SlideShare a Scribd company logo
1 of 101
Download to read offline
คูมือการดําเนินงาน
โครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
(Rational Drug Use Hospital)
โดย
คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
มีนาคม 2558
คํานํา
ตามนโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2554 และยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2555 -
2559 กําหนดใหยุทธศาสตรการใชยาอยางสมเหตุผล เปนเรื่องหนึ่งในยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ
และคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ไดมอบหมายใหคณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
กํากับดูแลและดําเนินการใหเปนไปตามยุทธศาสตร ซึ่งใน พ.ศ. 2556 คณะอนุกรรมการฯ ไดเห็นชอบใหมีการ
ดําเนินโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital; RDU
Hospital) ขึ้น เพื่อใหการดําเนินการในสถานพยาบาลตอเรื่องการใชยาอยางสมเหตุผลเปนรูปธรรมชัดเจน เกิด
ความตระหนักถึงปญหาการใชยา และสรางระบบในการบริหารจัดการดานยาใหเปนมาตรฐานเดียวกัน
คูมือการดําเนินการโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลฉบับนี้ จัดทําขึ้นตามกุญแจ
สําคัญ 6 ประการของการเปนโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (PLEASE) โดยคณะทํางานและ
ผูเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของในแตละดาน รวมกันพัฒนาขึ้นตามขอมูลหลักฐานในปจจุบัน และขอกําหนดที่เปนสากล
ตางๆ เพื่อใหโรงพยาบาลที่สมัครเขารวมโครงการฯ ไดพิจารณาใชเปนแนวปฏิบัติ ซึ่งจะมีการประเมินผล
สัมฤทธิ์ผานตัวชี้วัดตางๆ ที่กําหนดไว ทั้งในระหวางดําเนินการ (ปงบประมาณ 2557-2558) และเมื่อสิ้นสุด
โครงการฯ พรอมใหการรับรองแกโรงพยาบาลที่เขารวม ทั้งประชาสัมพันธใหผูเกี่ยวของและประชาชนไดรับ
ทราบ เพื่อยกยองโรงพยาบาลที่มีการดําเนินการเปนตัวอยางที่ดีและถือแบบอยางตอไป
การดําเนินการของโรงพยาบาลเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลนี้ จําเปนตองอาศัยความรวมมือ
รวมใจตั้งแตผูบริหาร หัวหนางาน ผูปฏิบัติงานในทุกวิชาชีพ เพื่อใหการดําเนินการสําเร็จตามวัตถุประสงค และ
พัฒนาระบบจัดการดานยาใหมีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล และมีความยั่งยืน คณะอนุกรรมการฯ หวังวา
โครงการนี้จะเปนประโยชนสําหรับสถานพยาบาลที่ตองการพัฒนาอยางตอเนื่อง ใหมีความชัดเจนใน
แนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการดานยา เพื่อประโยชนสูงสุดตอผูปวย และยกระดับคุณภาพบริการ
สุขภาพของประเทศไปพรอมกัน
คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ขอขอบคุณคณะทํางานชุดตางๆ ที่ชวยกันพัฒนา
เครื่องมือ ตัวชี้วัด และขอมูลสนับสนุนการดําเนินการ รวมทั้งหนวยงานตางๆ ที่ใหความรวมมือในการดําเนิน
โครงการฯ และขอบคุณโรงพยาบาลนํารอง ที่เปนโรงพยาบาลแนวหนาเพื่อทําใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล
ของโรงพยาบาลทุกแหงในประเทศไทยตอไป
คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
มีนาคม 2558
สารบัญ
หัวขอ หนา
บทนํา 1
รายละเอียดโครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
วัตถุประสงคหลัก 3
ขั้นตอนการดําเนินงาน 3
กุญแจสําคัญ 6 ประการ 4
ตัวชี้วัดเพื่อการติดตามประเมินผล 8
แผนการดําเนินงาน และกิจกรรมโครงการฯ ปงบประมาณ 2557 - 2560 13
ผูรับผิดชอบโครงการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ 14
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 14
สรุป 14
กุญแจดอกที่ 1 การสรางความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด 16
กุญแจดอกที่ 2 การจัดทําฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และขอมูลยาสูประชาชน 24
กุญแจดอกที่ 3 การจัดทําหรือจัดหาเครื่องมือจําเปนที่ชวยใหเกิดการสั่งใชยา อยางสมเหตุผล 30
กุญแจดอกที่ 4 การสรางความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ 57
กุญแจดอกที่ 5 การดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ 60
กุญแจดอกที่ 6 การสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา 76
ภาคผนวก
ขอแนะนําแพทยสําหรับการสั่งยาอยางมีจริยธรรม 78
รายละเอียดตัวชี้วัด 81
คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล และคณะทํางานที่เกี่ยวของ 87
การประสานติดตอเพื่อขอขอมูลเพิ่มเติม 98
1
บทนํา
องคการอนามัยโลกใหคําจํากัดความของ “การใชยาอยางสมเหตุผล (rational drug use)” ไว คือ
“ผูปวยไดรับยาที่เหมาะสมกับปญหาสุขภาพ โดยใชยาในขนาดที่เหมาะสมกับผูปวยแตละราย ดวยระยะเวลาการ
รักษาที่เหมาะสม และมีคาใชจายตอชุมชนและผูปวยนอยที่สุด” “Patients receive medications appropriate
to their clinical needs, in doses that meet their own individual requirements, for an adequate
period of time, and at the lowest cost to them and their community” (WHO, 1985) ซึ่งสอดคลอง
กับคําจํากัดความตามคูมือการใชยาอยางสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแหงชาติ: 2552 ที่ขยายความวา
การใชยาอยางสมเหตุผล หมายถึง การใชยาโดยมีขอบงชี้ เปนยาที่มีคุณภาพ มีประสิทธิผลจริง สนับสนุน
ดวยหลักฐานที่เชื่อถือได ใหประโยชนทางคลินิกเหนือกวาความเสี่ยงจาการใชยาอยางชัดเจน มีราคาเหมาะสม
คุมคาตามหลักเศรษฐศาสตรสาธารณสุข ไมเปนการใชยาอยางซ้ําซอน คํานึงถึงปญหาเชื้อดื้อยา เปนการใชยาใน
กรอบบัญชียายังผลอยางเปนขั้นตอนตามแนวทางพิจารณาการใชยา โดยใชยาในขนาดที่พอเหมาะกับผูรับบริการ
ในแตละกรณี ดวยวิธีการใหยาและความถี่ในการใหยาที่ถูกตองตามหลักเภสัชวิทยาคลินิก ดวยระยะเวลาการ
รักษาที่เหมาะสม ผูรับบริการใหการยอมรับและสามารถใชยาดังกลาวไดอยางถูกตองและตอเนื่อง กองทุนในระบบ
ประกันสุขภาพหรือระบบสวัสดิการสามารถใหเบิกจายยานั้นไดอยางยั่งยืน เปนการใชยาที่ไมเลือกปฏิบัติ เพื่อให
ผูรับบริการทุกคนสามารถใชยานั้นไดอยางเทาเทียมกันและไมถูกปฏิเสธยาที่สมควรไดรับ
อยางไรก็ตาม ขอมูลจากการศึกษาตางๆ แสดงวา ยังมีการใชยาอยางไมสมเหตุผลในอัตราที่สูงอาจถึง
ครึ่งหนึ่งของการใชยาทั้งหมด โดยเฉพาะในประเทศที่กําลังพัฒนา ซึ่งนําไปสูการสูญเสียตามมาทั้งในระดับบุคคล
ผูใชยา ทําใหเกิดปญหาตอประสิทธิผลของการรักษา และปญหาจากความคลาดเคลื่อนหรือผลขางเคียงของยา ไป
จนถึงสังคมโดยรวม เชน การเกิดแนวคิดวาเมื่อเจ็บปวยแลวจะตองกินยา (one pill for every ill) ทําใหความ
ตองการในการใชยาเพิ่มมากขึ้นโดยไมจําเปน หรือผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในระยะยาว เชน การเกิดปญหาเชื้อ
โรคดื้อยา (antimicrobial resistance) มากขึ้น จากการใชยาปฏิชีวนะที่ไมเปนไปตามขอบงชี้ ทําใหผูปวยตองอยู
โรงพยาบาลนานขึ้น มีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น และนําไปสูความสูญเสียทางเศรษฐกิจ อยางนอยปละ 4,000-5,000
ลานดอลลารในสหรัฐอเมริกา หรือ 9,000 ลานยูโรในยุโรป สวนในประเทศไทย คาดวามีมูลคาสูญเสียทาง
เศรษฐกิจจากการเจ็บปวยและเสียชีวิตกอนวัยอันควรถึงปละกวา 40,000 ลานบาท
แมการสงเสริมใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผลในประเทศไทยจะไดดําเนินการมาอยางตอเนื่อง ตั้งแตเริ่มมี
นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2524 แตก็ยังไมเกิดผลสัมฤทธิ์เทาที่ควร จึงเปนความจําเปนเรงดวนของประเทศที่
ตองปรับการดําเนินการใหเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังจะเห็นไดจากการที่อนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
ภายใตคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ซึ่งมี ศ.คลินิก นพ.ธีรวัฒน กุลทนันท คณบดีคณะแพทยศาสตร
ศิริราชพยาบาล เปนประธาน (พ.ศ. 2553-2556) ไดระบุไวในรายงานการประชุม ครั้งที่ 1/2553 วา “การใชยา
อยางไมสมเหตุผลเปนปญหาที่จําเปนตองไดรับการแกไขอยางเรงดวนและควรไดรับการยกสถานะเปนวาระ
แหงชาติ” ซึ่งในเวลาตอมานโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2554 ไดมีการบรรจุให การใชยาอยางสมเหตุผล เปน
ยุทธศาสตรดานที่ 2 ของยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2555-2559
ยุทธศาสตรดานที่ 2 การใชยาอยางสมเหตุผล มีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมการใชยาของแพทย บุคลากร
ทางการแพทย และประชาชน ใหเปนไปอยางสมเหตุผล ถูกตอง และคุมคา โดยไดกําหนดยุทธศาสตรยอยไว 7
ประการ ไดแก
1. การพัฒนาระบบและกลไกการกํากับดูแล เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล
2
2. การพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ
3. การพัฒนากลไกและเครื่องมือ เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล
4. การสรางความเขมแข็งภาคประชาชนดานการใชยาอยางสมเหตุผล
5. การสงเสริมการผลิตและประกันคุณภาพยาชื่อสามัญ
6. การพัฒนาระบบและกลไกปองกันและแกไขปญหาที่เกิดจากการใชยาตานจุลชีพ และการดื้อยาของ
เชื้อกอโรค
7. การสงเสริมจริยธรรมผูสั่งใชยา และยุติการสงเสริมการขายยาที่ขาดจริยธรรม
ในเวลาตอมา อนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ที่มี ศ.คลินิก นพ.อุดม คชินทร คณบดี
คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลเปนประธาน (พ.ศ. 2556-2557) ในการประชุมครั้งที่ 3/2556 จึงเห็นชอบใน
หลักการใหมีการดําเนินโครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital,
RDU Hospital) ขึ้น เพื่อใหเกิดการดําเนินการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลดําเนินการอยางเปนรูปธรรม และ
สรางใหเปนระบบงานปกติ รวมทั้งสรางความตื่นตัวใหโรงพยาบาลตอเรื่องการใชยาอยางสมเหตุผล ทั้งเปนการ
บูรณาการกลไกและเครื่องมือสําคัญที่มีบทบาทในการผลักดันยุทธศาสตรดานที่ 2 นี้ใหสามารถดําเนิน
ไปสูเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเสนอใหมีการประเมินเพื่อใหรางวัลแกโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการฯ
และจะมีการประชาสัมพันธใหผูเกี่ยวของและประชาชนไดรับทราบ เพื่อยกยองโรงพยาบาลที่มีการดําเนินการเปน
ตัวอยางที่ดีและถือเปนแบบอยางตอไป
3
รายละเอียดโครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
 วัตถุประสงคหลัก
1. สรางตนแบบ (model) ของโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ในโรงพยาบาลภาครัฐทั้ง
สวนกลางและสวนภูมิภาคทุกระดับ เชน โรงพยาบาลในกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย
(UHOSNET) โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน เปนตน รวมถึงโรงพยาบาล
ภาคเอกชนที่สนใจเขารวม
2. พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือเพื่อสนับสนุนและสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลใหเกิดขึ้นใน
สถานพยาบาลอยางเปนรูปธรรม
3. พัฒนาเครือขายเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาลระดับตางๆ อยางเปนระบบ
4. พัฒนากลวิธีในการสรางความตระหนักรู ซึ่งจะนําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรทาง
การแพทยและผูรับบริการเพื่อนําไปสูการใชยาอยางสมเหตุผลที่ยั่งยืนในสังคม
 ขั้นตอนการดําเนินงาน
โครงการฯ มีขั้นตอนการดําเนินงานที่สําคัญสรุปไดดังนี้
1. กําหนดแนวทางการดําเนินงานของโรงพยาบาลที่จะเขารวมโครงการฯ เรียกวา กุญแจสําคัญ 6
ประการ สูโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (PLEASE)
2. จัดทํากรอบการปฏิบัติงาน และรวมหารือกับทีมนักวิชาการจากกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหง
ประเทศไทย บัญชียาหลักแหงชาติ และโรงพยาบาลตนแบบนํารองตางๆ เพื่อจัดทําขอมูลทางวิชาการ
ในการสนับสนุนขอปฏิบัติ ใหดําเนินไปภายใตหลักฐานเชิงประจักษทางการแพทย และบริบทในการ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของประเทศ
3. รวมกับทีมนักวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) พัฒนาตัวชี้วัดของโครงการฯ และศึกษา
ความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและประชาชน เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตางๆ
4. ผลักดันขอกําหนดของโครงการฯ เปน system specific accreditation เพื่อใหสถานพยาบาลขอรับ
รองมาตรฐานการเปน “โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล” ทั้งประสานใหเปนสวนหนึ่ง
ของโครงการ Engagement for Patient Safety ของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.)
5. สนับสนุนการจัดทําเครือขายเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาลระดับตางๆ ตาม
ภูมิภาค เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู และใหความชวยเหลือในการดําเนินการ
6. ประเมินผลสัมฤทธิ์ ใหการรับรองแกโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการฯ และมอบรางวัลเชิดชูเกียรติแก
สถานพยาบาลที่ผานเกณฑตัวชี้วัดที่กําหนด ทั้งประชาสัมพันธใหผูเกี่ยวของและประชาชนไดรับทราบ
เพื่อยกยองโรงพยาบาลที่มีการดําเนินการเปนตัวอยางที่ดีและถือแบบอยางตอไป
4
 กุญแจสําคัญ 6 ประการ
PLEASE กุญแจสําคัญ
1. Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC) Strengthening
ความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
2. Labeling and Leaflet
ฉลากยา และขอมูลยาสูประชาชน
3. Essential RDU Tools
เครื่องมือจําเปนที่ชวยใหเกิดการสั่งใชยาอยางสมเหตุผล
3.1 Essential drug therapy recommendation
3.2 Evidence-based hospital formulary
3.3 Essential therapeutic monitoring and Investigation
3.4 Essential information system for RDU
3.5 System for drug use monitoring and feedback
3.6 Essential policy for RDU
4. Awareness for RDU Principles among Health Personnel and Patients
ความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ
5. Special Population Care
การดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ
6. Ethics in Prescription
การสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา
กุญแจดอกที่ 1 การสรางความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
(Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC) Strengthening)
ตั้งแตป ค.ศ. 2002 องคการอนามัยโลกไดชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของการมีคณะกรรมการเภสัชกรรมและ
การบําบัดที่เขมแข็งในสถานพยาบาล ซึ่งเปนที่ยอมรับในประเทศที่พัฒนาแลววา เปนปจจัยสําคัญในการสงเสริมให
เกิดการใชยาอยางสมเหตุผลและคุมคาขึ้นในสถานพยาบาล
โครงการ RDU Hospital มีเปาหมายในการสรางเสริมคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดใหเปน
หนวยปฏิบัติงานที่มีความเขมแข็ง สามารถชี้นําการจัดการดานยาในองคกรไดอยางเหมาะสม และเปนที่ยอมรับ
โดยมีหนาที่และความรับผิดชอบตามแนวทางขององคการอนามัยโลก ในดานตางๆ ไดแก
1. การพัฒนาระบบเพื่อการติดตาม ตรวจสอบ และสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล รวมถึงกํากับการ
ปฏิบัติงานตามกรอบของกุญแจดอกที่ 2 ถึง 6 ใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ
2. การจัดทําเภสัชตํารับ (hospital formulary) ที่มีความสอดคลองกับปรัชญาและหลักการของบัญชียา
หลักแหงชาติ
3. การสรางความมั่นใจตอคุณภาพยา (ensuring drug quality) แกผูใชยา
4. การติดตามความปลอดภัยดานยาและการดําเนินการปองกันแกไข (ensuring drug use safety)
5. การควบคุมคาใชจายดานยา (expenditure control)
5
6. การฝกอบรมบุคลากร (staff education) และ
7. การควบคุมการสงเสริมการขายของบริษัทยา เวชภัณฑและอุปกรณทางการแพทย (controlling of
all promotion activities to staff)
ปจจัยที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของการปฏิบัติงานตามภาระและหนาที่ของคณะกรรมการ
เภสัชกรรมและการบําบัด ประกอบดวย การมีพันธกิจที่มั่นคง (firm mandate) มีเปาประสงคในการปฏิบัติงานที่
ชัดเจน ไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูง มีความโปรงใสในการปฏิบัติงาน มีตัวแทนจากหลากหลายสาขา
มีความสามารถ ใชองคความรูที่อางอิงจากหลักฐานเชิงประจักษ ดําเนินงานภายใตแนวทางสหสาขาวิชาชีพ
(multidisciplinary approach) และมีทรัพยากรเพียงพอที่จะดําเนินงานตามมติของคณะกรรมการฯ
กุญแจดอกที่ 2 การจัดทําฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และขอมูลยาสูประชาชน
(Labeling and Leaflet)
ฉลากยาเปนเครื่องมือหนึ่งที่มีความสําคัญตอกระบวนการใชยาอยางเหมาะสมทั้งตอผูปวยที่จะชวยใหใช
ยาไดอยางถูกตองและปลอดภัย ตอเภสัชกรที่จะชวยในการใหคําอธิบายที่สําคัญเกี่ยวกับยาไดอยางมีประสิทธิภาพ
และตอแพทยที่จะชวยใหสั่งใชยาไดอยางสมเหตุผลมากขึ้น
โครงการ RDU Hospital มีเปาหมายในการสนับสนุนใหใช ฉลากยามาตรฐาน (RDU label) เพื่อให
ผูปวยรับทราบขอมูลที่สําคัญเกี่ยวกับยาไดอยางสะดวกและครบถวน ชวยใหผูปวยใชยาไดอยางถูกตองและ
ปลอดภัยมากขึ้น ทั้งชวยใหเภสัชกรใหคําแนะนําไดงายขึ้นเนื่องจากสามารถใชขอความบนฉลากยามาประกอบ
คําอธิบายไดโดยสะดวก นอกจากนั้น ดวยฉลากยามาตรฐานในปจจุบันมีขนาดเล็ก จึงเห็นมีความสําคัญในการใช
ฉลากยาเสริม (extended label) ที่มีขนาดใหญขึ้น ซึ่งสามารถแนบหรือแปะติดเปนสติกเกอรไปกับซองยาที่
ผูปวยไดรับจากสถานพยาบาล เพื่อเพิ่มขอมูลที่สําคัญแกผูปวย ซึ่งอาจมีความสําคัญตอการสงเสริมใหเกิดการใชยา
ไดอยางเหมาะสมยิ่งขึ้น
เอกสารขอมูลยาสําหรับประชาชน (patient information leaflet หรือ PIL) เปนเอกสารที่จัดทําขึ้น
ภายใตโครงการของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อใหบริษัทยานําไปใชเปนตนแบบในการผลิตและสง
มอบไปพรอมกับผลิตภัณฑของตน หัวขอของเอกสารขอมูลยาสําหรับประชาชนประกอบดวย ยานี้คือยาอะไร ขอ
ควรรูกอนใชยา วิธีใชยา ขอควรปฏิบัติระหวางใชยา อันตรายที่อาจเกิดจากยา และควรเก็บรักษายานี้อยางไร ใน
ระหวางที่โครงการดังกลาวยังไมไดประกาศใชอยางเปนทางการ โครงการ RDU hospital จึงสงเสริมให
โรงพยาบาลดําเนินการใหผูปวยที่ประสงคจะไดขอมูลเกี่ยวกับยาเพิ่มขึ้น สามารถเขาถึงเอกสารดังกลาวไดสะดวก
กุญแจดอกที่ 3 การจัดทําหรือจัดหาเครื่องมือจําเปนที่ชวยใหเกิดการสั่งใชยาอยางสมเหตุผล
(Essential RDU Tools)
ประกอบดวยเครื่องมือ 6 ชนิด ไดแก
1. คําแนะนําการใชยาในกลุมยาเปาหมายที่สอดคลองกับหลักฐานเชิงประจักษที่เปนปจจุบันและเหมาะสม
กับบริบทในการปฏิบัติงานของแตละสถานพยาบาล
2. เภสัชตํารับที่รายการยาถูกคัดเลือกอยางโปรงใส โดยใชหลักเกณฑที่สอดคลองกับหลักฐานเชิงประจักษ
และหลักฐานดานความคุมคา
3. แนวทางการสงตรวจและการตรวจทางหองปฏิบัติการที่จําเปนตอการวินิจฉัยโรคเปาหมายและการติดตาม
ผลการรักษาที่สอดคลองกับระดับของสถานพยาบาล
6
4. การจัดหารวมกับการจัดทําระบบขอมูลอิเล็กโทรนิคสดานยาและการรักษาโรคที่จําเปนตอการใชยาอยาง
สมเหตุผล
5. ระบบและวิธีการปฏิบัติในการประเมินและการติดตามผลการใชยา รวมทั้งการใหขอมูลยอนกลับแกผูสั่ง
ใชยา
6. นโยบายดานยาที่จําเปนตอระบบการใชยาที่สมเหตุผล ไดแก นโยบายการใชยาตามบัญชียาหลักแหงชาติ
นโยบายการสั่งใชยาดวยชื่อสามัญทางยา และนโยบายการใชยาในผูปวยสิทธิรักษาพยาบาลกลุมตางๆ
อยางเทาเทียมกัน เปนตน
ทั้งนี้ สถานพยาบาลควรมีการประเมินพัฒนาระบบยาและการใชยาอยางสมเหตุผลอยางสม่ําเสมอและ
ตอเนื่อง เชน ใหมีการตรวจทานยาและการใหขอมูลยอนกลับแกผูสั่งใชยากอนการสงมอบหรือการใหยาแกผูปวย
โดยมีระบบการบันทึกและรายงานผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด เพื่อติดตามและ
ปองกันไมใหเกิดปญหาเดิมซ้ําอีก เปนตน
โครงการ RDU Hospital ไดจัดทําคําแนะนําและตัวชี้วัดสําหรับโรคที่พบบอยในเวชปฏิบัติ โดยแบงเปน 2
กลุมโรค คือ โรคติดเชื้อ (Rational Use of Antibiotics, RUA) และโรคไมติดตอเรื้อรัง (Non-Communicable
Disease, NCD) รวม 6 ประเภท ไดแก 1) ความดันเลือดสูง 2) เบาหวาน 3) ไขมันในเลือดสูง 4) ขอเสื่อม / เกาต
5) โรคไตเรื้อรัง และ 6) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง / โรคหืด โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. ยกรางคําแนะนําฯ โดยคณะทํางานเฉพาะกิจ ซึ่งมีองคประกอบ ไดแก แพทยและเภสัชกรจาก
เครือขายโรงพยาบาล กลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย ผูแทนแพทยจากราชวิทยาลัย
แพทยและ/หรือเภสัชกรจากโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข อาจารยจากคณะเภสัชศาสตร
และผูแทนคณะทํางานผูเชี่ยวชาญการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักที่เกี่ยวของ
2. นํารางคําแนะนําฯ รับฟงความคิดเห็นในชองทางตางๆ จากโรงพยาบาลนํารอง ราชวิทยาลัย สมาคม
วิชาชีพ คณะผูเชี่ยวชาญ และผูปฏิบัติที่เกี่ยวของ
3. คณะทํางานเฉพาะกิจ นําความเห็นไปพิจารณาปรับปรุงเปนแนวทางฉบับสมบูรณ
กุญแจดอกที่ 4 การสรางความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการตอการใชยาอยางสม
เหตุผล (Awareness for RDU Principles among Health Personnel and Patients)
การสรางความตระหนักรูตอการใชยาอยางสมเหตุผลในบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ และเห็น
ถึงความสําคัญในเรื่องดังกลาว เปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
เปนที่ยอมรับ และนําไปปฏิบัติไดอยางยั่งยืน สงผลใหผูรับบริการไดรับเฉพาะยาจําเปนที่มีคุณภาพ เกิดประสิทธิผล
ของการรักษาตามแนวทางการรักษามาตรฐานอยางครบถวน ปลอดภัย และคุมคา
โครงการ RDU Hospital มีเปาประสงคใหเกิดการสรางกลไก ระบบ และกิจกรรมของสถานพยาบาล ที่
สนับสนุนการสรางความตระหนักรูฯ เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใชยาของบุคลากรทางการแพทย
และผูรับบริการใหมีความสอดคลองกับหลักเกณฑในการใชยาอยางสมเหตุผล และตางมีเจตคติที่ดี จนไดรับการ
ยอมรับเปนวัฒนธรรมองคกร และกลายเปนบรรทัดฐานทางสังคมในหมูประชาชนผูใชยาซึ่งรวมถึงตัวผูปวยเอง
และบุคคลใกลชิดที่อาจมีสวนชวยเหลือในการใชยาของผูปวย
7
กุญแจดอกที่ 5 การดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ
(Special Population Care)
การดูแลใหมีการใชยาอยางเหมาะสมแกผูปวยที่มีความเสี่ยงตอผลขางเคียงของยา เปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญ
ในการลดภาวะแทรกซอนจากยาตอผูรับบริการ
โครงการ RDU Hospital มีเปาประสงคใหเกิดกลไก ระบบ และมาตรการ ในระบบยาของสถานพยาบาล
ที่สนับสนุนใหเกิดการใชยาอยางรอบคอบ ระมัดระวัง ในประชากรกลุมพิเศษ และกลไกดังกลาวถูกนําไปใชอยางมี
ประสิทธิภาพในการปองกันอันตรายจากการใชยาในสวนที่สามารถปองกันได โดยไดจัดทําคําแนะนําและตัวชี้วัด
สําหรับการดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ 6 กลุม ไดแก 1) ผูสูงอายุ 2) สตรีตั้งครรภ 3)
สตรีใหนมบุตร 4) ผูปวยเด็ก 5) ผูปวยโรคตับ และ 6) ผูปวยโรคไตเรื้อรัง เพื่อลดภาวะแทรกซอนจากยาใน
ผูรับบริการกลุมพิเศษ สอดคลองกับมาตรฐานตามตัวชี้วัดที่ไดรับการกําหนดขึ้น
กุญแจดอกที่ 6 การสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา
(Ethics in Prescription)
โครงการ RDU Hospital มีเปาประสงคใหสถานพยาบาลปฏิบัติตามแนวทางในการคัดเลือกยาและการสั่ง
ใชยาที่เปนไปตามเกณฑจริยธรรมวาดวยการสงเสริมการขายยาของประเทศไทย รวมถึงการจัดใหเกิดกลไก ระบบ
และมาตรการ ตามขอกําหนดในการมีปฏิสัมพันธกับบริษัทยา ซึ่งผลลัพธที่ไดคือกระบวนการนํายาเขาและออกจาก
สถานพยาบาลมีความโปรงใส ตรวจสอบได ไมตกอยูในอิทธิพลของการสงเสริมการขายยาที่ขาดจริยธรรม และ
เปาประสงคในระดับบุคลากร ใหมีการสั่งใชยาภายใตแนวทางของการใชยาอยางสมเหตุผล และตรงตามหลัก
จริยธรรมทางการแพทย โดยคํานึงถึงการสั่งใชยาที่เปนประโยชนแกผูรับบริการจริง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก
การใชยา ความเทาเทียมของผูรับบริการ และการเคารพในสิทธิผูปวย
8
 ตัวชี้วัดเพื่อการติดตามประเมินผล
วัตถุประสงคของการใชตัวชี้วัด
1. เปนเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานไปสูเปาหมายการใชยาอยางสมเหตุผล
2. เพื่อเปนเครื่องมือติดตามสถานการณและความกาวหนาในการดําเนินงานของโรงพยาบาลที่เขารวม
โครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
3. เปนขอมูลสวนหนึ่งของแสดงผลการดําเนินการโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
ในภาพรวม ระหวางดําเนินการ และเมื่อสิ้นสุดโครงการนํารอง
ลักษณะตัวชี้วัด
ประกอบดวยตัวชี้วัดดานกระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และผลลัพธ (outcome) โดยมุงเนน
การวัดผลการดําเนินงานเพื่อการสงเสริมการใชยาสมเหตุผลตามแนวทางของโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใช
ยาอยางสมเหตุผล (PLEASE) ซึ่งดําเนินการขับเคลื่อนโดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด (PTC) เปนหลัก
การมีฉลากยามาตรฐานที่ใหขอมูลถูกตองครบถวน การใชเครื่องมือสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ไดแก การ
ทบทวนบัญชียาโรงพยาบาล คําแนะนําการใชยาอยางสมเหตุผลตามกลุมโรค การใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบ
คําแนะนําการใชยาในผูปวยกลุมพิเศษ การสงเสริมใหเกิดความตระหนักรูในการสั่งยาและใชยาอยางสมเหตุผลใน
บุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ และการสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา
ตัวชี้วัดสวนใหญใหความสําคัญกับการวัดกระบวนการและผลผลิต มากกวาการวัดผลลัพธเชิงคลินิก โดย
ภาพรวมตัวชี้วัด ประกอบดวยการประเมินเชิงคุณภาพแบงเปนระดับคะแนน 0-5 และเชิงปริมาณดวยการวัดเปน
ตัวเลข เชน รอยละ สัดสวน จํานวน และการวัดเชิงกระบวนการ เชน มีหรือไมมี เปนตน
ประเภทของตัวชี้วัด
1. ตัวชี้วัดหลัก (Core Indicator) 10 ตัวชี้วัด
หมายถึง ตัวชี้วัดที่เปนขอตกลงเบื้องตนของทุกโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการฯ ที่จะนําไปผลักดัน
โครงการไปสูเปาหมาย ดําเนินการเก็บขอมูล และเพื่อติดตามผล เพื่อแสดงถึงกระบวนการและผลผลิต และ
ผลลัพธจากการดําเนินงานเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (เอกสารในภาคผนวก) ประกอบดวย
1.1 ตัวชี้วัดพื้นฐาน (Basic Indicator) 3 ตัว หมายถึง ตัวชี้วัดที่แสดงผลการดําเนินการโดยภาพรวม
ของแตละโรงพยาบาล และภาพรวมทั้งโครงการฯ ในประเด็นที่สําคัญ 3 ประเด็น คือ การไมสั่งยา
เกินความจําเปน การสงเสริมการใชยาในบัญชียาหลัก และการลดการใชยาปฏิชีวนะในกรณีที่ไม
จําเปน ตัวชี้วัดพื้นฐานนี้สามารถใชเปรียบเทียบกับขอมูลกับนานาชาติได
1.2 ตัวชี้วัดหลัก PLEASE 7 ตัว
2. ตัวชี้วัดรอง PLEASE 25 ตัวชี้วัด
2.1 ตัวชี้วัดรอง ในกุญแจ P 9 ตัว ซึ่งเปนตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่สําคัญอยางยิ่ง เนื่องจาก PTC จะเปน
กลไกสําคัญในการดําเนินการตามกุญแจสําคัญอื่นๆ เพื่อใหประสบผลสําเร็จในการดําเนินการใหเกิด
การใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาล
9
2.2 ตัวชี้วัดรอง ในกุญแจ L E A S E 16 ตัว เปนตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ ผลผลิต หรือผลลัพธ ของการ
ดําเนินการ ประกอบดวย
2.2.1 ตัวชี้วัดเรื่องฉลากยา (Label) 2 ตัว
2.2.2 ตัวชี้วัดการใชเครื่องมือ RDU (Essential RDU tools) 6 ตัว
โดยเลือก 6 ตัวชี้วัดนี้ จากทั้งหมด 12 ตัว ดังตอไปนี้
- บัญชียาโรงพยาบาล (Formulary) 1 ตัว
- กลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง 6 กลุม (Es) 7 ตัว
- การใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบ (RUA) 4 ตัว
2.2.3 ตัวชี้วัดการสรางความตระหนักของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ 2 ตัว
(Awareness)
2.2.4 ตัวชี้วัดการใชยาในผูปวยกลุมพิเศษ (Special population) 4 ตัว
โดยเลือก 4 ตัวชี้วัด จากทั้งหมด 7 ตัว
2.2.5 ตัวชี้วัดดานการสงเสริมจริยธรรม (Ethics in prescription) 2 ตัว
3. ตัวชี้วัดเสริม หมายถึง ตัวชี้วัดที่แตละโรงพยาบาลอาจเลือกเพิ่มเติมจากตัวชี้วัดหลักและรอง จากรายการ
ตัวชี้วัดกลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง (Es) ตัวชี้วัดการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบ (RUA) ตัวชี้วัดการสรางความ
ตระหนักของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ (A) และตัวชี้วัดการใชยาในผูปวยกลุมพิเศษ (S) ตาม
ความสมัครใจและความพรอม ตามบริบทของแตละโรงพยาบาล จากคําแนะนําในแตละบทที่กลาวถึง หรือ
โรงพยาบาลอาจไมเลือกตัวชี้วัดเสริมเลยก็ได
4. ตัวชี้วัดเฉพาะ หมายถึง ตัวชี้วัดที่โรงพยาบาลอาจเสนอเพิ่มเติม โดยที่ตัวชี้วัดที่เสนอเพิ่มไมมีอยูในรายการ
ตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดรอง หรือตัวชี้วัดเสริม เปนตัวชี้วัดที่โรงพยาบาลเห็นความสําคัญ เปนอัตตลักษณของ
โรงพยาบาล หรือไดดําเนินการไปแลวบางสวนหรือทั้งหมด หรือกําลังมีแผนดําเนินการเพื่อสงเสริมการใชยา
อยางสมเหตุผล
10
ความถี่และผูรับผิดชอบในการเก็บขอมูลตัวชี้วัด
การชี้แจงแนวทางการดําเนินการของโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลจัดขึ้นในวันที่
9 มีนาคม 2558 จึงขอนับวันที่ 10 มีนาคม 2558 เปนวันเริ่มตนในการจัดเก็บตัวชี้วัดโครงการฯ
ตัวชี้วัด ความถี่
ในการ
วัด
กําหนดการเก็บขอมูล กําหนดวันสง
ขอมูล
(โดยประมาณ)
ผูรับผิดชอบ
ตัวชี้วัด
ผูประสานงาน
RDU Indicator
ตัวชี้วัด
หลัก
และ
ตัวชี้วัด
รอง
3 ภายในเดือนมีนาคม 2558 เก็บ
ขอมูล 6 เดือนกอนดําเนิน
โครงการ; ภายในเดือนสิงหาคม
2558 (ดําเนินการแลว 6 เดือน);
ภายในเดือนกุมภาพันธ 2559
(ดําเนินการแลว 12 เดือน)
พรอมเยี่ยม พูดคุยกับทาง
โรงพยาบาล (โดย รพ.แมขาย
+/- สวนกลาง) ทุกครั้ง
31 มีนาคม 2558;
31 สิงหาคม 2558;
29 กุมภาพันธ
2559
PTC คณะทํางาน
บริหารโครงการฯ
ตัวชี้วัด
เสริม
3 ภายในเดือนมีนาคม 2558 เก็บ
ขอมูล 6 เดือนกอนดําเนิน
โครงการ; ภายในเดือนสิงหาคม
2558 (ดําเนินการแลว 6
เดือน); ภายในเดือนกุมภาพันธ
2559 (ดําเนินการแลว 12
เดือน) พรอมเยี่ยม พูดคุยกับ
ทางโรงพยาบาล (โดย รพ.แม
ขาย +/- สวนกลาง) ทุกครั้ง
31 มีนาคม 2558;
31 สิงหาคม 2558;
29 กุมภาพันธ
2559
PTC คณะทํางาน
บริหารโครงการฯ
ตัวชี้วัด
เฉพาะ
อยางนอย
2 ครั้ง
ภายในเดือนมีนาคม 2558 เก็บ
ขอมูล 6 เดือนกอนดําเนิน
โครงการ; ภายในเดือน
กุมภาพันธ 2559 (ดําเนินการ
แลว 12 เดือน)
31 มีนาคม 2558;
29 กุมภาพันธ
2559
PTC คณะทํางาน
บริหารโครงการฯ
11
แหลงขอมูล
ตัวชี้วัดหลักสวนใหญสามารถเรียกทํารายงานไดจากฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสดานการรักษาพยาบาลและ
ฐานขอมูลสําหรับการบริหารงานฝายเภสัชกรรม สําหรับโรงพยาบาลที่ใชโปรแกรม HosXP การดึงขอมูลจะ
สามารถทําไดจากแฟมขอมูลผูปวย โรค ยา และหองปฏิบัติการ สําหรับโรงพยาบาลที่ใชโปรแกรมอื่นจะตอง
ปรึกษาเจาหนาที่ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศในการทํารายงานตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดบางตัวอาจตองดําเนินการเก็บ
ขอมูลจากแฟมประวัติผูปวยหรือการสํารวจดวยแบบสอบถาม
ความถูกตองของขอมูลตัวชี้วัด
สําหรับตัวชี้วัดเชิงตัวเลข ความถูกตองของรายงานตามตัวชี้วัด ขึ้นอยูกับความถูกตองและความครบถวน
ของขอมูลในฐานขอมูล การทบทวนเกณฑในการดึงขอมูลจากฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสซ้ํา และความเชี่ยวชาญของ
ผูที่เก็บขอมูลจากแฟมประวัติผูปวย รวมถึงวิธีการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถามเปนไปตามแนวทางที่กําหนด
ขอจํากัดของตัวชี้วัดหลักและตัวชี้วัดรอง
ตัวชี้วัดชุดนี้ ไมรวมการวัดผลลัพธดานคุณภาพชีวิตและดานเศรษฐศาสตรของการดําเนินโครงการ และไม
ครอบคลุมทุกโรคและกลุมพิเศษทุกกลุม ไมรวมการสงเสริมการใชยาในรานยาหรือสถานบริการสาธารณสุข
ประเภทอื่น
วิธีการรวบรวมขอมูลตัวชี้วัด
ในระยะแรกของการดําเนินงานโครงการฯ ใหเก็บขอมูลตามคูมือตัวชี้วัด ในกรณีที่ไมสามารถดึงรายงาน
สําเร็จรูปได ใหบันทึกตัวตั้งและตัวหารตามสูตรคํานวณ หรือบันทึกจํานวน และการประเมินผลเชิงคุณภาพ โดยลง
ขอมูลใน Excel file ซึ่งจะสามารถคํานวณคาตัวชี้วัดได ถาทางโรงพยาบาลสามารถคํานวณตัวชี้วัดไดจาก
ฐานขอมูล ใหใสคาตัวเลขหรือจํานวนลงใน Excel file ไดเลยโดยไมตองใสตัวตั้งและตัวหารจากสูตร จะมีการ
พัฒนาโปรแกรมรายงานสําเร็จรูปเพื่อทํารายงานตัวชี้วัดในระยะตอไป
การใชขอมูลตัวชี้วัด
ผูประสานงานตัวชี้วัดของโรงพยาบาลนําเสนอขอมูลจากตัวชี้วัด ตอ PTC ในการประชุมเปนระยะ พรอม
กับขอมูลเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความเขาใจและสามารถวิเคราะห คนหาปญหาและหาแนวทางจัดการปญหาการใชยา
ไมสมเหตุผลได เชน ขอมูลการวิเคราะหในรายละเอียดตามผูใหบริการหรือผูสั่งยา ตามสิทธิประกันสุขภาพของ
ผูรับบริการ ตามกลุมอายุ หรือการทบทวนระบบการใหบริการดานยา
ผูประสานงาน RDU Indicator ของโรงพยาบาลสงรายงานตัวชี้วัด (Excel file) พรอมกับขอมูลอื่นๆ ที่
จําเปน ทางอีเมลใหกับคณะทํางานบริหารโครงการฯ ตามกําหนดการที่ระบุไวขางตน
12
แหลงที่มาของตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดพัฒนาขึ้นสําหรับโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ภายใตกรอบแนวคิดกุญแจ
สําคัญ 6 ประการ PLEASE โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. นักวิจัยทบทวนและรวบรวมตัวชี้วัด จากตัวชี้วัดเดิมของ สรพ. สปสช. และชุดตัวชี้วัดการใชยาอยางสม
เหตุผลของประเทศไทย ไดรางตัวชี้วัด version 1
2. พิจารณาปรับ ลด และเพิ่มเติมโดยคณะทํางานบริหารโครงการฯ ไดรางตัวชี้วัด version 2
3. รับฟงความเห็นและขอเสนอแนะเบื้องตนตอจากโรงพยาบาลในสังกัด สปสช.เขต 1 ไดรางตัวชี้วัด
version 3
4. รวบรวมตัวชี้วัดจากการพิจารณาคัดเลือกจาก
1) คณะทํางานพัฒนาคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดในระบบบริการสุขภาพ
2) คณะทํางานพัฒนาฉลากสําหรับยาที่จายในโรงพยาบาล
3) คณะทํางานจัดทําเครื่องมือในการสั่งใชยาอยางสมเหตุผลและการดูแลผูปวยกลุมพิเศษ
4) คณะทํางานเฉพาะกิจเพื่อจัดทําเครื่องมือจําเปนสําหรับการใชยาอยางสมเหตุผลและการดูแลผูปวย
กลุมพิเศษ
5) คณะทํางานสงเสริมจริยธรรมและธรรมาภิบาลวาดวยการสงเสริมการขายยา
6) คณะทํางานบริหารโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
7) ผูทรงคุณวุฒิ
5. ทดลองเก็บขอมูล (pilot test) รับฟงความเห็นและขอเสนอแนะจากโรงพยาบาลที่ทําการทดลองเก็บ
ขอมูลตัวชี้วัด 10 โรงพยาบาล ประกอบดวย โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ โรงพยาบาล
สงขลานครินทร โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลขอนแกน โรงพยาบาลสมุทรปราการ โรงพยาบาลชุมแพ
โรงพยาบาลพระยืน โรงพยาบาลบางบอ และโรงพยาบาลเชียงแสน
6. คัดเลือกและใหขอเสนอแนะตัวชี้วัด Es และ S โดยคณะทํางานพัฒนาเครื่องมือสงเสริมการใชยาอยางสม
เหตุผล Version 4
7. คัดเลือกตัวชี้วัด โดยคณะทํางานบริหารโครงการฯ จนได Version 5 ตัวชี้วัดหลัก 10 ตัว และตัวชี้วัดรอง
25 ตัว
8. พัฒนาคูมือตัวชี้วัดและวิธีการคํานวณตัวชี้วัด
13
 แผนการดําเนินงาน และกิจกรรมโครงการฯ ปงบประมาณ 2557 – 2560
1.จัดทําคูมือและตัวชี้วัดโครงการ
และจัดประชุมชี้แจงและทําแผน
รวมกัน
2.จัดทําแผนกับหนวยงานที่มีรวมลง
นามบันทึกขอตกลง และดําเนินการ
รวมกัน
3.วิเคราะห ประเมินสถานการณ
ปจจุบันเกี่ยวกับระบบการดําเนินการ
เพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล
ในโรงพยาบาลโดยใชแบบประเมิน
ตนเองกอนการดําเนินการตาม
ตัวชี้วัดที่กําหนด
4.โรงพยาบาลนําแนวทาง/ขอมูล/
เครื่องมือใน 6 กุญแจสําคัญไปปฏิบัติ
5.พัฒนาเครือขาย รพ.แยกตามภาค
รวมกับโรงพยาบาลสังกัดอื่น
6.มี ก าร พั ฒน า ศั ก ย ภ าพ ก า ร
ดําเนินการและแลกเปลี่ยนเรียนรูใน
เครือขาย ในสวนกลางและพื้นที่ เพื่อ
คนหา best practice
7.ถอดบทเรียน รูปแบบ (model)
ของโรงพยาบาลสงเสริมการใชยา
อยางสมเหตุผล
ระยะที่ 1.3 โรงพยาบาลดําเนินการ
ตามแนวทางโครงการและมีการ
แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเครือขาย
และจากเครือขายสูสวนกลาง
(พ.ย.57 – ก.ย.58)
1. มอบรางวัล
1.1 คัดเลือกโรงพยาบาลที่เปน best
practice โดยคณะอนุกรรมการสงเสริม
การใชยาอยางสมเหตุผลและลงพื้นที่โดย
ทีมอนุกรรมการที่ไดรับมอบหมาย รวม
ผูแทนจาก สรพ.
1.2 มอบรางวัลโรงพยาบาลสงเสริมการ
ใชยาอยางสมเหตุผลที่รวมโครงการจาก
ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ
2. สรางความยั่งยืนสูระบบงานปกติ
2.1 พัฒนาเครื่องมือการใชยาอยางสม
เหตุผลสนับสนุนโรงพยาบาลอยาง
ตอเนื่อง
2.2 พัฒนาตัวชี้วัดการใชยาสมเหตุผล
เชื่อมโยงกับการรับรองคุณภาพ
สถานพยาบาล
2.3 พัฒนาเครือขายเพื่อสงเสริมการใช
ยาอยางสมเหตุผล
ระยะที่ 1.4 ประเมินผล และ
สรุปโครงการระยะที่ 1
(ก.ย. – พ.ย.58) มอบรางวัล และวางแผนการสราง
ความยั่งยืนสูระบบงานปกติ
1. วิเคราะห ประเมินสถานการณ
ปจ จุบั น เกี่ ย วกั บ ร ะ บ บก า ร
ดําเนินการเพื่อสงเสริมการใชยา
อยางสมเหตุผลในโรงพยาบาลโดย
ใชแบบประเมินตนเองหลังการ
ดําเนินการหรือตามตัวชี้วัดที่กําหนด
เมื่อครบ 1 ป
2. สรุปโครงการ
1. พัฒนาโครงการฯ รวมกับ
หนวยงานที่เกี่ยวของ
2. เสนอโครงการตอ
คณะอนุกรรมการสงเสริมการใช
ยาสมเหตุผล (4 เม.ย.57)
ระยะที่ 1.1 พัฒนาโครงการ /
เสนอโครงการตออนุกรรมการฯ
(พ.ย. 2556 – เม.ย.2557)
1. ประชาสัมพันธ เชิญชวน
โรงพยาบาลเขารวมโครงการ
(พ.ค.- ส.ค.57)
2. พัฒนาเครื่องมือในการ
ดําเนินการตาม 6 กุญแจสําคัญ
(พ.ค. – ต.ค.57)
3. ประชุมชี้แจง สรางการมีสวน
รวมในการดําเนินการตามแนวทาง
(29-30 ต.ค.57)
ระยะที่ 1.2 ประชาสัมพันธ
โครงการและ/รับสมัคร รพ.นํา
รอง /พัฒนาเครื่องมือสนับสนุน
การดําเนินการ/ (เม.ย.– ต.ค.57)
ระยะที่ 1 ปงบ 2557-2558 ระยะที่ 2 ปงบ 2559 ระยะที่ 3 ปงบ 2560
ขยายโครงการฯ ใหครอบคลุม
โรงพยาบาลรัฐอื่น สถานบริการ
สุขภาพอื่น เชน โรงพยาบาลรัฐ
ในสังกัดตางๆ โรงพยาบาล
เอกชน คลินิก รานยา
14
 ผูรับผิดชอบโครงการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ
โครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (RDU hospital PLEASE) ไดรับความเห็นชอบ
จากคณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ในการประชุมครั้งที่ 1/57 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557
โดยมีสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทําหนาที่เปนฝายเลขานุการ ในเวลาตอมา ไดจัดการประชุมหารือ
โครงการฯ เพื่อกําหนดรายละเอียดการนําไปสูการปฏิบัติรวมกับผูเขารวมประชุมจากโรงพยาบาลตางๆ เชน
โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ และโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง
สาธารณสุข เปนตน และประชุมรวมกับผูแทนจากหนวยงานที่เขารวมรับผิดชอบโครงการฯ ไดแก สถาบันวิจัย
ระบบสาธารณสุข (สวรส.) กลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท.) สํานักงานหลักประกันสุขภาพ
แหงชาติ (สปสช.) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน) (สรพ.) เครือขายโรงพยาบาลกลุม
สถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (UHOSNET) อนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ สํานักพยาบาล
และการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กลุมงานพัฒนาระบบสนับสนุนบริการ สํานักบริหาร
การสาธารณสุข และสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
โรงพยาบาลทุกระดับทั้งภาครัฐ (และเอกชน) มีระบบสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลอยางเปน
รูปธรรม นําการใชยาอยางสมเหตุผลไปสูการปฏิบัติโดยผนวกไวในงานประจํา และมีการพัฒนาขึ้นเปน
เครือขายโรงพยาบาลที่ปฏิบัติงานและเรียนรูรวมกันในการสงเสริมและสนับสนุนการใชยาอยางสมเหตุผล ซึ่ง
นําไปสูการใชยาที่ใหประโยชนสูงสุดแกประชาชนผูรับบริการ ไมใชยาเกินความจําเปน คุมคา ปลอดภัย ลด
ปญหาเชื้อดื้อยา เปนการใชยาที่สอดคลองกับหลักเกณฑดานเวชจริยศาสตร ตอบสนองตอนโยบายแหงชาติ
ดานยา และนําไปสูการลดคาใชจายดานยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการที่ไมจําเปน โดยใหคุณภาพการ
รักษาพยาบาลที่ดียิ่งขึ้น และเกิดความปลอดภัยดานยา
ประชาชนมีความตระหนักรูตอคําวา “การใชยาอยางสมเหตุผล” มีความเขาใจที่ถูกตองตอยาที่ใช
เกิดความรวมมือในการใชยา และสามารถใชยาเหลานั้นไดอยางถูกตอง และปลอดภัย รวมทั้งไมเรียกรองการ
ใชยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการที่เกินความจําเปน เกิดความศรัทธาและเชื่อมั่นในการใชบริการจาก
โรงพยาบาลที่ผานเกณฑคุณภาพดานการใชยาอยางสมเหตุผล
 สรุป
การใชยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการที่เหมาะสมและกอปรดวยจริยธรรม เปนหนาที่และ
มาตรฐานทางวิชาชีพของบุคลากรสาธารณสุข และเปนพันธกิจที่มีความสําคัญเปนอันดับตนของสถานพยาบาล
ทุกแหง แตที่ผานมาปญหาการใชยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการอยางไมสมเหตุผลยังไมไดรับการแกไข
อยางเปนระบบ สงผลใหผูปวยไดรับยาเกินความจําเปน เสี่ยงตออันตรายจากยา กอปญหาเชื้อดื้อยาจนเขาสู
ภาวะวิกฤต ทําใหผูปวย สถานพยาบาลและรัฐ สูญเสียคาใชจายโดยไมจําเปนเปนมูลคามหาศาล จนทําให
ประเทศไทยมีรายจายดานยาตอคาใชจายดานสุขภาพสูงกวาประเทศที่พัฒนาแลวมากกวา 3 เทา5
โครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (RDU Hospital PLEASE) เปนนวัตกรรมอัน
เกิดขึ้นจากความรวมมือของผูเกี่ยวของทุกภาคสวนดวยความประสงคที่จะแกไขปญหาการใชยาและการสง
ตรวจทางหองปฏิบัติการที่ไมสมเหตุผลอยางเปนรูปธรรม จนการใชยาอยางสมเหตุผลไดรับการยอมรับเปน
วัฒนธรรมขององคกร และกลายเปนบรรทัดฐานทางสังคมในหมูประชาชนผูใชยา
15
การดําเนินงานของโครงการฯ ขับเคลื่อนผานกุญแจสําคัญเพื่อความสําเร็จ 6 ประการ (PLEASE) ซึ่ง
ขอปฏิบัติตาง ๆ ผานการคัดกรองจากผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขาภายใตหลักฐานทางวิชาการที่เชื่อถือได
รวมกับการประเมินและติดตามผลดวยตัวชี้วัดที่จัดทําขึ้นโดยกระบวนการวิจัยดานระบบสาธารณสุข
สถานพยาบาลที่ดําเนินงานผานเกณฑจะไดรับการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลในมาตรฐานการเปน
“โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล” จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน)
และไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติ นอกจากนั้นยังอาจไดรับงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติมจากหนวยงานที่เปน
ผูใชบริการของสถานพยาบาล เชน สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เปนตน
ทายที่สุด ประโยชนสุขทั้งหลายจะตกแกประชาชนทุกหมูเหลา ในอันที่จะไดรับบริการทางการแพทย
ที่มีคุณภาพ ซึ่งชวยสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีแกประชาชนทุกคนโดยไมเลือกปฏิบัติ
เอกสารอางอิงที่สําคัญ
1. คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ. นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2554 และยุทธศาสตรการพัฒนา
ระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย,
2554: 1-41.
2. พิสนธิ์ จงตระกูล. คําจํากัดความและกรอบความคิดในการใชยาอยางสมเหตุผล. ใน: คณะอนุกรรมการ
พัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ. คูมือการใชยาอยางสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแหงชาติ เลม 1 ยาระบบ
ทางเดินอาหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2552: ข1-38.
3. World Health Organization. Promoting rational use of medicines: core components.
Geneva, 2002: 1-6.
4. พิสนธิ์ จงตระกูล. คําแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับการใชยา. ใน: คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ.
คูมือการใชยาอยางสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแหงชาติ เลม 1 ยาระบบทางเดินอาหาร. กรุงเทพฯ: โรง
พิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2552: ข39-56.
5. พินิจ ฟาอํานวยผล, ปาณบดี เอกะจัมปกะ, นิธิศ วัฒนมะโน. ระบบบริการสุขภาพไทย ใน สุวิทย วิบุลผล
ประเสริฐ, บรรณาธิการ. การสาธารณสุขไทย 2551-2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการสงเคราะหทหาร
ผานศึก, 2554: 233-318.
16
กุญแจดอกที่ 1 การสรางความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
ตั้งแตป ค.ศ. 2002 องคการอนามัยโลกไดชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของการมีคณะกรรมการเภสัชกรรม
และการบําบัด (Pharmacy and Therapeutics Committee: PTC) ที่เขมแข็ง ซึ่งเปนที่ยอมรับในประเทศที่
พัฒนาแลววาเปนกุญแจสําคัญในการสงเสริมใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผลขึ้นในโรงพยาบาลและเครือขายใน
ขอบเขตการใหบริการของตน จึงชี้แนะใหรัฐบาลเกื้อหนุนโรงพยาบาลใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการเภสัชกรรม
และการบําบัดขึ้น โดยการกําหนดใหเปนเกณฑรับรองคุณภาพของสถานพยาบาล
1. องคประกอบของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
คณะกรรมการฯ ควรมาจากตัวแทนของทุกสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวของกับระบบยาและการบําบัด ซึ่ง
บุคคลเหลานี้ควรปฏิบัติหนาที่ไดโดยอิสระปลอดจากการบังคับบัญชา และตองเปดเผยผลประโยชนทับซอนที่มี
(declare any conflict of interest)
2. บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
จากการทบทวนและสํารวจบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการฯ ที่สอดคลองกับการดําเนินการของ
ประเทศไทย และจากการหารือในคณะทํางานพัฒนาคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดในระบบบริการ
สุขภาพ ไดมีมติใหคณะกรรมการฯ มีหนาที่และความรับผิดชอบดังนี้
1. กําหนดและทบทวนนโยบายดานยาและการสั่งใชยา เพื่อพัฒนาระบบยาในภาพรวมของ
โรงพยาบาลและสถานพยาบาลในเครือขาย
2. กําหนดมาตรการบริหารเวชภัณฑ ตั้งแตการจัดซื้อจัดหา การบริหารคลังยา ตลอดจนการสราง
ความเชื่อมั่นในคุณภาพยาของโรงพยาบาล
3. จัดทําและปรับปรุงบัญชียาโรงพยาบาลที่เปนปจจุบัน และคัดเลือกดวยขอมูลที่เปนหลักฐานเชิง
ประจักษที่นาเชื่อถือ
4. กําหนด/รับรองแนวเวชปฏิบัติ ที่ใชเปนแนวทางสําหรับการสั่งจายยาสําหรับผูสั่งใชยา† รวมถึง
การกําหนดแนวทางการตรวจทางหองปฏิบัติการที่จําเปนและเหมาะสม เพื่อการติดตามการ
รักษาและการใชยา
5. กําหนดนโยบายและกํากับดูแลใหมีการสั่งใชยาอยางสมเหตุผล โดยเฉพาะอยางยิ่งยาปฏิชีวนะ
และยาที่มีคาใชจายสูง
6. มีระบบการจัดการดานยาเพื่อความปลอดภัยและกํากับติดตามอยางเปนรูปธรรม เชน ระบบการ
จัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) พัฒนาระบบการปองกันการจายยาที่มี
ปฏิกิริยาตอกันในคูที่หามใชรวมกัน (Drug Interaction) ระบบการติดตามอาการไมพึงประสงค
จากการใชยา (Adverse Drug Reaction) และการปองกันการแพยาซ้ํา ระบบการจัดการยากลุม
เสี่ยงสูง (High Alert Drug) และการประสานรายการยา (Medication Reconciliation) รวมถึง
การใหขอมูลยาแกประชาชน
7. กําหนดมาตรการ พัฒนาระบบและกํากับติดตามเพื่อลดอิทธิพลจากการสงเสริมการขายยา กํากับ
ติดตามการสั่งใชยาและใหขอมูลยอนกลับ (supervision, audit and feedback) แกผูสั่งใชยา
เมื่อพบปญหาในการใชยา รวมทั้งการฝกอบรมบุคลากรเพื่อปองกันและแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015

More Related Content

What's hot

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Utai Sukviwatsirikul
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิUtai Sukviwatsirikul
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
Paracetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาด
Paracetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาดParacetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาด
Paracetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาดKeerati Sup
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิคู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
คู่มือสำหรับเภสัชกรในการดำเนินงานเภสัชกรรมในหน่วยบริการปฐมภูมิ
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Paracetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาด
Paracetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาดParacetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาด
Paracetamol overdose ภาวะพิษจากพาราเซตามอลเกินขนาด
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 

Viewers also liked

Antibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramAntibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramSagar Nama
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailanddentyomaraj
 
Nhso eclaim rep-manual_v2.3_web
Nhso eclaim rep-manual_v2.3_webNhso eclaim rep-manual_v2.3_web
Nhso eclaim rep-manual_v2.3_webSupattra Cheachan
 
Girl Develop It RDU- Community Outreach
Girl Develop It RDU- Community OutreachGirl Develop It RDU- Community Outreach
Girl Develop It RDU- Community OutreachMarjorie Sample
 
Rock the Technical Interview
Rock the Technical InterviewRock the Technical Interview
Rock the Technical InterviewTISHAN MILLS
 
Smart Use of Antibiotics (SUA) in Indonesia
Smart Use of Antibiotics (SUA) in IndonesiaSmart Use of Antibiotics (SUA) in Indonesia
Smart Use of Antibiotics (SUA) in Indonesiamarkovingian
 
SWI antibiotic producers presentation at NU Fall Assembly
SWI antibiotic producers presentation at NU Fall AssemblySWI antibiotic producers presentation at NU Fall Assembly
SWI antibiotic producers presentation at NU Fall AssemblyAna Maria Slingluff-Barral
 
Midterm research method hemant chandwani
Midterm research method hemant chandwaniMidterm research method hemant chandwani
Midterm research method hemant chandwaniHemant chandwani
 
PSA Poster: Antibiotic Resistant Gonorrhea
PSA Poster: Antibiotic Resistant GonorrheaPSA Poster: Antibiotic Resistant Gonorrhea
PSA Poster: Antibiotic Resistant GonorrheaKevin B Hugins
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียUtai Sukviwatsirikul
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรKamol Khositrangsikun
 

Viewers also liked (16)

Rational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital ManualRational Drug Use Hospital Manual
Rational Drug Use Hospital Manual
 
Antibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramAntibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use Program
 
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in ThailandRational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
Rational Drug Use : Drug use in 3 commom diease in Thailand
 
Rational drug use
Rational  drug  useRational  drug  use
Rational drug use
 
Rational drug use
Rational drug useRational drug use
Rational drug use
 
Nhso eclaim rep-manual_v2.3_web
Nhso eclaim rep-manual_v2.3_webNhso eclaim rep-manual_v2.3_web
Nhso eclaim rep-manual_v2.3_web
 
Girl Develop It RDU- Community Outreach
Girl Develop It RDU- Community OutreachGirl Develop It RDU- Community Outreach
Girl Develop It RDU- Community Outreach
 
Rock the Technical Interview
Rock the Technical InterviewRock the Technical Interview
Rock the Technical Interview
 
Smart Use of Antibiotics (SUA) in Indonesia
Smart Use of Antibiotics (SUA) in IndonesiaSmart Use of Antibiotics (SUA) in Indonesia
Smart Use of Antibiotics (SUA) in Indonesia
 
SWI antibiotic producers presentation at NU Fall Assembly
SWI antibiotic producers presentation at NU Fall AssemblySWI antibiotic producers presentation at NU Fall Assembly
SWI antibiotic producers presentation at NU Fall Assembly
 
Midterm research method hemant chandwani
Midterm research method hemant chandwaniMidterm research method hemant chandwani
Midterm research method hemant chandwani
 
PSA Poster: Antibiotic Resistant Gonorrhea
PSA Poster: Antibiotic Resistant GonorrheaPSA Poster: Antibiotic Resistant Gonorrhea
PSA Poster: Antibiotic Resistant Gonorrhea
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
Rational use ab
Rational use abRational use ab
Rational use ab
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 

Similar to Rdu hospital mar_9_2015

Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 14LIFEYES
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560
แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560
แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560Utai Sukviwatsirikul
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นKomsan Iemthaisong
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisUtai Sukviwatsirikul
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร ikanok
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 

Similar to Rdu hospital mar_9_2015 (20)

2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Tf tri factor 1
Tf tri factor 1Tf tri factor 1
Tf tri factor 1
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
8
88
8
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560
แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560
แผนการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งแห่งชาติ 2556 2560
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
hepatotoxicity
hepatotoxicityhepatotoxicity
hepatotoxicity
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่นระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
ระบบสุขภาพชุมชน รพ.ขอนแก่น
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritisPharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
Pharmacotherapy of gout, osteoarthritis and rheumatoid arthritis
 
อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร  อาชีพเภสัชกร
อาชีพเภสัชกร
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Rdu hospital mar_9_2015

  • 1. คูมือการดําเนินงาน โครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital) โดย คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล มีนาคม 2558
  • 2. คํานํา ตามนโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2554 และยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2555 - 2559 กําหนดใหยุทธศาสตรการใชยาอยางสมเหตุผล เปนเรื่องหนึ่งในยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ และคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ไดมอบหมายใหคณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล กํากับดูแลและดําเนินการใหเปนไปตามยุทธศาสตร ซึ่งใน พ.ศ. 2556 คณะอนุกรรมการฯ ไดเห็นชอบใหมีการ ดําเนินโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital; RDU Hospital) ขึ้น เพื่อใหการดําเนินการในสถานพยาบาลตอเรื่องการใชยาอยางสมเหตุผลเปนรูปธรรมชัดเจน เกิด ความตระหนักถึงปญหาการใชยา และสรางระบบในการบริหารจัดการดานยาใหเปนมาตรฐานเดียวกัน คูมือการดําเนินการโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลฉบับนี้ จัดทําขึ้นตามกุญแจ สําคัญ 6 ประการของการเปนโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (PLEASE) โดยคณะทํางานและ ผูเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของในแตละดาน รวมกันพัฒนาขึ้นตามขอมูลหลักฐานในปจจุบัน และขอกําหนดที่เปนสากล ตางๆ เพื่อใหโรงพยาบาลที่สมัครเขารวมโครงการฯ ไดพิจารณาใชเปนแนวปฏิบัติ ซึ่งจะมีการประเมินผล สัมฤทธิ์ผานตัวชี้วัดตางๆ ที่กําหนดไว ทั้งในระหวางดําเนินการ (ปงบประมาณ 2557-2558) และเมื่อสิ้นสุด โครงการฯ พรอมใหการรับรองแกโรงพยาบาลที่เขารวม ทั้งประชาสัมพันธใหผูเกี่ยวของและประชาชนไดรับ ทราบ เพื่อยกยองโรงพยาบาลที่มีการดําเนินการเปนตัวอยางที่ดีและถือแบบอยางตอไป การดําเนินการของโรงพยาบาลเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลนี้ จําเปนตองอาศัยความรวมมือ รวมใจตั้งแตผูบริหาร หัวหนางาน ผูปฏิบัติงานในทุกวิชาชีพ เพื่อใหการดําเนินการสําเร็จตามวัตถุประสงค และ พัฒนาระบบจัดการดานยาใหมีประสิทธิภาพ มีธรรมาภิบาล และมีความยั่งยืน คณะอนุกรรมการฯ หวังวา โครงการนี้จะเปนประโยชนสําหรับสถานพยาบาลที่ตองการพัฒนาอยางตอเนื่อง ใหมีความชัดเจนใน แนวทางการพัฒนาระบบบริหารจัดการดานยา เพื่อประโยชนสูงสุดตอผูปวย และยกระดับคุณภาพบริการ สุขภาพของประเทศไปพรอมกัน คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ขอขอบคุณคณะทํางานชุดตางๆ ที่ชวยกันพัฒนา เครื่องมือ ตัวชี้วัด และขอมูลสนับสนุนการดําเนินการ รวมทั้งหนวยงานตางๆ ที่ใหความรวมมือในการดําเนิน โครงการฯ และขอบคุณโรงพยาบาลนํารอง ที่เปนโรงพยาบาลแนวหนาเพื่อทําใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล ของโรงพยาบาลทุกแหงในประเทศไทยตอไป คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล มีนาคม 2558
  • 3. สารบัญ หัวขอ หนา บทนํา 1 รายละเอียดโครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล วัตถุประสงคหลัก 3 ขั้นตอนการดําเนินงาน 3 กุญแจสําคัญ 6 ประการ 4 ตัวชี้วัดเพื่อการติดตามประเมินผล 8 แผนการดําเนินงาน และกิจกรรมโครงการฯ ปงบประมาณ 2557 - 2560 13 ผูรับผิดชอบโครงการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ 14 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 14 สรุป 14 กุญแจดอกที่ 1 การสรางความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด 16 กุญแจดอกที่ 2 การจัดทําฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และขอมูลยาสูประชาชน 24 กุญแจดอกที่ 3 การจัดทําหรือจัดหาเครื่องมือจําเปนที่ชวยใหเกิดการสั่งใชยา อยางสมเหตุผล 30 กุญแจดอกที่ 4 การสรางความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ 57 กุญแจดอกที่ 5 การดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ 60 กุญแจดอกที่ 6 การสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา 76 ภาคผนวก ขอแนะนําแพทยสําหรับการสั่งยาอยางมีจริยธรรม 78 รายละเอียดตัวชี้วัด 81 คณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล และคณะทํางานที่เกี่ยวของ 87 การประสานติดตอเพื่อขอขอมูลเพิ่มเติม 98
  • 4. 1 บทนํา องคการอนามัยโลกใหคําจํากัดความของ “การใชยาอยางสมเหตุผล (rational drug use)” ไว คือ “ผูปวยไดรับยาที่เหมาะสมกับปญหาสุขภาพ โดยใชยาในขนาดที่เหมาะสมกับผูปวยแตละราย ดวยระยะเวลาการ รักษาที่เหมาะสม และมีคาใชจายตอชุมชนและผูปวยนอยที่สุด” “Patients receive medications appropriate to their clinical needs, in doses that meet their own individual requirements, for an adequate period of time, and at the lowest cost to them and their community” (WHO, 1985) ซึ่งสอดคลอง กับคําจํากัดความตามคูมือการใชยาอยางสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแหงชาติ: 2552 ที่ขยายความวา การใชยาอยางสมเหตุผล หมายถึง การใชยาโดยมีขอบงชี้ เปนยาที่มีคุณภาพ มีประสิทธิผลจริง สนับสนุน ดวยหลักฐานที่เชื่อถือได ใหประโยชนทางคลินิกเหนือกวาความเสี่ยงจาการใชยาอยางชัดเจน มีราคาเหมาะสม คุมคาตามหลักเศรษฐศาสตรสาธารณสุข ไมเปนการใชยาอยางซ้ําซอน คํานึงถึงปญหาเชื้อดื้อยา เปนการใชยาใน กรอบบัญชียายังผลอยางเปนขั้นตอนตามแนวทางพิจารณาการใชยา โดยใชยาในขนาดที่พอเหมาะกับผูรับบริการ ในแตละกรณี ดวยวิธีการใหยาและความถี่ในการใหยาที่ถูกตองตามหลักเภสัชวิทยาคลินิก ดวยระยะเวลาการ รักษาที่เหมาะสม ผูรับบริการใหการยอมรับและสามารถใชยาดังกลาวไดอยางถูกตองและตอเนื่อง กองทุนในระบบ ประกันสุขภาพหรือระบบสวัสดิการสามารถใหเบิกจายยานั้นไดอยางยั่งยืน เปนการใชยาที่ไมเลือกปฏิบัติ เพื่อให ผูรับบริการทุกคนสามารถใชยานั้นไดอยางเทาเทียมกันและไมถูกปฏิเสธยาที่สมควรไดรับ อยางไรก็ตาม ขอมูลจากการศึกษาตางๆ แสดงวา ยังมีการใชยาอยางไมสมเหตุผลในอัตราที่สูงอาจถึง ครึ่งหนึ่งของการใชยาทั้งหมด โดยเฉพาะในประเทศที่กําลังพัฒนา ซึ่งนําไปสูการสูญเสียตามมาทั้งในระดับบุคคล ผูใชยา ทําใหเกิดปญหาตอประสิทธิผลของการรักษา และปญหาจากความคลาดเคลื่อนหรือผลขางเคียงของยา ไป จนถึงสังคมโดยรวม เชน การเกิดแนวคิดวาเมื่อเจ็บปวยแลวจะตองกินยา (one pill for every ill) ทําใหความ ตองการในการใชยาเพิ่มมากขึ้นโดยไมจําเปน หรือผลกระทบตอสิ่งแวดลอมในระยะยาว เชน การเกิดปญหาเชื้อ โรคดื้อยา (antimicrobial resistance) มากขึ้น จากการใชยาปฏิชีวนะที่ไมเปนไปตามขอบงชี้ ทําใหผูปวยตองอยู โรงพยาบาลนานขึ้น มีอัตราการเสียชีวิตสูงขึ้น และนําไปสูความสูญเสียทางเศรษฐกิจ อยางนอยปละ 4,000-5,000 ลานดอลลารในสหรัฐอเมริกา หรือ 9,000 ลานยูโรในยุโรป สวนในประเทศไทย คาดวามีมูลคาสูญเสียทาง เศรษฐกิจจากการเจ็บปวยและเสียชีวิตกอนวัยอันควรถึงปละกวา 40,000 ลานบาท แมการสงเสริมใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผลในประเทศไทยจะไดดําเนินการมาอยางตอเนื่อง ตั้งแตเริ่มมี นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2524 แตก็ยังไมเกิดผลสัมฤทธิ์เทาที่ควร จึงเปนความจําเปนเรงดวนของประเทศที่ ตองปรับการดําเนินการใหเหมาะสมยิ่งขึ้น ดังจะเห็นไดจากการที่อนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ภายใตคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ซึ่งมี ศ.คลินิก นพ.ธีรวัฒน กุลทนันท คณบดีคณะแพทยศาสตร ศิริราชพยาบาล เปนประธาน (พ.ศ. 2553-2556) ไดระบุไวในรายงานการประชุม ครั้งที่ 1/2553 วา “การใชยา อยางไมสมเหตุผลเปนปญหาที่จําเปนตองไดรับการแกไขอยางเรงดวนและควรไดรับการยกสถานะเปนวาระ แหงชาติ” ซึ่งในเวลาตอมานโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2554 ไดมีการบรรจุให การใชยาอยางสมเหตุผล เปน ยุทธศาสตรดานที่ 2 ของยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2555-2559 ยุทธศาสตรดานที่ 2 การใชยาอยางสมเหตุผล มีวัตถุประสงค เพื่อสงเสริมการใชยาของแพทย บุคลากร ทางการแพทย และประชาชน ใหเปนไปอยางสมเหตุผล ถูกตอง และคุมคา โดยไดกําหนดยุทธศาสตรยอยไว 7 ประการ ไดแก 1. การพัฒนาระบบและกลไกการกํากับดูแล เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล
  • 5. 2 2. การพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ 3. การพัฒนากลไกและเครื่องมือ เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล 4. การสรางความเขมแข็งภาคประชาชนดานการใชยาอยางสมเหตุผล 5. การสงเสริมการผลิตและประกันคุณภาพยาชื่อสามัญ 6. การพัฒนาระบบและกลไกปองกันและแกไขปญหาที่เกิดจากการใชยาตานจุลชีพ และการดื้อยาของ เชื้อกอโรค 7. การสงเสริมจริยธรรมผูสั่งใชยา และยุติการสงเสริมการขายยาที่ขาดจริยธรรม ในเวลาตอมา อนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ที่มี ศ.คลินิก นพ.อุดม คชินทร คณบดี คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาลเปนประธาน (พ.ศ. 2556-2557) ในการประชุมครั้งที่ 3/2556 จึงเห็นชอบใน หลักการใหมีการดําเนินโครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (Rational Drug Use Hospital, RDU Hospital) ขึ้น เพื่อใหเกิดการดําเนินการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลดําเนินการอยางเปนรูปธรรม และ สรางใหเปนระบบงานปกติ รวมทั้งสรางความตื่นตัวใหโรงพยาบาลตอเรื่องการใชยาอยางสมเหตุผล ทั้งเปนการ บูรณาการกลไกและเครื่องมือสําคัญที่มีบทบาทในการผลักดันยุทธศาสตรดานที่ 2 นี้ใหสามารถดําเนิน ไปสูเปาหมายไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยเสนอใหมีการประเมินเพื่อใหรางวัลแกโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการฯ และจะมีการประชาสัมพันธใหผูเกี่ยวของและประชาชนไดรับทราบ เพื่อยกยองโรงพยาบาลที่มีการดําเนินการเปน ตัวอยางที่ดีและถือเปนแบบอยางตอไป
  • 6. 3 รายละเอียดโครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล  วัตถุประสงคหลัก 1. สรางตนแบบ (model) ของโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ในโรงพยาบาลภาครัฐทั้ง สวนกลางและสวนภูมิภาคทุกระดับ เชน โรงพยาบาลในกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (UHOSNET) โรงพยาบาลศูนย โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน เปนตน รวมถึงโรงพยาบาล ภาคเอกชนที่สนใจเขารวม 2. พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือเพื่อสนับสนุนและสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลใหเกิดขึ้นใน สถานพยาบาลอยางเปนรูปธรรม 3. พัฒนาเครือขายเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาลระดับตางๆ อยางเปนระบบ 4. พัฒนากลวิธีในการสรางความตระหนักรู ซึ่งจะนําไปสูการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคลากรทาง การแพทยและผูรับบริการเพื่อนําไปสูการใชยาอยางสมเหตุผลที่ยั่งยืนในสังคม  ขั้นตอนการดําเนินงาน โครงการฯ มีขั้นตอนการดําเนินงานที่สําคัญสรุปไดดังนี้ 1. กําหนดแนวทางการดําเนินงานของโรงพยาบาลที่จะเขารวมโครงการฯ เรียกวา กุญแจสําคัญ 6 ประการ สูโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (PLEASE) 2. จัดทํากรอบการปฏิบัติงาน และรวมหารือกับทีมนักวิชาการจากกลุมสถาบันแพทยศาสตรแหง ประเทศไทย บัญชียาหลักแหงชาติ และโรงพยาบาลตนแบบนํารองตางๆ เพื่อจัดทําขอมูลทางวิชาการ ในการสนับสนุนขอปฏิบัติ ใหดําเนินไปภายใตหลักฐานเชิงประจักษทางการแพทย และบริบทในการ ประกอบวิชาชีพเวชกรรมของประเทศ 3. รวมกับทีมนักวิจัยจากสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.) พัฒนาตัวชี้วัดของโครงการฯ และศึกษา ความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและประชาชน เพื่อสนับสนุนการดําเนินงานตางๆ 4. ผลักดันขอกําหนดของโครงการฯ เปน system specific accreditation เพื่อใหสถานพยาบาลขอรับ รองมาตรฐานการเปน “โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล” ทั้งประสานใหเปนสวนหนึ่ง ของโครงการ Engagement for Patient Safety ของสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (สรพ.) 5. สนับสนุนการจัดทําเครือขายเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาลระดับตางๆ ตาม ภูมิภาค เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู และใหความชวยเหลือในการดําเนินการ 6. ประเมินผลสัมฤทธิ์ ใหการรับรองแกโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการฯ และมอบรางวัลเชิดชูเกียรติแก สถานพยาบาลที่ผานเกณฑตัวชี้วัดที่กําหนด ทั้งประชาสัมพันธใหผูเกี่ยวของและประชาชนไดรับทราบ เพื่อยกยองโรงพยาบาลที่มีการดําเนินการเปนตัวอยางที่ดีและถือแบบอยางตอไป
  • 7. 4  กุญแจสําคัญ 6 ประการ PLEASE กุญแจสําคัญ 1. Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC) Strengthening ความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด 2. Labeling and Leaflet ฉลากยา และขอมูลยาสูประชาชน 3. Essential RDU Tools เครื่องมือจําเปนที่ชวยใหเกิดการสั่งใชยาอยางสมเหตุผล 3.1 Essential drug therapy recommendation 3.2 Evidence-based hospital formulary 3.3 Essential therapeutic monitoring and Investigation 3.4 Essential information system for RDU 3.5 System for drug use monitoring and feedback 3.6 Essential policy for RDU 4. Awareness for RDU Principles among Health Personnel and Patients ความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ 5. Special Population Care การดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ 6. Ethics in Prescription การสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา กุญแจดอกที่ 1 การสรางความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด (Pharmacy and Therapeutics Committee (PTC) Strengthening) ตั้งแตป ค.ศ. 2002 องคการอนามัยโลกไดชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของการมีคณะกรรมการเภสัชกรรมและ การบําบัดที่เขมแข็งในสถานพยาบาล ซึ่งเปนที่ยอมรับในประเทศที่พัฒนาแลววา เปนปจจัยสําคัญในการสงเสริมให เกิดการใชยาอยางสมเหตุผลและคุมคาขึ้นในสถานพยาบาล โครงการ RDU Hospital มีเปาหมายในการสรางเสริมคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดใหเปน หนวยปฏิบัติงานที่มีความเขมแข็ง สามารถชี้นําการจัดการดานยาในองคกรไดอยางเหมาะสม และเปนที่ยอมรับ โดยมีหนาที่และความรับผิดชอบตามแนวทางขององคการอนามัยโลก ในดานตางๆ ไดแก 1. การพัฒนาระบบเพื่อการติดตาม ตรวจสอบ และสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล รวมถึงกํากับการ ปฏิบัติงานตามกรอบของกุญแจดอกที่ 2 ถึง 6 ใหดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ 2. การจัดทําเภสัชตํารับ (hospital formulary) ที่มีความสอดคลองกับปรัชญาและหลักการของบัญชียา หลักแหงชาติ 3. การสรางความมั่นใจตอคุณภาพยา (ensuring drug quality) แกผูใชยา 4. การติดตามความปลอดภัยดานยาและการดําเนินการปองกันแกไข (ensuring drug use safety) 5. การควบคุมคาใชจายดานยา (expenditure control)
  • 8. 5 6. การฝกอบรมบุคลากร (staff education) และ 7. การควบคุมการสงเสริมการขายของบริษัทยา เวชภัณฑและอุปกรณทางการแพทย (controlling of all promotion activities to staff) ปจจัยที่มีความสําคัญอยางยิ่งตอความสําเร็จของการปฏิบัติงานตามภาระและหนาที่ของคณะกรรมการ เภสัชกรรมและการบําบัด ประกอบดวย การมีพันธกิจที่มั่นคง (firm mandate) มีเปาประสงคในการปฏิบัติงานที่ ชัดเจน ไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูง มีความโปรงใสในการปฏิบัติงาน มีตัวแทนจากหลากหลายสาขา มีความสามารถ ใชองคความรูที่อางอิงจากหลักฐานเชิงประจักษ ดําเนินงานภายใตแนวทางสหสาขาวิชาชีพ (multidisciplinary approach) และมีทรัพยากรเพียงพอที่จะดําเนินงานตามมติของคณะกรรมการฯ กุญแจดอกที่ 2 การจัดทําฉลากยามาตรฐาน ฉลากยาเสริม และขอมูลยาสูประชาชน (Labeling and Leaflet) ฉลากยาเปนเครื่องมือหนึ่งที่มีความสําคัญตอกระบวนการใชยาอยางเหมาะสมทั้งตอผูปวยที่จะชวยใหใช ยาไดอยางถูกตองและปลอดภัย ตอเภสัชกรที่จะชวยในการใหคําอธิบายที่สําคัญเกี่ยวกับยาไดอยางมีประสิทธิภาพ และตอแพทยที่จะชวยใหสั่งใชยาไดอยางสมเหตุผลมากขึ้น โครงการ RDU Hospital มีเปาหมายในการสนับสนุนใหใช ฉลากยามาตรฐาน (RDU label) เพื่อให ผูปวยรับทราบขอมูลที่สําคัญเกี่ยวกับยาไดอยางสะดวกและครบถวน ชวยใหผูปวยใชยาไดอยางถูกตองและ ปลอดภัยมากขึ้น ทั้งชวยใหเภสัชกรใหคําแนะนําไดงายขึ้นเนื่องจากสามารถใชขอความบนฉลากยามาประกอบ คําอธิบายไดโดยสะดวก นอกจากนั้น ดวยฉลากยามาตรฐานในปจจุบันมีขนาดเล็ก จึงเห็นมีความสําคัญในการใช ฉลากยาเสริม (extended label) ที่มีขนาดใหญขึ้น ซึ่งสามารถแนบหรือแปะติดเปนสติกเกอรไปกับซองยาที่ ผูปวยไดรับจากสถานพยาบาล เพื่อเพิ่มขอมูลที่สําคัญแกผูปวย ซึ่งอาจมีความสําคัญตอการสงเสริมใหเกิดการใชยา ไดอยางเหมาะสมยิ่งขึ้น เอกสารขอมูลยาสําหรับประชาชน (patient information leaflet หรือ PIL) เปนเอกสารที่จัดทําขึ้น ภายใตโครงการของสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา เพื่อใหบริษัทยานําไปใชเปนตนแบบในการผลิตและสง มอบไปพรอมกับผลิตภัณฑของตน หัวขอของเอกสารขอมูลยาสําหรับประชาชนประกอบดวย ยานี้คือยาอะไร ขอ ควรรูกอนใชยา วิธีใชยา ขอควรปฏิบัติระหวางใชยา อันตรายที่อาจเกิดจากยา และควรเก็บรักษายานี้อยางไร ใน ระหวางที่โครงการดังกลาวยังไมไดประกาศใชอยางเปนทางการ โครงการ RDU hospital จึงสงเสริมให โรงพยาบาลดําเนินการใหผูปวยที่ประสงคจะไดขอมูลเกี่ยวกับยาเพิ่มขึ้น สามารถเขาถึงเอกสารดังกลาวไดสะดวก กุญแจดอกที่ 3 การจัดทําหรือจัดหาเครื่องมือจําเปนที่ชวยใหเกิดการสั่งใชยาอยางสมเหตุผล (Essential RDU Tools) ประกอบดวยเครื่องมือ 6 ชนิด ไดแก 1. คําแนะนําการใชยาในกลุมยาเปาหมายที่สอดคลองกับหลักฐานเชิงประจักษที่เปนปจจุบันและเหมาะสม กับบริบทในการปฏิบัติงานของแตละสถานพยาบาล 2. เภสัชตํารับที่รายการยาถูกคัดเลือกอยางโปรงใส โดยใชหลักเกณฑที่สอดคลองกับหลักฐานเชิงประจักษ และหลักฐานดานความคุมคา 3. แนวทางการสงตรวจและการตรวจทางหองปฏิบัติการที่จําเปนตอการวินิจฉัยโรคเปาหมายและการติดตาม ผลการรักษาที่สอดคลองกับระดับของสถานพยาบาล
  • 9. 6 4. การจัดหารวมกับการจัดทําระบบขอมูลอิเล็กโทรนิคสดานยาและการรักษาโรคที่จําเปนตอการใชยาอยาง สมเหตุผล 5. ระบบและวิธีการปฏิบัติในการประเมินและการติดตามผลการใชยา รวมทั้งการใหขอมูลยอนกลับแกผูสั่ง ใชยา 6. นโยบายดานยาที่จําเปนตอระบบการใชยาที่สมเหตุผล ไดแก นโยบายการใชยาตามบัญชียาหลักแหงชาติ นโยบายการสั่งใชยาดวยชื่อสามัญทางยา และนโยบายการใชยาในผูปวยสิทธิรักษาพยาบาลกลุมตางๆ อยางเทาเทียมกัน เปนตน ทั้งนี้ สถานพยาบาลควรมีการประเมินพัฒนาระบบยาและการใชยาอยางสมเหตุผลอยางสม่ําเสมอและ ตอเนื่อง เชน ใหมีการตรวจทานยาและการใหขอมูลยอนกลับแกผูสั่งใชยากอนการสงมอบหรือการใหยาแกผูปวย โดยมีระบบการบันทึกและรายงานผลการปฏิบัติงานตอคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด เพื่อติดตามและ ปองกันไมใหเกิดปญหาเดิมซ้ําอีก เปนตน โครงการ RDU Hospital ไดจัดทําคําแนะนําและตัวชี้วัดสําหรับโรคที่พบบอยในเวชปฏิบัติ โดยแบงเปน 2 กลุมโรค คือ โรคติดเชื้อ (Rational Use of Antibiotics, RUA) และโรคไมติดตอเรื้อรัง (Non-Communicable Disease, NCD) รวม 6 ประเภท ไดแก 1) ความดันเลือดสูง 2) เบาหวาน 3) ไขมันในเลือดสูง 4) ขอเสื่อม / เกาต 5) โรคไตเรื้อรัง และ 6) โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง / โรคหืด โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. ยกรางคําแนะนําฯ โดยคณะทํางานเฉพาะกิจ ซึ่งมีองคประกอบ ไดแก แพทยและเภสัชกรจาก เครือขายโรงพยาบาล กลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย ผูแทนแพทยจากราชวิทยาลัย แพทยและ/หรือเภสัชกรจากโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข อาจารยจากคณะเภสัชศาสตร และผูแทนคณะทํางานผูเชี่ยวชาญการคัดเลือกยาในบัญชียาหลักที่เกี่ยวของ 2. นํารางคําแนะนําฯ รับฟงความคิดเห็นในชองทางตางๆ จากโรงพยาบาลนํารอง ราชวิทยาลัย สมาคม วิชาชีพ คณะผูเชี่ยวชาญ และผูปฏิบัติที่เกี่ยวของ 3. คณะทํางานเฉพาะกิจ นําความเห็นไปพิจารณาปรับปรุงเปนแนวทางฉบับสมบูรณ กุญแจดอกที่ 4 การสรางความตระหนักรูของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการตอการใชยาอยางสม เหตุผล (Awareness for RDU Principles among Health Personnel and Patients) การสรางความตระหนักรูตอการใชยาอยางสมเหตุผลในบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ และเห็น ถึงความสําคัญในเรื่องดังกลาว เปนปจจัยสําคัญที่จะทําใหโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล เปนที่ยอมรับ และนําไปปฏิบัติไดอยางยั่งยืน สงผลใหผูรับบริการไดรับเฉพาะยาจําเปนที่มีคุณภาพ เกิดประสิทธิผล ของการรักษาตามแนวทางการรักษามาตรฐานอยางครบถวน ปลอดภัย และคุมคา โครงการ RDU Hospital มีเปาประสงคใหเกิดการสรางกลไก ระบบ และกิจกรรมของสถานพยาบาล ที่ สนับสนุนการสรางความตระหนักรูฯ เพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใชยาของบุคลากรทางการแพทย และผูรับบริการใหมีความสอดคลองกับหลักเกณฑในการใชยาอยางสมเหตุผล และตางมีเจตคติที่ดี จนไดรับการ ยอมรับเปนวัฒนธรรมองคกร และกลายเปนบรรทัดฐานทางสังคมในหมูประชาชนผูใชยาซึ่งรวมถึงตัวผูปวยเอง และบุคคลใกลชิดที่อาจมีสวนชวยเหลือในการใชยาของผูปวย
  • 10. 7 กุญแจดอกที่ 5 การดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ (Special Population Care) การดูแลใหมีการใชยาอยางเหมาะสมแกผูปวยที่มีความเสี่ยงตอผลขางเคียงของยา เปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญ ในการลดภาวะแทรกซอนจากยาตอผูรับบริการ โครงการ RDU Hospital มีเปาประสงคใหเกิดกลไก ระบบ และมาตรการ ในระบบยาของสถานพยาบาล ที่สนับสนุนใหเกิดการใชยาอยางรอบคอบ ระมัดระวัง ในประชากรกลุมพิเศษ และกลไกดังกลาวถูกนําไปใชอยางมี ประสิทธิภาพในการปองกันอันตรายจากการใชยาในสวนที่สามารถปองกันได โดยไดจัดทําคําแนะนําและตัวชี้วัด สําหรับการดูแลดานยาเพื่อความปลอดภัยของประชากรกลุมพิเศษ 6 กลุม ไดแก 1) ผูสูงอายุ 2) สตรีตั้งครรภ 3) สตรีใหนมบุตร 4) ผูปวยเด็ก 5) ผูปวยโรคตับ และ 6) ผูปวยโรคไตเรื้อรัง เพื่อลดภาวะแทรกซอนจากยาใน ผูรับบริการกลุมพิเศษ สอดคลองกับมาตรฐานตามตัวชี้วัดที่ไดรับการกําหนดขึ้น กุญแจดอกที่ 6 การสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา (Ethics in Prescription) โครงการ RDU Hospital มีเปาประสงคใหสถานพยาบาลปฏิบัติตามแนวทางในการคัดเลือกยาและการสั่ง ใชยาที่เปนไปตามเกณฑจริยธรรมวาดวยการสงเสริมการขายยาของประเทศไทย รวมถึงการจัดใหเกิดกลไก ระบบ และมาตรการ ตามขอกําหนดในการมีปฏิสัมพันธกับบริษัทยา ซึ่งผลลัพธที่ไดคือกระบวนการนํายาเขาและออกจาก สถานพยาบาลมีความโปรงใส ตรวจสอบได ไมตกอยูในอิทธิพลของการสงเสริมการขายยาที่ขาดจริยธรรม และ เปาประสงคในระดับบุคลากร ใหมีการสั่งใชยาภายใตแนวทางของการใชยาอยางสมเหตุผล และตรงตามหลัก จริยธรรมทางการแพทย โดยคํานึงถึงการสั่งใชยาที่เปนประโยชนแกผูรับบริการจริง ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจาก การใชยา ความเทาเทียมของผูรับบริการ และการเคารพในสิทธิผูปวย
  • 11. 8  ตัวชี้วัดเพื่อการติดตามประเมินผล วัตถุประสงคของการใชตัวชี้วัด 1. เปนเครื่องมือผลักดันใหเกิดการดําเนินงานไปสูเปาหมายการใชยาอยางสมเหตุผล 2. เพื่อเปนเครื่องมือติดตามสถานการณและความกาวหนาในการดําเนินงานของโรงพยาบาลที่เขารวม โครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล 3. เปนขอมูลสวนหนึ่งของแสดงผลการดําเนินการโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ในภาพรวม ระหวางดําเนินการ และเมื่อสิ้นสุดโครงการนํารอง ลักษณะตัวชี้วัด ประกอบดวยตัวชี้วัดดานกระบวนการ (process) ผลผลิต (output) และผลลัพธ (outcome) โดยมุงเนน การวัดผลการดําเนินงานเพื่อการสงเสริมการใชยาสมเหตุผลตามแนวทางของโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใช ยาอยางสมเหตุผล (PLEASE) ซึ่งดําเนินการขับเคลื่อนโดยคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด (PTC) เปนหลัก การมีฉลากยามาตรฐานที่ใหขอมูลถูกตองครบถวน การใชเครื่องมือสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ไดแก การ ทบทวนบัญชียาโรงพยาบาล คําแนะนําการใชยาอยางสมเหตุผลตามกลุมโรค การใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบ คําแนะนําการใชยาในผูปวยกลุมพิเศษ การสงเสริมใหเกิดความตระหนักรูในการสั่งยาและใชยาอยางสมเหตุผลใน บุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ และการสงเสริมจริยธรรมและจรรยาบรรณทางการแพทยในการสั่งใชยา ตัวชี้วัดสวนใหญใหความสําคัญกับการวัดกระบวนการและผลผลิต มากกวาการวัดผลลัพธเชิงคลินิก โดย ภาพรวมตัวชี้วัด ประกอบดวยการประเมินเชิงคุณภาพแบงเปนระดับคะแนน 0-5 และเชิงปริมาณดวยการวัดเปน ตัวเลข เชน รอยละ สัดสวน จํานวน และการวัดเชิงกระบวนการ เชน มีหรือไมมี เปนตน ประเภทของตัวชี้วัด 1. ตัวชี้วัดหลัก (Core Indicator) 10 ตัวชี้วัด หมายถึง ตัวชี้วัดที่เปนขอตกลงเบื้องตนของทุกโรงพยาบาลที่เขารวมโครงการฯ ที่จะนําไปผลักดัน โครงการไปสูเปาหมาย ดําเนินการเก็บขอมูล และเพื่อติดตามผล เพื่อแสดงถึงกระบวนการและผลผลิต และ ผลลัพธจากการดําเนินงานเพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (เอกสารในภาคผนวก) ประกอบดวย 1.1 ตัวชี้วัดพื้นฐาน (Basic Indicator) 3 ตัว หมายถึง ตัวชี้วัดที่แสดงผลการดําเนินการโดยภาพรวม ของแตละโรงพยาบาล และภาพรวมทั้งโครงการฯ ในประเด็นที่สําคัญ 3 ประเด็น คือ การไมสั่งยา เกินความจําเปน การสงเสริมการใชยาในบัญชียาหลัก และการลดการใชยาปฏิชีวนะในกรณีที่ไม จําเปน ตัวชี้วัดพื้นฐานนี้สามารถใชเปรียบเทียบกับขอมูลกับนานาชาติได 1.2 ตัวชี้วัดหลัก PLEASE 7 ตัว 2. ตัวชี้วัดรอง PLEASE 25 ตัวชี้วัด 2.1 ตัวชี้วัดรอง ในกุญแจ P 9 ตัว ซึ่งเปนตัวชี้วัดเชิงปริมาณที่สําคัญอยางยิ่ง เนื่องจาก PTC จะเปน กลไกสําคัญในการดําเนินการตามกุญแจสําคัญอื่นๆ เพื่อใหประสบผลสําเร็จในการดําเนินการใหเกิด การใชยาอยางสมเหตุผลในโรงพยาบาล
  • 12. 9 2.2 ตัวชี้วัดรอง ในกุญแจ L E A S E 16 ตัว เปนตัวชี้วัดเชิงกระบวนการ ผลผลิต หรือผลลัพธ ของการ ดําเนินการ ประกอบดวย 2.2.1 ตัวชี้วัดเรื่องฉลากยา (Label) 2 ตัว 2.2.2 ตัวชี้วัดการใชเครื่องมือ RDU (Essential RDU tools) 6 ตัว โดยเลือก 6 ตัวชี้วัดนี้ จากทั้งหมด 12 ตัว ดังตอไปนี้ - บัญชียาโรงพยาบาล (Formulary) 1 ตัว - กลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง 6 กลุม (Es) 7 ตัว - การใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบ (RUA) 4 ตัว 2.2.3 ตัวชี้วัดการสรางความตระหนักของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ 2 ตัว (Awareness) 2.2.4 ตัวชี้วัดการใชยาในผูปวยกลุมพิเศษ (Special population) 4 ตัว โดยเลือก 4 ตัวชี้วัด จากทั้งหมด 7 ตัว 2.2.5 ตัวชี้วัดดานการสงเสริมจริยธรรม (Ethics in prescription) 2 ตัว 3. ตัวชี้วัดเสริม หมายถึง ตัวชี้วัดที่แตละโรงพยาบาลอาจเลือกเพิ่มเติมจากตัวชี้วัดหลักและรอง จากรายการ ตัวชี้วัดกลุมโรคไมติดตอเรื้อรัง (Es) ตัวชี้วัดการใชยาปฏิชีวนะอยางรับผิดชอบ (RUA) ตัวชี้วัดการสรางความ ตระหนักของบุคลากรทางการแพทยและผูรับบริการ (A) และตัวชี้วัดการใชยาในผูปวยกลุมพิเศษ (S) ตาม ความสมัครใจและความพรอม ตามบริบทของแตละโรงพยาบาล จากคําแนะนําในแตละบทที่กลาวถึง หรือ โรงพยาบาลอาจไมเลือกตัวชี้วัดเสริมเลยก็ได 4. ตัวชี้วัดเฉพาะ หมายถึง ตัวชี้วัดที่โรงพยาบาลอาจเสนอเพิ่มเติม โดยที่ตัวชี้วัดที่เสนอเพิ่มไมมีอยูในรายการ ตัวชี้วัดหลัก ตัวชี้วัดรอง หรือตัวชี้วัดเสริม เปนตัวชี้วัดที่โรงพยาบาลเห็นความสําคัญ เปนอัตตลักษณของ โรงพยาบาล หรือไดดําเนินการไปแลวบางสวนหรือทั้งหมด หรือกําลังมีแผนดําเนินการเพื่อสงเสริมการใชยา อยางสมเหตุผล
  • 13. 10 ความถี่และผูรับผิดชอบในการเก็บขอมูลตัวชี้วัด การชี้แจงแนวทางการดําเนินการของโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลจัดขึ้นในวันที่ 9 มีนาคม 2558 จึงขอนับวันที่ 10 มีนาคม 2558 เปนวันเริ่มตนในการจัดเก็บตัวชี้วัดโครงการฯ ตัวชี้วัด ความถี่ ในการ วัด กําหนดการเก็บขอมูล กําหนดวันสง ขอมูล (โดยประมาณ) ผูรับผิดชอบ ตัวชี้วัด ผูประสานงาน RDU Indicator ตัวชี้วัด หลัก และ ตัวชี้วัด รอง 3 ภายในเดือนมีนาคม 2558 เก็บ ขอมูล 6 เดือนกอนดําเนิน โครงการ; ภายในเดือนสิงหาคม 2558 (ดําเนินการแลว 6 เดือน); ภายในเดือนกุมภาพันธ 2559 (ดําเนินการแลว 12 เดือน) พรอมเยี่ยม พูดคุยกับทาง โรงพยาบาล (โดย รพ.แมขาย +/- สวนกลาง) ทุกครั้ง 31 มีนาคม 2558; 31 สิงหาคม 2558; 29 กุมภาพันธ 2559 PTC คณะทํางาน บริหารโครงการฯ ตัวชี้วัด เสริม 3 ภายในเดือนมีนาคม 2558 เก็บ ขอมูล 6 เดือนกอนดําเนิน โครงการ; ภายในเดือนสิงหาคม 2558 (ดําเนินการแลว 6 เดือน); ภายในเดือนกุมภาพันธ 2559 (ดําเนินการแลว 12 เดือน) พรอมเยี่ยม พูดคุยกับ ทางโรงพยาบาล (โดย รพ.แม ขาย +/- สวนกลาง) ทุกครั้ง 31 มีนาคม 2558; 31 สิงหาคม 2558; 29 กุมภาพันธ 2559 PTC คณะทํางาน บริหารโครงการฯ ตัวชี้วัด เฉพาะ อยางนอย 2 ครั้ง ภายในเดือนมีนาคม 2558 เก็บ ขอมูล 6 เดือนกอนดําเนิน โครงการ; ภายในเดือน กุมภาพันธ 2559 (ดําเนินการ แลว 12 เดือน) 31 มีนาคม 2558; 29 กุมภาพันธ 2559 PTC คณะทํางาน บริหารโครงการฯ
  • 14. 11 แหลงขอมูล ตัวชี้วัดหลักสวนใหญสามารถเรียกทํารายงานไดจากฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสดานการรักษาพยาบาลและ ฐานขอมูลสําหรับการบริหารงานฝายเภสัชกรรม สําหรับโรงพยาบาลที่ใชโปรแกรม HosXP การดึงขอมูลจะ สามารถทําไดจากแฟมขอมูลผูปวย โรค ยา และหองปฏิบัติการ สําหรับโรงพยาบาลที่ใชโปรแกรมอื่นจะตอง ปรึกษาเจาหนาที่ฝายเทคโนโลยีสารสนเทศในการทํารายงานตามตัวชี้วัด ตัวชี้วัดบางตัวอาจตองดําเนินการเก็บ ขอมูลจากแฟมประวัติผูปวยหรือการสํารวจดวยแบบสอบถาม ความถูกตองของขอมูลตัวชี้วัด สําหรับตัวชี้วัดเชิงตัวเลข ความถูกตองของรายงานตามตัวชี้วัด ขึ้นอยูกับความถูกตองและความครบถวน ของขอมูลในฐานขอมูล การทบทวนเกณฑในการดึงขอมูลจากฐานขอมูลอิเล็กทรอนิกสซ้ํา และความเชี่ยวชาญของ ผูที่เก็บขอมูลจากแฟมประวัติผูปวย รวมถึงวิธีการเก็บขอมูลดวยแบบสอบถามเปนไปตามแนวทางที่กําหนด ขอจํากัดของตัวชี้วัดหลักและตัวชี้วัดรอง ตัวชี้วัดชุดนี้ ไมรวมการวัดผลลัพธดานคุณภาพชีวิตและดานเศรษฐศาสตรของการดําเนินโครงการ และไม ครอบคลุมทุกโรคและกลุมพิเศษทุกกลุม ไมรวมการสงเสริมการใชยาในรานยาหรือสถานบริการสาธารณสุข ประเภทอื่น วิธีการรวบรวมขอมูลตัวชี้วัด ในระยะแรกของการดําเนินงานโครงการฯ ใหเก็บขอมูลตามคูมือตัวชี้วัด ในกรณีที่ไมสามารถดึงรายงาน สําเร็จรูปได ใหบันทึกตัวตั้งและตัวหารตามสูตรคํานวณ หรือบันทึกจํานวน และการประเมินผลเชิงคุณภาพ โดยลง ขอมูลใน Excel file ซึ่งจะสามารถคํานวณคาตัวชี้วัดได ถาทางโรงพยาบาลสามารถคํานวณตัวชี้วัดไดจาก ฐานขอมูล ใหใสคาตัวเลขหรือจํานวนลงใน Excel file ไดเลยโดยไมตองใสตัวตั้งและตัวหารจากสูตร จะมีการ พัฒนาโปรแกรมรายงานสําเร็จรูปเพื่อทํารายงานตัวชี้วัดในระยะตอไป การใชขอมูลตัวชี้วัด ผูประสานงานตัวชี้วัดของโรงพยาบาลนําเสนอขอมูลจากตัวชี้วัด ตอ PTC ในการประชุมเปนระยะ พรอม กับขอมูลเพิ่มเติมเพื่อใหเกิดความเขาใจและสามารถวิเคราะห คนหาปญหาและหาแนวทางจัดการปญหาการใชยา ไมสมเหตุผลได เชน ขอมูลการวิเคราะหในรายละเอียดตามผูใหบริการหรือผูสั่งยา ตามสิทธิประกันสุขภาพของ ผูรับบริการ ตามกลุมอายุ หรือการทบทวนระบบการใหบริการดานยา ผูประสานงาน RDU Indicator ของโรงพยาบาลสงรายงานตัวชี้วัด (Excel file) พรอมกับขอมูลอื่นๆ ที่ จําเปน ทางอีเมลใหกับคณะทํางานบริหารโครงการฯ ตามกําหนดการที่ระบุไวขางตน
  • 15. 12 แหลงที่มาของตัวชี้วัด ตัวชี้วัดพัฒนาขึ้นสําหรับโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ภายใตกรอบแนวคิดกุญแจ สําคัญ 6 ประการ PLEASE โดยมีขั้นตอนดังนี้ 1. นักวิจัยทบทวนและรวบรวมตัวชี้วัด จากตัวชี้วัดเดิมของ สรพ. สปสช. และชุดตัวชี้วัดการใชยาอยางสม เหตุผลของประเทศไทย ไดรางตัวชี้วัด version 1 2. พิจารณาปรับ ลด และเพิ่มเติมโดยคณะทํางานบริหารโครงการฯ ไดรางตัวชี้วัด version 2 3. รับฟงความเห็นและขอเสนอแนะเบื้องตนตอจากโรงพยาบาลในสังกัด สปสช.เขต 1 ไดรางตัวชี้วัด version 3 4. รวบรวมตัวชี้วัดจากการพิจารณาคัดเลือกจาก 1) คณะทํางานพัฒนาคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดในระบบบริการสุขภาพ 2) คณะทํางานพัฒนาฉลากสําหรับยาที่จายในโรงพยาบาล 3) คณะทํางานจัดทําเครื่องมือในการสั่งใชยาอยางสมเหตุผลและการดูแลผูปวยกลุมพิเศษ 4) คณะทํางานเฉพาะกิจเพื่อจัดทําเครื่องมือจําเปนสําหรับการใชยาอยางสมเหตุผลและการดูแลผูปวย กลุมพิเศษ 5) คณะทํางานสงเสริมจริยธรรมและธรรมาภิบาลวาดวยการสงเสริมการขายยา 6) คณะทํางานบริหารโครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล 7) ผูทรงคุณวุฒิ 5. ทดลองเก็บขอมูล (pilot test) รับฟงความเห็นและขอเสนอแนะจากโรงพยาบาลที่ทําการทดลองเก็บ ขอมูลตัวชี้วัด 10 โรงพยาบาล ประกอบดวย โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ โรงพยาบาล สงขลานครินทร โรงพยาบาลเลิดสิน โรงพยาบาลขอนแกน โรงพยาบาลสมุทรปราการ โรงพยาบาลชุมแพ โรงพยาบาลพระยืน โรงพยาบาลบางบอ และโรงพยาบาลเชียงแสน 6. คัดเลือกและใหขอเสนอแนะตัวชี้วัด Es และ S โดยคณะทํางานพัฒนาเครื่องมือสงเสริมการใชยาอยางสม เหตุผล Version 4 7. คัดเลือกตัวชี้วัด โดยคณะทํางานบริหารโครงการฯ จนได Version 5 ตัวชี้วัดหลัก 10 ตัว และตัวชี้วัดรอง 25 ตัว 8. พัฒนาคูมือตัวชี้วัดและวิธีการคํานวณตัวชี้วัด
  • 16. 13  แผนการดําเนินงาน และกิจกรรมโครงการฯ ปงบประมาณ 2557 – 2560 1.จัดทําคูมือและตัวชี้วัดโครงการ และจัดประชุมชี้แจงและทําแผน รวมกัน 2.จัดทําแผนกับหนวยงานที่มีรวมลง นามบันทึกขอตกลง และดําเนินการ รวมกัน 3.วิเคราะห ประเมินสถานการณ ปจจุบันเกี่ยวกับระบบการดําเนินการ เพื่อสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ในโรงพยาบาลโดยใชแบบประเมิน ตนเองกอนการดําเนินการตาม ตัวชี้วัดที่กําหนด 4.โรงพยาบาลนําแนวทาง/ขอมูล/ เครื่องมือใน 6 กุญแจสําคัญไปปฏิบัติ 5.พัฒนาเครือขาย รพ.แยกตามภาค รวมกับโรงพยาบาลสังกัดอื่น 6.มี ก าร พั ฒน า ศั ก ย ภ าพ ก า ร ดําเนินการและแลกเปลี่ยนเรียนรูใน เครือขาย ในสวนกลางและพื้นที่ เพื่อ คนหา best practice 7.ถอดบทเรียน รูปแบบ (model) ของโรงพยาบาลสงเสริมการใชยา อยางสมเหตุผล ระยะที่ 1.3 โรงพยาบาลดําเนินการ ตามแนวทางโครงการและมีการ แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางเครือขาย และจากเครือขายสูสวนกลาง (พ.ย.57 – ก.ย.58) 1. มอบรางวัล 1.1 คัดเลือกโรงพยาบาลที่เปน best practice โดยคณะอนุกรรมการสงเสริม การใชยาอยางสมเหตุผลและลงพื้นที่โดย ทีมอนุกรรมการที่ไดรับมอบหมาย รวม ผูแทนจาก สรพ. 1.2 มอบรางวัลโรงพยาบาลสงเสริมการ ใชยาอยางสมเหตุผลที่รวมโครงการจาก ประธานกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ 2. สรางความยั่งยืนสูระบบงานปกติ 2.1 พัฒนาเครื่องมือการใชยาอยางสม เหตุผลสนับสนุนโรงพยาบาลอยาง ตอเนื่อง 2.2 พัฒนาตัวชี้วัดการใชยาสมเหตุผล เชื่อมโยงกับการรับรองคุณภาพ สถานพยาบาล 2.3 พัฒนาเครือขายเพื่อสงเสริมการใช ยาอยางสมเหตุผล ระยะที่ 1.4 ประเมินผล และ สรุปโครงการระยะที่ 1 (ก.ย. – พ.ย.58) มอบรางวัล และวางแผนการสราง ความยั่งยืนสูระบบงานปกติ 1. วิเคราะห ประเมินสถานการณ ปจ จุบั น เกี่ ย วกั บ ร ะ บ บก า ร ดําเนินการเพื่อสงเสริมการใชยา อยางสมเหตุผลในโรงพยาบาลโดย ใชแบบประเมินตนเองหลังการ ดําเนินการหรือตามตัวชี้วัดที่กําหนด เมื่อครบ 1 ป 2. สรุปโครงการ 1. พัฒนาโครงการฯ รวมกับ หนวยงานที่เกี่ยวของ 2. เสนอโครงการตอ คณะอนุกรรมการสงเสริมการใช ยาสมเหตุผล (4 เม.ย.57) ระยะที่ 1.1 พัฒนาโครงการ / เสนอโครงการตออนุกรรมการฯ (พ.ย. 2556 – เม.ย.2557) 1. ประชาสัมพันธ เชิญชวน โรงพยาบาลเขารวมโครงการ (พ.ค.- ส.ค.57) 2. พัฒนาเครื่องมือในการ ดําเนินการตาม 6 กุญแจสําคัญ (พ.ค. – ต.ค.57) 3. ประชุมชี้แจง สรางการมีสวน รวมในการดําเนินการตามแนวทาง (29-30 ต.ค.57) ระยะที่ 1.2 ประชาสัมพันธ โครงการและ/รับสมัคร รพ.นํา รอง /พัฒนาเครื่องมือสนับสนุน การดําเนินการ/ (เม.ย.– ต.ค.57) ระยะที่ 1 ปงบ 2557-2558 ระยะที่ 2 ปงบ 2559 ระยะที่ 3 ปงบ 2560 ขยายโครงการฯ ใหครอบคลุม โรงพยาบาลรัฐอื่น สถานบริการ สุขภาพอื่น เชน โรงพยาบาลรัฐ ในสังกัดตางๆ โรงพยาบาล เอกชน คลินิก รานยา
  • 17. 14  ผูรับผิดชอบโครงการ และหนวยงานที่เกี่ยวของ โครงการโรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (RDU hospital PLEASE) ไดรับความเห็นชอบ จากคณะอนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล ในการประชุมครั้งที่ 1/57 เมื่อวันที่ 4 เมษายน 2557 โดยมีสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาทําหนาที่เปนฝายเลขานุการ ในเวลาตอมา ไดจัดการประชุมหารือ โครงการฯ เพื่อกําหนดรายละเอียดการนําไปสูการปฏิบัติรวมกับผูเขารวมประชุมจากโรงพยาบาลตางๆ เชน โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ และโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง สาธารณสุข เปนตน และประชุมรวมกับผูแทนจากหนวยงานที่เขารวมรับผิดชอบโครงการฯ ไดแก สถาบันวิจัย ระบบสาธารณสุข (สวรส.) กลุมสถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (กสพท.) สํานักงานหลักประกันสุขภาพ แหงชาติ (สปสช.) สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน) (สรพ.) เครือขายโรงพยาบาลกลุม สถาบันแพทยศาสตรแหงประเทศไทย (UHOSNET) อนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ สํานักพยาบาล และการประกอบโรคศิลปะ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กลุมงานพัฒนาระบบสนับสนุนบริการ สํานักบริหาร การสาธารณสุข และสํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข  ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ โรงพยาบาลทุกระดับทั้งภาครัฐ (และเอกชน) มีระบบสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลอยางเปน รูปธรรม นําการใชยาอยางสมเหตุผลไปสูการปฏิบัติโดยผนวกไวในงานประจํา และมีการพัฒนาขึ้นเปน เครือขายโรงพยาบาลที่ปฏิบัติงานและเรียนรูรวมกันในการสงเสริมและสนับสนุนการใชยาอยางสมเหตุผล ซึ่ง นําไปสูการใชยาที่ใหประโยชนสูงสุดแกประชาชนผูรับบริการ ไมใชยาเกินความจําเปน คุมคา ปลอดภัย ลด ปญหาเชื้อดื้อยา เปนการใชยาที่สอดคลองกับหลักเกณฑดานเวชจริยศาสตร ตอบสนองตอนโยบายแหงชาติ ดานยา และนําไปสูการลดคาใชจายดานยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการที่ไมจําเปน โดยใหคุณภาพการ รักษาพยาบาลที่ดียิ่งขึ้น และเกิดความปลอดภัยดานยา ประชาชนมีความตระหนักรูตอคําวา “การใชยาอยางสมเหตุผล” มีความเขาใจที่ถูกตองตอยาที่ใช เกิดความรวมมือในการใชยา และสามารถใชยาเหลานั้นไดอยางถูกตอง และปลอดภัย รวมทั้งไมเรียกรองการ ใชยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการที่เกินความจําเปน เกิดความศรัทธาและเชื่อมั่นในการใชบริการจาก โรงพยาบาลที่ผานเกณฑคุณภาพดานการใชยาอยางสมเหตุผล  สรุป การใชยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการที่เหมาะสมและกอปรดวยจริยธรรม เปนหนาที่และ มาตรฐานทางวิชาชีพของบุคลากรสาธารณสุข และเปนพันธกิจที่มีความสําคัญเปนอันดับตนของสถานพยาบาล ทุกแหง แตที่ผานมาปญหาการใชยาและการสงตรวจทางหองปฏิบัติการอยางไมสมเหตุผลยังไมไดรับการแกไข อยางเปนระบบ สงผลใหผูปวยไดรับยาเกินความจําเปน เสี่ยงตออันตรายจากยา กอปญหาเชื้อดื้อยาจนเขาสู ภาวะวิกฤต ทําใหผูปวย สถานพยาบาลและรัฐ สูญเสียคาใชจายโดยไมจําเปนเปนมูลคามหาศาล จนทําให ประเทศไทยมีรายจายดานยาตอคาใชจายดานสุขภาพสูงกวาประเทศที่พัฒนาแลวมากกวา 3 เทา5 โครงการ โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล (RDU Hospital PLEASE) เปนนวัตกรรมอัน เกิดขึ้นจากความรวมมือของผูเกี่ยวของทุกภาคสวนดวยความประสงคที่จะแกไขปญหาการใชยาและการสง ตรวจทางหองปฏิบัติการที่ไมสมเหตุผลอยางเปนรูปธรรม จนการใชยาอยางสมเหตุผลไดรับการยอมรับเปน วัฒนธรรมขององคกร และกลายเปนบรรทัดฐานทางสังคมในหมูประชาชนผูใชยา
  • 18. 15 การดําเนินงานของโครงการฯ ขับเคลื่อนผานกุญแจสําคัญเพื่อความสําเร็จ 6 ประการ (PLEASE) ซึ่ง ขอปฏิบัติตาง ๆ ผานการคัดกรองจากผูเชี่ยวชาญหลากหลายสาขาภายใตหลักฐานทางวิชาการที่เชื่อถือได รวมกับการประเมินและติดตามผลดวยตัวชี้วัดที่จัดทําขึ้นโดยกระบวนการวิจัยดานระบบสาธารณสุข สถานพยาบาลที่ดําเนินงานผานเกณฑจะไดรับการรับรองคุณภาพสถานพยาบาลในมาตรฐานการเปน “โรงพยาบาลสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล” จากสถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องคการมหาชน) และไดรับรางวัลเชิดชูเกียรติ นอกจากนั้นยังอาจไดรับงบประมาณสนับสนุนเพิ่มเติมจากหนวยงานที่เปน ผูใชบริการของสถานพยาบาล เชน สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ เปนตน ทายที่สุด ประโยชนสุขทั้งหลายจะตกแกประชาชนทุกหมูเหลา ในอันที่จะไดรับบริการทางการแพทย ที่มีคุณภาพ ซึ่งชวยสรางเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีแกประชาชนทุกคนโดยไมเลือกปฏิบัติ เอกสารอางอิงที่สําคัญ 1. คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ. นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. 2554 และยุทธศาสตรการพัฒนา ระบบยาแหงชาติ พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2554: 1-41. 2. พิสนธิ์ จงตระกูล. คําจํากัดความและกรอบความคิดในการใชยาอยางสมเหตุผล. ใน: คณะอนุกรรมการ พัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ. คูมือการใชยาอยางสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแหงชาติ เลม 1 ยาระบบ ทางเดินอาหาร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2552: ข1-38. 3. World Health Organization. Promoting rational use of medicines: core components. Geneva, 2002: 1-6. 4. พิสนธิ์ จงตระกูล. คําแนะนําทั่วไปเกี่ยวกับการใชยา. ใน: คณะอนุกรรมการพัฒนาบัญชียาหลักแหงชาติ. คูมือการใชยาอยางสมเหตุผลตามบัญชียาหลักแหงชาติ เลม 1 ยาระบบทางเดินอาหาร. กรุงเทพฯ: โรง พิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย, 2552: ข39-56. 5. พินิจ ฟาอํานวยผล, ปาณบดี เอกะจัมปกะ, นิธิศ วัฒนมะโน. ระบบบริการสุขภาพไทย ใน สุวิทย วิบุลผล ประเสริฐ, บรรณาธิการ. การสาธารณสุขไทย 2551-2553. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคการสงเคราะหทหาร ผานศึก, 2554: 233-318.
  • 19. 16 กุญแจดอกที่ 1 การสรางความเขมแข็งของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด ตั้งแตป ค.ศ. 2002 องคการอนามัยโลกไดชี้ใหเห็นถึงความสําคัญของการมีคณะกรรมการเภสัชกรรม และการบําบัด (Pharmacy and Therapeutics Committee: PTC) ที่เขมแข็ง ซึ่งเปนที่ยอมรับในประเทศที่ พัฒนาแลววาเปนกุญแจสําคัญในการสงเสริมใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผลขึ้นในโรงพยาบาลและเครือขายใน ขอบเขตการใหบริการของตน จึงชี้แนะใหรัฐบาลเกื้อหนุนโรงพยาบาลใหมีการจัดตั้งคณะกรรมการเภสัชกรรม และการบําบัดขึ้น โดยการกําหนดใหเปนเกณฑรับรองคุณภาพของสถานพยาบาล 1. องคประกอบของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด คณะกรรมการฯ ควรมาจากตัวแทนของทุกสาขาวิชาชีพที่เกี่ยวของกับระบบยาและการบําบัด ซึ่ง บุคคลเหลานี้ควรปฏิบัติหนาที่ไดโดยอิสระปลอดจากการบังคับบัญชา และตองเปดเผยผลประโยชนทับซอนที่มี (declare any conflict of interest) 2. บทบาทหนาที่และความรับผิดชอบของคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด จากการทบทวนและสํารวจบทบาทหนาที่ของคณะกรรมการฯ ที่สอดคลองกับการดําเนินการของ ประเทศไทย และจากการหารือในคณะทํางานพัฒนาคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัดในระบบบริการ สุขภาพ ไดมีมติใหคณะกรรมการฯ มีหนาที่และความรับผิดชอบดังนี้ 1. กําหนดและทบทวนนโยบายดานยาและการสั่งใชยา เพื่อพัฒนาระบบยาในภาพรวมของ โรงพยาบาลและสถานพยาบาลในเครือขาย 2. กําหนดมาตรการบริหารเวชภัณฑ ตั้งแตการจัดซื้อจัดหา การบริหารคลังยา ตลอดจนการสราง ความเชื่อมั่นในคุณภาพยาของโรงพยาบาล 3. จัดทําและปรับปรุงบัญชียาโรงพยาบาลที่เปนปจจุบัน และคัดเลือกดวยขอมูลที่เปนหลักฐานเชิง ประจักษที่นาเชื่อถือ 4. กําหนด/รับรองแนวเวชปฏิบัติ ที่ใชเปนแนวทางสําหรับการสั่งจายยาสําหรับผูสั่งใชยา† รวมถึง การกําหนดแนวทางการตรวจทางหองปฏิบัติการที่จําเปนและเหมาะสม เพื่อการติดตามการ รักษาและการใชยา 5. กําหนดนโยบายและกํากับดูแลใหมีการสั่งใชยาอยางสมเหตุผล โดยเฉพาะอยางยิ่งยาปฏิชีวนะ และยาที่มีคาใชจายสูง 6. มีระบบการจัดการดานยาเพื่อความปลอดภัยและกํากับติดตามอยางเปนรูปธรรม เชน ระบบการ จัดการความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication Error) พัฒนาระบบการปองกันการจายยาที่มี ปฏิกิริยาตอกันในคูที่หามใชรวมกัน (Drug Interaction) ระบบการติดตามอาการไมพึงประสงค จากการใชยา (Adverse Drug Reaction) และการปองกันการแพยาซ้ํา ระบบการจัดการยากลุม เสี่ยงสูง (High Alert Drug) และการประสานรายการยา (Medication Reconciliation) รวมถึง การใหขอมูลยาแกประชาชน 7. กําหนดมาตรการ พัฒนาระบบและกํากับติดตามเพื่อลดอิทธิพลจากการสงเสริมการขายยา กํากับ ติดตามการสั่งใชยาและใหขอมูลยอนกลับ (supervision, audit and feedback) แกผูสั่งใชยา เมื่อพบปญหาในการใชยา รวมทั้งการฝกอบรมบุคลากรเพื่อปองกันและแกไขปญหาที่เกิดขึ้น