013  นางสาวทับทิม ประมูลจะนัง รหัส 54010540025  นางสาววิภาพร ทิพย์รักษา รหัส 54010540026