SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
1
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
โดย รศ. ดร. ทิศนา
แขมมณี
2
ทฤษฎีการเรียนรู้ / การสอน
(THEORY)
 ข้อความรู้ที่พรรณนา/ อธิบาย/ ทำานาย
ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางการเรียนรู้/ การ
สอนที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการ
ยอมรับว่าเชื่อถือได้
 ทฤษฎีการเรียนรู้/ การสอน มักประกอบ
ด้วยหลักการย่อยๆ หลายหลักการ
 ทฤษฎีการเรียนรู้บางทฤษฎีเสนอทฤษฎี
การสอนควบคู่ไปด้วย
3
ตัวอย่าง ทฤษฎีการเรียนรู้/ การสอน
 พฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
 พุทธินิยม (Cognitivism)
 มนุษย์นิยม (Humanism)
 กระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล
(Information Processing Theory)
 พหุปัญญา (Theory of Multiple
Intelligences)
 การสร้างความรู้ (Constructivism)
 การสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructivism)
 การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative
4
หลักการเรียนรู้ – การสอน
(PRINCIPLE)
 ข้อความรู้ย่อยๆ ที่พรรณนา/ อธิบาย/
ทำานาย ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางการ
เรียนรู้/ การสอน ที่ได้รับการพิสูจน์
ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้
 หลักการหรือ ข้อความรู้ย่อยๆ หลาย
ประการ อาจนำาไปสู่การสร้างทฤษฎีได้
 หลักการย่อยๆ อาจนิรนัยมาจากทฤษฎี
5
ตัวอย่างหลักการเรียนรู้ – การสอน
หลักการเรียนรู้-การ
สอน - แบบเน้นตัวผู้เรียน
- แบบเน้นความรู้ความ
สามารถ
- แบบเน้นประสบการณ์
- แบบเน้นปัญหา
- แบบเน้นทักษะ
กระบวนการ
- แบบเน้นการเรียนรู้
ผ่านสื่อ เทคโนโลยี
ฯลฯ
- จากง่ายไปยาก
- จากรูปธรรมไป
นามธรรม
- จากประสบการณ์ตรง
- โดยการฝึกปฏิบัติ
- โดยให้เชื่อมโยงกับ
ชีวิตจริง
- โดยให้เชื่อมโยงกับ
ประสบการณ์เดิม
- โดยให้สอดคล้องกับ
6
วิธีสอน
(METHOD)
 วิธีการต่างๆ ที่นำามาใช้ในการสอน เพื่อช่วยให้
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีแต่ละวิธีมีวัตถุประสงค์
และลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกัน
 ลักษณะเด่นของแต่ละวิธี ก็คือลักษณะเฉพาะที่
ขาดไม่ได้ของวิธีนั้น หากขาดไป ก็จะ
ทำาให้ไม่ใช่วิธีนั้นอีกต่อไป เช่น ลักษณะเฉพาะ
ของวิธีสอนแบบสาธิตก็คือ การแสดง/การทำาให้
ดู หากไม่มีการทำาให้ดู ก็จะไม่ใช่วิธีสอนแบบ
สาธิต
 วิธีแต่ละวิธี มีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ เป็นวิธีที่จะ
7
วิธีสอนแบบต่างๆ
 บรรยาย (Lecture)
 สาธิต (Demonstration)
 ทัศนศึกษา (Field trip)
 อภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion)
 ละคร (Dramatization)
 บทบาทสมมติ (Role Playing)
 กรณีตัวอย่าง (Case)
 เกม (Game)
 สถานการณ์จำาลอง (Simulation)
 นิรนัย (Deduction)
 อุปนัย (Induction)
 ศูนย์การเรียน (Learning Center)
 บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed
Instruction)
8
วิธีสอนและ
วัตถุประสงค์
เกม
บรรยายสาธิต
ทดลอง
นิรนัย
อุปนัย
ทัศนศึกษาอภิปราย
กลุ่มย่อย
บทเรียนโปรแกรม
ศูนย์การเรียน
กรณีตัวอย่างละคร
บทบาทสมมติ
สถานการ
ณ์
จำาล
องวิธีสอน
ช่วยให้ผู้
เรียนจำานวน
มากเรียนรู้
เนื้อหาสาระ
จำานวนมาก
พร้อมกันใน
เวลาจำากัด
เห็นการ
ปฏิบัติ
จริง
ประจักษ์
ชัดด้วย
ตา
เห็นผลของ
การคิด
การกระทำา
ประจักษ์
ชัดเรียนรู้หลัก
การและนำา
หลักการไป
ใช้เรียนรู้จาก
ตัวอย่างเหตุกา
รณ์ย่อยๆ และ
จับหลักการของ
ตัวอย่างเหล่า
นั้นเรียนรู้จาก
ประสบการ
ณ์ตรงจาก
สภาพจริงเรียนรู้จาก
การมีส่วน
ร่วมอย่างทั่ว
ถึงแลก
เปลี่ยนความ
รู้และ
ผู้เรียนราย
บุคคลเรียนรู้
ตามความ
สามารถ โดย
อาศัยสื่อบท
เรียนที่ได้รับ
การออกแบบ
ให้ผู้เรียน
เรียนรู้เนื้อหา
สาระต่างๆ
ด้วยตนเอง
โดยการผลัด
เปลี่ยนกัน
เข้าศึกษา
ค้นคว้าตาม
ศูนย์การเรียน
ต่างๆ
ฝึกฝนการเผชิญ
และแก้ปัญหา ฝึก
การวิเคราะห์ และ
เรียนรู้ความคิด
และมุมมอง
ของผู้อื่น
ช่วยให้เรื่อง
ราว/ สาระมี
ชีวิต เห็น
ประจักษ์ชัด
ด้วยตา
เรียนรู้การเอาใจ
เขามาใส่ใจเรา
ช่วยให้เข้าใจ
ความรู้สึกและ
พฤติกรรมของตน
และของผู้อื่น
เรียนรู้ความเป็น
จริงของ
สถานการณ์ที่มี
ความซับซ้อน
ฝึกการ
เอาชนะ
อุปสรรค
อย่าง
สนุกสนาน
และ
ท้าทาย
9
รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียน
การสอน
รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน
(Teaching/Instructional Model) คือ แบบแผน
การดำาเนินการสอนที่ได้รับการจัดเป็นระบบ อย่าง
สัมพันธ์สอดคล้องกับทฤษฎี/หลักการเรียนรู้หรือ
การสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และได้รับการพิสูจน์
ทดสอบ ว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียน
เกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น
แบบแผนการดำาเนินการสอนดังกล่าว ประกอบ
ด้วย ทฤษฎี/หลักการที่รูปแบบนั้นยึดถือ และ
กระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะ อันจะนำาผู้เรียน
ไปสู่จุดมุ่งหมายเฉพาะที่รูปแบบนั้นกำาหนด ซึ่งผู้
สอนสามารถนำาไปใช้เป็นแบบแผนหรือแบบอย่าง
10
รูปแบบการสอนต่างๆ
บบที่เน้นด้านพุทธพิสัย
ncept Attainment Model
gne’ Model
mory Model
รูปแบบที่เน้นด้านจิตพิสัย
•Krathwohl’s Model
•Jurisprudentail Model
•Role Playing Model
รูปแบบที่เน้นด้านทักษะพ
•Sympson’s Model
•Harrow’s Model
•Dave’s Model
บที่เน้นทักษะกระบวนการ
up Investigation Model
ctive Teaching Model
tive Thinking Model
ance’s Future Problem-Solving Model
รูปแบบที่เน้น
บูรณาการ
•Direct Instruction
Model
•Storyline Model
11
เทคนิคการสอน
 กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมขั้นตอนการสอน
วิธีสอน หรือ การดำาเนินการใดๆ เพื่อ
ช่วยให้การสอนมีคุณภาพ และ
ประสิทธิภาพมากขึ้น
 ตัวอย่าง เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจ
ใช้เทคนิค การยกตัวอย่าง การใช้คำาถาม
การใช้สื่อประกอบ เพื่อช่วยให้การ
บรรยายมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมาก
12
เทคนิคการสอนต่างๆ
 การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic
Organizer)
 การใช้คำาถาม (Questioning)
 การจัดกลุ่ม (Grouping)
 การสร้างแรงจูงใจ
(Motivation)
ฯลฯ
13
ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ
ฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบ
นิรนัย
นว / ยุทธศาสตร์การสอนให้หลักการเขียนเรียง
ความแก่ผู้เรียน แล้วให้ฝึก
เขียนให้ได้ตามหลัก
ระบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการ
สอน1.นำาเข้าสู่บทเรียน
2.ครูให้หลักการเขียนเรียง
ความที่ดีแก่ผู้เรียน
3.ผู้เรียนเลือกหัวข้อการเขียน
4.ผู้เรียนฝึกเขียนตามหลัก
5.ครูให้ข้อติชม และให้ข้อ
14
ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ
ฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบ
นิรนัย
นว / ยุทธศาสตร์การสอนให้หลักการเขียนเรียง
ความแก่ผู้เรียน แล้วให้ฝึก
เขียนให้ได้ตามหลัก
ระบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการ
สอน
วิธีสอน
(โดยใช้การ
บรรยาย)
1.นำาเข้าสู่บทเรียน
2.ครูให้หลักการเขียนเรียง
ความที่ดีแก่ผู้เรียน
3.ผู้เรียนเลือกหัวข้อการเขียน
4.ผู้เรียนฝึกเขียนตามหลัก
5.ครูให้ข้อติชม และให้ข้อ
วิธีสอน (โดย
การฝึกปฏิบัติ)เทคนิคการสอน
(ให้ข้อติชม
15
ษฎี / หลัก / แนวคิดการเรียนรู้แบบอุปนัย
ว / ยุทธศาสตร์การสอนให้ตัวอย่างเรียงความที่ดี
และไม่ดีแก่ผู้เรียน ให้ผู้เรียน
วิเคราะห์และสรุปเป็นหลัก
การเขียนเรียงความ และฝึก
ปฏิบัติการเขียน โดยใช้หลัก
นั้น
ะบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการสอน
1.นำาเข้าสู่บทเรียน
2.ครูให้ตัวอย่างเรียงความแก่ผู้
เรียนทั้งที่ดี และไม่ดี
3.ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกัน
วิเคราะห์ว่า เรียงความที่ตนได้
รับมีจุดดี จุดด้อย อย่างไร
4.ผู้เรียนนำาเสนอผลการวิเคราะห์
และสรุปหลักการเขียนร่วมกัน
5.ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และ
ฝึกเขียน ให้ได้ตามหลักการที่
16
ษฎี / หลัก / แนวคิดการเรียนรู้แบบอุปนัย
ว / ยุทธศาสตร์การสอนให้ตัวอย่างเรียงความที่ดี
และไม่ดีแก่ผู้เรียน ให้ผู้เรียน
วิเคราะห์และสรุปเป็นหลัก
การเขียนเรียงความ และฝึก
ปฏิบัติการเขียน โดยใช้หลัก
นั้น
ะบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการสอน
วิธีสอน
(อภิปรายกลุ่ม
ย่อย)
1.นำาเข้าสู่บทเรียน
2.ครูให้ตัวอย่างเรียงความแก่ผู้
เรียนทั้งที่ดี และไม่ดี
3.ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกัน
วิเคราะห์ว่า เรียงความที่ตนได้
รับมีจุดดี จุดด้อย อย่างไร
4.ผู้เรียนนำาเสนอผลการวิเคราะห์
และสรุปหลักการเขียนร่วมกัน
5.ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และ
ฝึกเขียน ให้ได้ตามหลักการที่
เทคนิค
(ให้ทำารูบริคส์
ประเมินผล
งานการเขียน)
17
ษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ คิด
ออกนอกกรอบ เพื่อไม่ให้ความ
คิดถูกจำากัดอยู่ในกรอบเดิม
ว / ยุทธศาสตร์การสอนใช้รูปแบบการสอน
SYNNECTICS ซึ่งเป็นรูปแบบ
การสอนเขียนอย่างสร้างสรรค์
ที่ใช้เทคนิคให้ผู้เรียนคิดออก
จากกรอบเดิมๆะบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการสอน
รูปแบบการ
เรียนการสอน
(Synnectics
Model)
1.การให้ผู้เรียนทำางานเขียน
ตามปกติ
2.การสร้างอุปมาแบบตรง
(Direct analogy)
3.การสร้างอุปมาบุคคล
(Personal analogy)
18
เทคนิคการสอนต่างๆ
 การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic
Organizer)
 การใช้คำาถาม (Questioning)
 การจัดกลุ่ม (Grouping)
 การสร้างแรงจูงใจ
(Motivation)
ฯลฯ
19
CO-OP LEARNING TECHNIQUES
 THINK-PAIR-SHARE : คิด-จับคู่ –แลกเปลี่ยน
 FORMULATE-SHARE-LISTEN-CREATE:
คิดหาคำาตอบเป็นรายบุคคล
เล่าให้เพื่อนฟัง
เพื่อนรับฟัง
อภิปรายหาคำาตอบร่วมกัน
 SAY AND SWITCH
คนที่1 แสดงความคิดเห็น
คนที่2 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อความคิดเห็นของ คน
ที่1 ต่อไปจึงแสดงความคิดเห็นของตน
คนที่1 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อความคิดเห็นของ คน
ที่2 ต่อไปจึงแสดงความคิดเห็นของตน
20
CO-OP LEARNING TECHNIQUES
 ROUND TABLE
คนที่1 เริ่มเขียนให้ข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นใน
กระดาษ แล้วส่งให้ คนที่2 ด้านซ้ายมือ
คนที่2 เขียนต่อจากคนที่ 1 ใช้ปากกาสีอื่น แล้วส่ง
ต่อไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน
 ROUND ROBIN
เหมือนกับ ROUND TABLE แต่ใช้การพูดแทน
การเขียน
คนที่ 1 นำาเสนอข้อมูล/ ความคิดเห็น ด้วยวาจา แก่
คนที่ 2 ซึ่งอยู่ถัดไป
(ต่อ)
21
CO-OP LEARNING TECHNIQUES
 CORNERS
- ครูกำาหนดประเด็นอภิปรายที่แตกต่างกันในหัวข้อเรื่อง
เดียวกัน ติดไว้ที่มุมต่างๆ ความเหมาะสม โดยอาจมี
คำาถามเสริมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนคิดค้นได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
- ผู้เรียนเลือกเข้ามุมอภิปรายที่ตนสนใจ
- ผู้เรียนจับคู่อภิปราย และร่วมกันตอบคำาถามเสริม ซึ่ง
ครูจัดไว้ให้ตามมุม
- ครูสุ่มสมาชิกจากมุมต่างๆ มารายงานผล
 GRAFFITI
- แบ่งกลุ่มย่อย
- สมาชิกกลุ่มย่อยได้รับกระดาษ และปากกาเมจิก
- ครูให้คำาถามที่แตกต่างกันแต่ละกลุ่ม
(ต่อ)
22
CO-OP LEARNING TECHNIQUES
 JIGSAW
- COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP)
แจกงานและสื่ออุปกรณ์
- EXPERT GROUP
ศึกษา
- COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP)
สอนและตรวจสอบ
 FISH BOWL
- จัดกลุ่มให้นั่งเป็นวงกลม 2 วงซ้อน จำานวนสมาชิกเท่า
กัน
- ให้คนวงนอกจับคู่สังเกตคนวงใน
- ให้วงในอภิปรายแสดงความคิดเห็น คนวงนอก สังเกต
และบันทึก ความคิดเห็นและพฤติกรรมของคู่ที่ตนสังเกต
- เมื่อวงในอภิปรายเสร็จ ให้เปลี่ยนที่ให้คนวงนอกเข้ามา
นั่งแทน
- คนวงนอกที่เข้ามาเป็นคนวงใน ให้ข้อสังเกตและแสดง
ความคิดเห็นต่อการอภิปรายของคนที่ตนสังเกต
(ต่อ)
23
เทคนิคการจัดกลุ่มอภิปราย
 แบบสัมมนา (seminar)
 แบบซิมโปเซียม (symposium)
 แบบปฏิบัติ (workshop)
 แบบนอมินัล (nominal group)
 แบบปุจฉา-วิสัชนา (questioning-
answering)
 แบบเป็นคณะ (panel)
 แบบกันเอง (informal) แบบจับเข่าคุยกัน
(knee group)
 แบบโต๊ะกลม (round table)
 แบบระดมสมอง (brainstorming)
 แบบซินดิเคท (syndicate)
 แบบฟิลลิป 66 หรือ กลุ่มหึ่ง (Phillip 66 or
Buzz group)
24
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
 เทคนิค CARD SORTING
– ให้ข้อมูล
– แจก CARD ให้แต่ละคนเขียนว่า เห็นด้วย
ไม่เห็นด้วยกับข้อมูลเพราะอะไร
– รวบรวม CARD
– อ่าน CARD
– จัดกลุ่ม CARD ที่มีความเห็นคล้ายกันไว้
ด้วยกัน แล้วประมวลเหตุผล
25
เทคนิคการรวบรวมข้อมูล
(ต่อ)
 เทคนิค POST BOX
– ตั้งกล่องเรียงไว้ตามจำานวนคำาถาม
– ให้คำาถาม แจกกระดาษจำานวนแผ่นเท่า
จำานวนคำาถาม
– แต่ละคนเขียนตอบคำาถามในกระดาษ 1
แผ่น ต่อคำาถาม
– นำากระดาษคำาตอบไปใส่กล่องประจำา
คำาถามนั้น
26
เทคนิคสัญญาณเงียบ
(THE QUIET SIGNAL)
 Hands up! (stop talking,
stop doing)
 Look
 Listen
 Signal others
ฯลฯ
27
ผังกราฟิก
(GRAPHIC ORGANIZER)
 ผังกราฟิก เป็นแผนผังที่ใช้เส้น เครื่องหมาย
สัญญาลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพ สี
ตัวเลข อักษร คำา ข้อความ แสดงความเชื่อม
โยงของสาระ/ความคิดต่างๆ ที่ต้องการสื่อ
 ผังกราฟิก เป็นเครื่องมือทางการคิด ช่วย
ทำาให้ความคิดที่เป็นนามธรรมอยู่ในสมอง
สามารถแสดงออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม
และเกิดความชัดเจนขึ้น
 ผังกราฟิก เป็นเครื่องมือที่ช่วยประมวลและ
28
ผังกราฟิกแบบต่างๆ
 ผังความคิด (mind map)
 ผังมโนทัศน์ (concept map)
 ผังแมงมุม (spider map)
 ผังก้างปลา (fishbone map)
 ผังลำาดับขั้นตอน (sequential map)
 ผังวัฏจักร (circle/ cyclical map)
 ผังวงกลมซ้อน หรือ เว็นน์
ไดอะแกรม(Venn diagram)
 ผังวีไดอะแกรม (Vee diagram)
 ผังพล็อตไดอะแกรม (Plot diagram)
29
ผังความคิด
(MIND MAP)
ผังแสดงความสัมพันธ์ของสาระหรือความคิดต่างๆ
ให้เห็นเป็นโครงสร้างในภาพรวม โดยใช้เส้น ลูกศร
เครื่องหมาย สัญลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพ สี คำา
ข้อความ แสดงความหมายและความเชื่อมโยงของความ
คิด/ สาระนั้นๆ
ตัวอย่างผัง
ความคิด
30
ผังมโนทัศน์
(CONCEPT MAP)
ผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์หรือความ
คิดรวบยอดใหญ่ และมโนทัศน์ย่อยๆ อย่างเป็นลำาดับขั้น
โดยใช้เส้นเชื่อมโยงตัวอย่างมโน
ทัศน์
แผนภาพผังมโนทัศน์เรื่องสัตว์
สัตว์
(animal)
สัตว์
(animal)
สัตว์เลื้อยคลาน
(reptile)
สัตว์เลื้อยคลาน
(reptile)
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
(mammal)
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
(mammal)
แมลง
(insect)
แมลง
(insect)
สุนัข
(dog)
สุนัข
(dog)
หมี
(bear)
หมี
(bear)
ปลาวาฬ
(whale)
ปลาวาฬ
(whale)
หมีดำา
(bear)
หมีดำา
(bear)
หมีโพลา
(polar bear)
หมีโพลา
(polar bear)
หมึกริชลี่
(grizzly bear)
หมึกริชลี่
(grizzly bear)
31
ผังแมงมุม
(SPIDER MAP)
ผังแสดงมโนทัศน์ ซึ่งมีลักษณะคล้ายใยแมงมุม
ตัวอย่างผัง
แมงมุม
การวัด
แผนภาพผังแมงมุมเรื่องการวัด
ความย
าว
พื้นที่
ทิศ
แผนผัง
และ
เวลา
การชั่ง
รูป รูป
ทรง
ปริมาต
ร
เงิน การ
ตวง
32
ผังก้างปลา
(FISHBONE MAP)
ผังแสดงปัญหา และสาเหตุที่ทำาให้เกิดปัญหา ทั้ง
สาเหตุหลักและสาเหตุย่อย มีลักษณะคล้ายหัวปลาและ
ก้างปลาตัวอย่างผังก้าง
ปลา
นักเรียนประพฤติผิด
ระเบียบวินัย
นักเรียนประพฤติผิด
ระเบียบวินัย
แผนภาพผังก้างปลาหาสาเหตุของการประพฤติผิด
นักเรียนนักเรียน ครูครู
พ่อ-แม่พ่อ-แม่ ระเบียบของโรงเรียนระเบียบของโรงเรียน
ยาก
จน
สอนลูก
ไม่ได้
ตามใจ
ลูก
ไม่มี
เวลา
ดูแล
หยุมหยิ
ม
ระเบียบมาก
เกินไป
ระเบียบล้า
สมัย
ถูก
เพื่อนยุ
ตาม
เพื่อน
อยู่กับ
คนอื่น
ธรรมชาติของเด็ก
ย่างเข้าวัยรุ่น
มีความสุขที่
ทำาผิด
ไม่ลง
โทษ
จริงๆบางคนเข้มงวดบาง
คนละเลย
ตักเตือนไม่
สมำ่าเสมอ
ไม่เข้ม
งวด
33
ผังวัฏจักร
(CIRCLE/ CYCLICAL MAP)
ผังแสดงลำาดับขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันเป็นวงจร ไม่มีที่
สิ้นสุดตัวอย่างผัง
วัฏจักร
ประสบก
ารณ์รูป
ธรรม
การสร้าง
แนวคิด มโน
ทัศน์ หรือหลัก
การ
แผนภาพผังวัฏจักรการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning Cycle) ของ
ความคิด/หลักการ
ที่จะนำาไปทดสอบ/
ใช้ในสถานการณ์
ใหม่
การสังเกต การ
สะท้อน การคิด
การสืบสอบ
34
ผังวงกลมซ้อน
(VENN DIAGRAM)
ผังวงกลม 2 วงหรือมากกว่าที่มีส่วนหนึ่งซ้อนทับ
กันอยู่ ทำาให้เห็นส่วนที่เป็นความเหมือน และความแตก
ต่างกัน
ตัวอย่างผัง
วงกลมซ้อน
แผนภาพผังแสดงความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์ 3 ด้าน ของ
ด้าน
เจตคติ
(Affective)
ด้านทักษะ
(Psychomotor)
ด้านความ
รู้
(Cognitive)
35
ผังวีไดอะแกรม
(VEE DIAGRAM)
ผังรูปตัว V แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับวิธี
การ ในการศึกษาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ตัวอย่างผังวี
เว็นน์ไดอะแกรม
แผนภาพโครงสร้างของแผนผังรูปตัววี ของโกวิน (Novok
ความคิด
(Conceptual)
ทฤษฎี:
(Theory)
หลักการ
(Principle)
มโนทัศน์
(Concepts)
เหตุการณ์
และ/หรือวัตถุ
(Events/ Objects)
คำาถามสำาคัญ
(Focus Questions)
วิธีการที่ทำาให้ได้มา
ซึ่งความรู้
(Methodological)
ข้อความรู้ที่ได้:
(Knowledge Claims)
การแปลงข้อมูลหรือการ
จัดกระทำาข้อมูล
(Transformation)
การบันทึกข้อมูล
(Records)
36
ผังพล็อตไดอะแกรม
(PLOT DIAGRAM)
ผังแสดงการดำาเนินเรื่อง จากการเริ่มต้น ไปสู่จุด
ยอด (CLIMAX) ของเรื่อง และคลี่คลายไปสู่บทสรุปของ
เรื่อง เป็นผังที่ช่วยในการอ่าน
ตัวอย่างผังพล็อต
ไดอะแกรม
แผนภาพผังพล็อตไดอะแกรม (Plot Diagram)
จุดยอด
บทนำา บท
สรุป
37
เทคนิคการนำาเสนอข้อมูล
 การนำาเสนอข้อมูลในรูปตาราง
 การนำาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ
ภาพ
 การนำาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ
วงกลม
 การนำาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ
แท่ง
38
เทคนิคหมวกคิด 6 ใบ
(SIX THINKING HATS)
เทคนิคในการช่วยให้บุคคลคิดอย่าง
รอบคอบ ในหลายๆ ด้าน
หมวกขาว แทนข้อเท็จจริง ข้อมูล ที่เป็นที่จริง
และเป็นที่ยอมรับ
หมวกแดง แทนอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ เช่น
ชอบ-ไม่ชอบ พอใจ-ไม่พอใจ สงสัย กลัว
หมวกดำา แทนความคิดทางลบ จุดด้วย จุดบกพร่อง
ข้อผิดพลาด ผลเสีย
หมวกเหลือง แทนสิ่งดี สิ่งถูกต้อง สิ่งที่เป็น
ประโยชน์ มีคุณค่า สร้างสรรค์
39
เทคนิคการคิดไตร่ตรอง
 Self Questioning ถามตนเอง
 Self Talk พูดกับตนเอง
 Learning Log
– บันทึกการเรียนรู้
– บันทึกส่วนตัว
– บันทึกสาระเฉพาะ
– บันทึกแลกเปลี่ยนข้อมูล
– บันทึกบันทึกสองทาง
40
เทคนิคการคิดสร้างสรรค์
 การมองต่างมุม ต่างมิติ (มองภาพแนวนอน-แนว
ตั้ง)
 การมองมุมตรงกันข้าม (คิดจาก มี-ไม่มี ซ้าย-
ขวา ดำา-ขาว)
 คิดเชื่อมโยงกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคย (หมอนหนุน-
หมอนใส่ของ)
 การคิดหาทางลัด (สู่เป้าหมาย)
 การขยายขอบเขตความเป็นไปได้
(น.ส.พ.ใช้ประดิษฐ์อะไรได้)

41
เทคนิคการคิดสร้างสรรค์
(ต่อ)
 การสร้างภาพ/ จินตนาการ ที่ไม่เคยคิด/
ทำา
 จำากัดเวลาคิด
 ให้คิดเร็วๆ
 เทคนิค Gordon
– การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง
(direct analogy)
– การเปรียบเทียบตนเองกับสิ่งอื่น
(personal analogy)
42
เทคนิคการสังเกต
SCUMPS
SSize สังเกตขนาด
CColor สังเกตสี
UUse สังเกตการใช้
ประโยชน์
MMaterials สังเกตวัสดุ
PParts สังเกตส่วนประกอบ
SShape สังเกตรูปร่างสัณฐาน
43
เทคนิคการสังเกต
BLACK BOX
 เอาของใส่กล่องดำา มองไม่
เห็นสิ่งของที่อยู่ข้างใน
 ให้ยกกล่อง แล้วทายว่ามี
อะไรในกล่อง
44
เทคนิคการใช้คำาถามเทคนิคการใช้คำาถาม
กระตุ้นการคิดกระตุ้นการคิด
45
Taxonomic Thinking: Bloom’s Taxonomy
Bloom's Original Taxonomy
(1956)
Anderson' Revised Taxonomy
(1999)
Knowledge Remembering
Comprehension Understanding
Application Applying
Analysis Analyzing
Synthesis Evaluation
Evaluation Creating
46
The Revised Bloom’s Taxonomy
Remembering
Recognize, list, describe, identify, retrieve, name ...
Can the student RECALL information?
Understanding
Interpret, exemplify, summarise, infer, paraphrase …
Can the student EXPLAIN ideas or concepts?
Applying
Implement, carry out, use …
Can the student USE the new knowledge in another familiar situation?
Analyzing
Compare, attribute, organize, deconstruct …
Can the student DIFFERENTIATE between constituent parts?
Evaluation
Check, critique, judge, hypothesise…
Can the student JUSTIFY a decision or course of action?
Creating
Design, construct, plan, produce…
Can the student GENERATE new products, ideas or ways of viewing things?
47
Taxonomic Thinking: Revised Bloom’s Taxonomy
Description
Remembering (Recall)  Recognize  Describe  Retrieve
 List  Identify  Name
Understanding (Explanation)  Interpret  Summarise  Paraphrase
 Exemplify  Deduce  Conceptualise
Applying (Use)  Implement  Use  Trial
 Carry out  Employ  Experiment
Analyzing (Differentiate)  Compare  Attribute  Deconstruct
 Infer  Organize  Dissect
Evaluation (Justification)  Check  Judge  Assess
 Critique  Hypothesise  Review
Creating (Generate)  Design  Plan  Invent
 Construct  Produce  Initiate
48
Socratic Questioning
Type of Questioning Generic Example
Support questioning Can you give us more information to support your
idea or proposal?
Source questioning Could there be other more appropriate and useful
sources of information?
Conflict questioning How might people who do not support your idea or
proposal influence the outcome?
Consequence questioning What might be the consequences of your idea or
proposal now and in the future?
49
Directed thinking
Why YES? What are the good points of an idea,
regardless of how you might feel
about it?
Why NO? What are the negative aspects of the
idea, regardless of how you may feel
about it?
Why WAIT? What other alternatives and
possibilities are there to be
discovered?
What ELSE?
What other information might be
needed before we judge an idea?
Way to GO!
How might you chosen idea or course
of action?


??
50
Posing Questions at Different Levels of Sophistication
(From Melvin Freestone)
Level of Sophistication Illustrative examples – Posing Questions
Focus on factual material
Engaging in explicit tasks, making observations from direct
experience, and trying things out.
Where did you get that from? Why do you like….? What is happening to …? What
will our design look like? What should we do …? How can we put it together?
What do we need to do…?
Focus on making simple connections
Discovering links, ‘arguing; about simple ideas, devising whys to
fine out more, carrying out orderly investigations, recording data,
and discovering ways to use ideas and information.
What is involved here? What can we do to investigate this…? How many different
things are affected by…? What steps do we need to take? Which of these
effects…? Why is … important? Can we explain how and why…? What does…
think about…?
Focus on searching for explanations
Considering future implications, showing concern about
consequences, gathering information systematically, planning
investigations, and using different thinking ‘tools’ appropriately.
What is needed here and why? How are we going to do this…? Which way is best to
investigate…? What are the critical elements in this situation…? Can we come up
with a ‘theory’ to explain…? Who has a stake or interest in…? Is it logical? What
is the most appropriate plan of attack? What kind of research skills will we need to
use or develop here?
Focus on searching for different combinations
Balancing options and possibilities, defining choices and particular
courses of action, showing concern for the quality of information,
seeking to control variable, identifying assumptions and exploring
how particular disciplines and real-life contexts inform thinking.
Are the questions sufficiently targeted for focused investigation…? What is the
primary question here and how does it relate to other questions that could be
asked? What is the order of priority here? Can we predict likely consequences from
the information we have? What implications does that have…? Which of the
possible actions is most desirable? What’s the best way to ‘brainstorm’ the
questions we could ask…?
Focus on exploring interrelationships
Examining assumptions, dealing with complex problems and
challenges, understanding and using ideas and strategies derived
from ‘disciplines’ of knowledge and experience, making balanced
judgements, and designing multi-faceted investigations.
Which question(s) is likely to generate a comprehensive investigation? What
processes will we use to generate questions? What factors and angles do our
questions need to encompass? In what ways can the questions we raised be
investigated…? What criteria shall we use to determine what is relevant and what
is irrelevant? What is the variety of interpretations of these questions…? Dose
everyone see it the same way…?
51
Scaffolding learning
(From Melina Freestone)
Strategic Direction
What is it like? FROM
How is it like it is? CONNECTION
Generative Question
IN WHAT WAYS CAN OUR COMMUNITY BE IMPROVED?
Examining PARTS  Are there any vested interests and how do they operate?
 Who has the power and how do they use it?
 What are the views of different stakeholders?
 How has the community operated in the part?
Envisaging WHOLES  What’s needed to improve or develop community relations?
 What priorities and future directions are being considered?
 How could things be done differently to the benefit of all?
Investigating COMPLEXITIES  How does the power and people dynamics operate?
 How do the decision-making processes and structures work?
 In what ways can and do people participate in activities?
 Is action needed to deal with issues that are blocking progress?
Extracting SIMPLICITIES  In what ways might the community be improved?
 Who will benefit?
52
Empathically Intelligent Thinking
(From Roselyn Arnold, Melvin Freestone)
Aspects Of Empathically Intelligent
Thinking
Generative Questions
A cognitively focused In what ways could the proposed housing development affect the
ecosystem in these wetlands?
A feeling focused How might the feelings of families and children be affected by the loss of
bird life from the wetland areas?
An emotion focused In what ways are different interest groups and stakeholders using the
emotions among the local community to advance their arguments?
An empathy focused How could we sympathise with and support the concerns of individuals
and groups within the local community?
An ethically focused How should the main players for and against the proposal exercise their
right to prote3st and influence the outcome?
53
Different Types of Thinking Through The Six Thinking Hats
(From Edward De Bono, Melvin Freestone)
Description Focus Features Overview
White hat FACTS Virgin white, pure facts,
figures and information
 Distinguishing parts
 Focusing questions
 Proving facts
 Establishing authenticity
Fact quest
Red hat EMOTIONS Seeing red, emotions and
feelings, hunches and
intuitions
 Exploring feelings
 Contemplating emotions
 Being personal
 Escaping logic
Emotions quest
Black hat JUDGEMENT Devil’s advocate, negative
judgement, why it will not
work
 Examining fit
 Pursuing errors
 Investigating limitations
 Identifying faults
Judegement quest
Yellow hat OPTIMISM Sunshine, brightness and
optimism, positive,
constructive
 Seeing value
 Considering benefits
 Generating proposals
 Seeking opportunities
Optimism quest
Green hat CREATIVITY Fertile, cre3ative, plants
springing from seeds,
movement and provocation
 Exploring alternatives
 Challenging ideas
 Moving forward
 Postponing judgement
Creativity quest
Blue hat REFLECTIVE Cool and controlled,
orchestration, thinking about
thinking
 Defining problems
 Monitoring processes
 Sequencing actions
 Summarising situations
Reflection quest
54
The SCAMPER for Solving Problems
(From Edward De Bono’s CoRT Skills)
Strategy Description Some Indicative Questions
S Substitute Substitute something different into the
system
Could you replace something with
something else?
C Combine Bring together and blend different
components or aspects
Could you combine things in different
ways?
A Adapt Adjust to another set of conditions or a
different purpose
Could you alter something to better
meet your purposes?
M Modify Change, magnify, reduce to enhance
attributes
Could you transform something to
improve it?
P Put to use Use for different purpose or in a different
context
Could you put it to another use or use it
in a different way?
E Eliminate Remove particular components and aspects Could you take something out to make it
work better?
R Reverse Change the order, sequence, layout or
scheme
Could you change the order of things or
chain of events?
55
CAMPER Asking Critical Questions
(From Michael Pohl)
Strategy Some Indicative Questions
C
Consequences
Consistency
 What are the consequences of believing this?
 How consistent is the information?
A
Assumptions
Accuracy
 What assumptions have been made here?
 How accurate is the date/information?
M
Meaning
Main Points
 What is the meaning of this?
 What is the main point here?
P
Prejudice
Point of view
 What prejudices are being shown here?
 What other points of view could be expressed?
E
Evidence
Examples
 What evidence is given to support the claims?
 What examples are given to back up claims?
R
Relevance
Reliability
 How relevant are the claims?
 How reliable is the source, writer, information?
56
Tactics of Undertaking Tasks and Actions
(From Melvin Freestone)
Understand emotions Emotions are involved in all our
thinking and often determine
how we act.
 How are emotions involved here?
 What’s dominating the atmosphere?
 To what extent are your emotions involved?
 Are there any games being played?
 How can the emotions be managed?
Try it out Trail and error enables you to
translate ideas into actions.
 What’s the idea you want to trial?
 Is it best-modelled in theory or in practice?
 What needs to be tested?
 How well does it work?
 What refinements can you make?
 Does it work better now?
Backtrack to go forward When you know what you want
sometimes you have to
backtrack to work out how to
get there.
 Where’s your ‘big idea’?
 Can you fill in the gaps between your ‘big idea’ and where you are now?
 Can you identify stages for realising your ‘big idea’?
 Are there any uncertainties in this plan?
 Are the risks worth taking?
Get organised Good organisation aids
efficiency and prevents
confusion.
 What could be grouped and what need to be kept separate?
 Are there alternative groupings available to you?
 Can you organise this systematically?
 Is anything causing difficulties?
 How can you provide and ongoing system for managing it?
Have clear purposes Purpose gives direction to
projects and activities.
 What need to be done?
 How can this be translated into action statements?
 Can an order of importance be established for the action statements?
 Are the purposes sufficiently different from each other?
Find new combinations Combining two or more ideas
often creates new things.
 What can you combine?
 What is the likely result of this combination?
 How does what happens differ from what is expected?
 How useful is it?
 Could you combine the ideas in other ways?
57
Tactics for Devising Alternatives and Innovations
(From Melvin Freestone)
Explore other views No two people view a situation the same
way.
 What views do other people hold?
 How are they different from your own?
 Why do they view the situation differently?
 What values and ideas are affecting their viewpoints?
 Is there any common ground?
Generate ‘crazy’ ideas Bringing in completely unconnected
material is often the springboard to
innovation.
 What would be an outrageous suggestion here?
 What is triggered by this input?
 Can you look at this idea from other angles?
 How can the ‘crazy’ idea help you in the situation you are facing?
Challenge ideas Ideas need to be challenged to see how
well they will work..
 Can you find ways to challenge these ideas?
 Will modifying them improve them?
 Must it be done this way?
 Are there better alternatives?
 Do they meet expectations?
Avoid blind alleys People are seldom wrong on purpose but
sometimes find themselves up a blind
alley.
 What’s making you feel uneasy?
 Have false generalizations been made?
 Are the facts wrong, mistaken or misinterpreted?
 Are fixed ideas causing a blind spot?
 What’s misleading you?
Search for alternatives There are many ways to accomplish
something.
 Are there other options worth pursuing?
 Where might they lead?
 Could it be done in a completely different way?
 Which options are likely to be useful or effective?
 Have you ‘left any stone unturned’?
Do it better Ideas and actions can always be refined
and improved.
 What can you target for improvement?
 What variables are involved?
 How can you determine their effects?
 What are the possibilities for improvement?
 How can this be achieved?
58
Tactics for Seeking Opportunities and Possibilities
(From Melvin Freestone)
Bridge the gap The best way to bridge the gap maybe
to create stepping-stone.
 What ideas and actions have potential?
 How can they be developed to bridge the gap?
 Do they allow you to move on?
 Are there other ways for getting there?
 Which stepping-stone are you going to use?
Identify opportunities Most of situations have opportunities
for people to engage in enterprising
activities.
 What are the opportunities here?
 Where might they lead to?
 Which is the best opportunity?
 How can you make the most of these opportunities?
 What ‘good’ can be achieved from doing this?
Brainstorm for inspiration Sometimes instant inspiration is needed
to make the most of a situation or to
remove blockages.
 What is the challenge?
 What ideas come into your mind immediately?
 Can you think up a range of options for exploration?
 Which ones deal with the challenge?
 Which ones are worth pursuing?
 Which ones could be used to produce solutions?
Consider all angles Examining things from every angle
helps you find workable ideas.
 What is positive here?
 What is negative here?
 What else have possibilities?
 Can you translate the possibilities into workable ideas?
 Have all the implications been explored?
Find unlimited possibilities You often need to suspend judgement
in order to generate new ideas.
 What judgement need to be suspended?
 What new ideas could be used here?
 Which ones are worth trying out?
 Which of these possibilities is likely to work well?
 Can you decide which one you will use?
Guess the solution If ideas and information are incomplete
sometimes you have to guess.
 Can you guess what you can do or what will happen?
 Does it work?
 Is there anything else you can do?
 Do you need to make a better guess?
 Do you need to start somewhere else?
59
Tactics for Addressing Difficulties and Conflicts
(From Melvin Freestone)
Make it work You can adjust things to make
them work..
 How well are you ideas and actions working?
 What needs to be improved?
 How could you achieve this?
 Is the result satisfactory?
 Is a completely different approach needed?
Unearth the blockage Some things stop people from
thinking clearly and deflect their
thoughts in unproductive ways.
 Can you detect any blockages?
 What are they?
 Are any stereotypes, clichés, prejudices or ‘official’ opinions getting in the way?
 What needs to be done to eliminate the blockage?
 What benefits are likely to accrue?
Get it right You need to know when
something is right and then leave
it alone.
 How well is it working?
 Does it need more work?
 What do others think?
 Is there value in future improvements?
 Should you leave it alone?
Determine its worth It is useful to pinpoint the worth of
an idea or action.
 What are the ideas or actions intended to do?
 How well do they meet specified requirements?
 What is their appeal?
 Are they efficient, effective and reliable?
Assess contradictions Contradictions in ideas and
actions often reveal areas for
modification, improvement and
re-development.
 What things don’t seem to be right?
 Do they have and opposite effect to what is intended?
 How significant is this effect?
 Can it be removed or transformed?
 What are the possibilities for changing it?
Resolve conflicts Sometimes people have
conflicting ideas about how to do
things or negative feelings about
their role.
 Are there any conflicts?
 What are they about?
 What are the ideas, issues and emotions involved?
 Who are the key players?
 How can you encourage collaboration and negotiation?
 What’s needed to create a ‘win-win’ outcome?
60
ข้อพึงระวังในการถาม
 มีเป้าหมายที่ชัดเจนในการถาม
 รู้ Direction/ Strategy ในการนำา
ผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
 ข้อคำาถามไม่กว้างเกินไป
 ให้เวลาในการคิดตอบคำาถาม
 ไม่ถามเอง ตอบเอง
 ฟังคำาตอบตรวจสอบความเข้าใจ
ไม่ด่วนตัดสินคำาตอบ
 ปรับคำาถามให้เหมาะสมกับระดับ
ของผู้เรียน
 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนถาม

More Related Content

What's hot

21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่พัน พัน
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 

What's hot (20)

21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 

Viewers also liked

9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษาWatcharin Chongkonsatit
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2pantapong
 
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A BrickCreative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A BrickSandy Cormack
 
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - TuentiII Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - TuentiPromálaga
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีMuhamadkamae Masae
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
Techniques of creative thinking
Techniques of creative thinkingTechniques of creative thinking
Techniques of creative thinkingPranav Kumar Ojha
 
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)pantapong
 

Viewers also liked (14)

9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2Innovation journey 20150402 07 day#2
Innovation journey 20150402 07 day#2
 
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A BrickCreative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
Creative Thinking Techniques - Forty Uses For A Brick
 
Makabayan
MakabayanMakabayan
Makabayan
 
main Map
main Mapmain Map
main Map
 
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - TuentiII Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
II Jornadas I+D+i Promalaga - Icaro Moyano - Tuenti
 
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณีเทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
เทคนิคหรือวิธีการสอนจากครู ทิศนา แขมณี
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
Techniques of creative thinking
Techniques of creative thinkingTechniques of creative thinking
Techniques of creative thinking
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
Innovation & NPD by TRIZ citu (20120714)
 

Similar to รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนkittitach06709
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
เบญ
เบญเบญ
เบญben_za
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยJo Smartscience II
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้าfa_o
 

Similar to รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี (20)

รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอนเทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
อาม
อามอาม
อาม
 
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ ครูผู้ช่วย
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้า
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 

More from Parichart Ampon

ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลีตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลีParichart Ampon
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนParichart Ampon
 
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านParichart Ampon
 
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรนำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรParichart Ampon
 

More from Parichart Ampon (6)

ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลีตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
ตัวอย่างแผนการสอนอ.สำลี
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
The classroomflip
The classroomflipThe classroomflip
The classroomflip
 
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้านการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
การเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน
 
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียรนำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
นำเสนอโรงเรียนบ้านกุดเสถียร
 

รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี

  • 2. 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ / การสอน (THEORY)  ข้อความรู้ที่พรรณนา/ อธิบาย/ ทำานาย ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางการเรียนรู้/ การ สอนที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการ ยอมรับว่าเชื่อถือได้  ทฤษฎีการเรียนรู้/ การสอน มักประกอบ ด้วยหลักการย่อยๆ หลายหลักการ  ทฤษฎีการเรียนรู้บางทฤษฎีเสนอทฤษฎี การสอนควบคู่ไปด้วย
  • 3. 3 ตัวอย่าง ทฤษฎีการเรียนรู้/ การสอน  พฤติกรรมนิยม (Behaviorism)  พุทธินิยม (Cognitivism)  มนุษย์นิยม (Humanism)  กระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory)  พหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences)  การสร้างความรู้ (Constructivism)  การสร้างสรรค์ชิ้นงาน (Constructivism)  การเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative
  • 4. 4 หลักการเรียนรู้ – การสอน (PRINCIPLE)  ข้อความรู้ย่อยๆ ที่พรรณนา/ อธิบาย/ ทำานาย ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางการ เรียนรู้/ การสอน ที่ได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ และการยอมรับว่าเชื่อถือได้  หลักการหรือ ข้อความรู้ย่อยๆ หลาย ประการ อาจนำาไปสู่การสร้างทฤษฎีได้  หลักการย่อยๆ อาจนิรนัยมาจากทฤษฎี
  • 5. 5 ตัวอย่างหลักการเรียนรู้ – การสอน หลักการเรียนรู้-การ สอน - แบบเน้นตัวผู้เรียน - แบบเน้นความรู้ความ สามารถ - แบบเน้นประสบการณ์ - แบบเน้นปัญหา - แบบเน้นทักษะ กระบวนการ - แบบเน้นการเรียนรู้ ผ่านสื่อ เทคโนโลยี ฯลฯ - จากง่ายไปยาก - จากรูปธรรมไป นามธรรม - จากประสบการณ์ตรง - โดยการฝึกปฏิบัติ - โดยให้เชื่อมโยงกับ ชีวิตจริง - โดยให้เชื่อมโยงกับ ประสบการณ์เดิม - โดยให้สอดคล้องกับ
  • 6. 6 วิธีสอน (METHOD)  วิธีการต่างๆ ที่นำามาใช้ในการสอน เพื่อช่วยให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ วิธีแต่ละวิธีมีวัตถุประสงค์ และลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์แตกต่างกัน  ลักษณะเด่นของแต่ละวิธี ก็คือลักษณะเฉพาะที่ ขาดไม่ได้ของวิธีนั้น หากขาดไป ก็จะ ทำาให้ไม่ใช่วิธีนั้นอีกต่อไป เช่น ลักษณะเฉพาะ ของวิธีสอนแบบสาธิตก็คือ การแสดง/การทำาให้ ดู หากไม่มีการทำาให้ดู ก็จะไม่ใช่วิธีสอนแบบ สาธิต  วิธีแต่ละวิธี มีวัตถุประสงค์เฉพาะ คือ เป็นวิธีที่จะ
  • 7. 7 วิธีสอนแบบต่างๆ  บรรยาย (Lecture)  สาธิต (Demonstration)  ทัศนศึกษา (Field trip)  อภิปรายกลุ่มย่อย (Small Group Discussion)  ละคร (Dramatization)  บทบาทสมมติ (Role Playing)  กรณีตัวอย่าง (Case)  เกม (Game)  สถานการณ์จำาลอง (Simulation)  นิรนัย (Deduction)  อุปนัย (Induction)  ศูนย์การเรียน (Learning Center)  บทเรียนแบบโปรแกรม (Programmed Instruction)
  • 8. 8 วิธีสอนและ วัตถุประสงค์ เกม บรรยายสาธิต ทดลอง นิรนัย อุปนัย ทัศนศึกษาอภิปราย กลุ่มย่อย บทเรียนโปรแกรม ศูนย์การเรียน กรณีตัวอย่างละคร บทบาทสมมติ สถานการ ณ์ จำาล องวิธีสอน ช่วยให้ผู้ เรียนจำานวน มากเรียนรู้ เนื้อหาสาระ จำานวนมาก พร้อมกันใน เวลาจำากัด เห็นการ ปฏิบัติ จริง ประจักษ์ ชัดด้วย ตา เห็นผลของ การคิด การกระทำา ประจักษ์ ชัดเรียนรู้หลัก การและนำา หลักการไป ใช้เรียนรู้จาก ตัวอย่างเหตุกา รณ์ย่อยๆ และ จับหลักการของ ตัวอย่างเหล่า นั้นเรียนรู้จาก ประสบการ ณ์ตรงจาก สภาพจริงเรียนรู้จาก การมีส่วน ร่วมอย่างทั่ว ถึงแลก เปลี่ยนความ รู้และ ผู้เรียนราย บุคคลเรียนรู้ ตามความ สามารถ โดย อาศัยสื่อบท เรียนที่ได้รับ การออกแบบ ให้ผู้เรียน เรียนรู้เนื้อหา สาระต่างๆ ด้วยตนเอง โดยการผลัด เปลี่ยนกัน เข้าศึกษา ค้นคว้าตาม ศูนย์การเรียน ต่างๆ ฝึกฝนการเผชิญ และแก้ปัญหา ฝึก การวิเคราะห์ และ เรียนรู้ความคิด และมุมมอง ของผู้อื่น ช่วยให้เรื่อง ราว/ สาระมี ชีวิต เห็น ประจักษ์ชัด ด้วยตา เรียนรู้การเอาใจ เขามาใส่ใจเรา ช่วยให้เข้าใจ ความรู้สึกและ พฤติกรรมของตน และของผู้อื่น เรียนรู้ความเป็น จริงของ สถานการณ์ที่มี ความซับซ้อน ฝึกการ เอาชนะ อุปสรรค อย่าง สนุกสนาน และ ท้าทาย
  • 9. 9 รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียน การสอน รูปแบบการสอน/รูปแบบการเรียนการสอน (Teaching/Instructional Model) คือ แบบแผน การดำาเนินการสอนที่ได้รับการจัดเป็นระบบ อย่าง สัมพันธ์สอดคล้องกับทฤษฎี/หลักการเรียนรู้หรือ การสอนที่รูปแบบนั้นยึดถือ และได้รับการพิสูจน์ ทดสอบ ว่ามีประสิทธิภาพ สามารถช่วยให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ตามจุดมุ่งหมายเฉพาะของรูปแบบนั้น แบบแผนการดำาเนินการสอนดังกล่าว ประกอบ ด้วย ทฤษฎี/หลักการที่รูปแบบนั้นยึดถือ และ กระบวนการสอนที่มีลักษณะเฉพาะ อันจะนำาผู้เรียน ไปสู่จุดมุ่งหมายเฉพาะที่รูปแบบนั้นกำาหนด ซึ่งผู้ สอนสามารถนำาไปใช้เป็นแบบแผนหรือแบบอย่าง
  • 10. 10 รูปแบบการสอนต่างๆ บบที่เน้นด้านพุทธพิสัย ncept Attainment Model gne’ Model mory Model รูปแบบที่เน้นด้านจิตพิสัย •Krathwohl’s Model •Jurisprudentail Model •Role Playing Model รูปแบบที่เน้นด้านทักษะพ •Sympson’s Model •Harrow’s Model •Dave’s Model บที่เน้นทักษะกระบวนการ up Investigation Model ctive Teaching Model tive Thinking Model ance’s Future Problem-Solving Model รูปแบบที่เน้น บูรณาการ •Direct Instruction Model •Storyline Model
  • 11. 11 เทคนิคการสอน  กลวิธีต่างๆ ที่ใช้เสริมขั้นตอนการสอน วิธีสอน หรือ การดำาเนินการใดๆ เพื่อ ช่วยให้การสอนมีคุณภาพ และ ประสิทธิภาพมากขึ้น  ตัวอย่าง เช่น ในการบรรยาย ผู้สอนอาจ ใช้เทคนิค การยกตัวอย่าง การใช้คำาถาม การใช้สื่อประกอบ เพื่อช่วยให้การ บรรยายมีคุณภาพ และประสิทธิภาพมาก
  • 12. 12 เทคนิคการสอนต่างๆ  การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic Organizer)  การใช้คำาถาม (Questioning)  การจัดกลุ่ม (Grouping)  การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ฯลฯ
  • 13. 13 ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ ฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบ นิรนัย นว / ยุทธศาสตร์การสอนให้หลักการเขียนเรียง ความแก่ผู้เรียน แล้วให้ฝึก เขียนให้ได้ตามหลัก ระบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการ สอน1.นำาเข้าสู่บทเรียน 2.ครูให้หลักการเขียนเรียง ความที่ดีแก่ผู้เรียน 3.ผู้เรียนเลือกหัวข้อการเขียน 4.ผู้เรียนฝึกเขียนตามหลัก 5.ครูให้ข้อติชม และให้ข้อ
  • 14. 14 ภาษาไทย : การเขียนเรียงความ ฤษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบ นิรนัย นว / ยุทธศาสตร์การสอนให้หลักการเขียนเรียง ความแก่ผู้เรียน แล้วให้ฝึก เขียนให้ได้ตามหลัก ระบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการ สอน วิธีสอน (โดยใช้การ บรรยาย) 1.นำาเข้าสู่บทเรียน 2.ครูให้หลักการเขียนเรียง ความที่ดีแก่ผู้เรียน 3.ผู้เรียนเลือกหัวข้อการเขียน 4.ผู้เรียนฝึกเขียนตามหลัก 5.ครูให้ข้อติชม และให้ข้อ วิธีสอน (โดย การฝึกปฏิบัติ)เทคนิคการสอน (ให้ข้อติชม
  • 15. 15 ษฎี / หลัก / แนวคิดการเรียนรู้แบบอุปนัย ว / ยุทธศาสตร์การสอนให้ตัวอย่างเรียงความที่ดี และไม่ดีแก่ผู้เรียน ให้ผู้เรียน วิเคราะห์และสรุปเป็นหลัก การเขียนเรียงความ และฝึก ปฏิบัติการเขียน โดยใช้หลัก นั้น ะบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการสอน 1.นำาเข้าสู่บทเรียน 2.ครูให้ตัวอย่างเรียงความแก่ผู้ เรียนทั้งที่ดี และไม่ดี 3.ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกัน วิเคราะห์ว่า เรียงความที่ตนได้ รับมีจุดดี จุดด้อย อย่างไร 4.ผู้เรียนนำาเสนอผลการวิเคราะห์ และสรุปหลักการเขียนร่วมกัน 5.ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และ ฝึกเขียน ให้ได้ตามหลักการที่
  • 16. 16 ษฎี / หลัก / แนวคิดการเรียนรู้แบบอุปนัย ว / ยุทธศาสตร์การสอนให้ตัวอย่างเรียงความที่ดี และไม่ดีแก่ผู้เรียน ให้ผู้เรียน วิเคราะห์และสรุปเป็นหลัก การเขียนเรียงความ และฝึก ปฏิบัติการเขียน โดยใช้หลัก นั้น ะบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการสอน วิธีสอน (อภิปรายกลุ่ม ย่อย) 1.นำาเข้าสู่บทเรียน 2.ครูให้ตัวอย่างเรียงความแก่ผู้ เรียนทั้งที่ดี และไม่ดี 3.ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกัน วิเคราะห์ว่า เรียงความที่ตนได้ รับมีจุดดี จุดด้อย อย่างไร 4.ผู้เรียนนำาเสนอผลการวิเคราะห์ และสรุปหลักการเขียนร่วมกัน 5.ผู้เรียนเลือกเรื่องที่จะเขียน และ ฝึกเขียน ให้ได้ตามหลักการที่ เทคนิค (ให้ทำารูบริคส์ ประเมินผล งานการเขียน)
  • 17. 17 ษฎี / หลัก / แนวคิด การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์ คิด ออกนอกกรอบ เพื่อไม่ให้ความ คิดถูกจำากัดอยู่ในกรอบเดิม ว / ยุทธศาสตร์การสอนใช้รูปแบบการสอน SYNNECTICS ซึ่งเป็นรูปแบบ การสอนเขียนอย่างสร้างสรรค์ ที่ใช้เทคนิคให้ผู้เรียนคิดออก จากกรอบเดิมๆะบวนการเรียนการสอนขั้นตอนการเรียนการสอน รูปแบบการ เรียนการสอน (Synnectics Model) 1.การให้ผู้เรียนทำางานเขียน ตามปกติ 2.การสร้างอุปมาแบบตรง (Direct analogy) 3.การสร้างอุปมาบุคคล (Personal analogy)
  • 18. 18 เทคนิคการสอนต่างๆ  การใช้ผังกราฟฟิค (Graphic Organizer)  การใช้คำาถาม (Questioning)  การจัดกลุ่ม (Grouping)  การสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ฯลฯ
  • 19. 19 CO-OP LEARNING TECHNIQUES  THINK-PAIR-SHARE : คิด-จับคู่ –แลกเปลี่ยน  FORMULATE-SHARE-LISTEN-CREATE: คิดหาคำาตอบเป็นรายบุคคล เล่าให้เพื่อนฟัง เพื่อนรับฟัง อภิปรายหาคำาตอบร่วมกัน  SAY AND SWITCH คนที่1 แสดงความคิดเห็น คนที่2 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อความคิดเห็นของ คน ที่1 ต่อไปจึงแสดงความคิดเห็นของตน คนที่1 รับฟัง แล้วตอบสนองต่อความคิดเห็นของ คน ที่2 ต่อไปจึงแสดงความคิดเห็นของตน
  • 20. 20 CO-OP LEARNING TECHNIQUES  ROUND TABLE คนที่1 เริ่มเขียนให้ข้อมูล หรือแสดงความคิดเห็นใน กระดาษ แล้วส่งให้ คนที่2 ด้านซ้ายมือ คนที่2 เขียนต่อจากคนที่ 1 ใช้ปากกาสีอื่น แล้วส่ง ต่อไปเรื่อยๆ จนครบทุกคน  ROUND ROBIN เหมือนกับ ROUND TABLE แต่ใช้การพูดแทน การเขียน คนที่ 1 นำาเสนอข้อมูล/ ความคิดเห็น ด้วยวาจา แก่ คนที่ 2 ซึ่งอยู่ถัดไป (ต่อ)
  • 21. 21 CO-OP LEARNING TECHNIQUES  CORNERS - ครูกำาหนดประเด็นอภิปรายที่แตกต่างกันในหัวข้อเรื่อง เดียวกัน ติดไว้ที่มุมต่างๆ ความเหมาะสม โดยอาจมี คำาถามเสริมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนคิดค้นได้รวดเร็วยิ่งขึ้น - ผู้เรียนเลือกเข้ามุมอภิปรายที่ตนสนใจ - ผู้เรียนจับคู่อภิปราย และร่วมกันตอบคำาถามเสริม ซึ่ง ครูจัดไว้ให้ตามมุม - ครูสุ่มสมาชิกจากมุมต่างๆ มารายงานผล  GRAFFITI - แบ่งกลุ่มย่อย - สมาชิกกลุ่มย่อยได้รับกระดาษ และปากกาเมจิก - ครูให้คำาถามที่แตกต่างกันแต่ละกลุ่ม (ต่อ)
  • 22. 22 CO-OP LEARNING TECHNIQUES  JIGSAW - COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP) แจกงานและสื่ออุปกรณ์ - EXPERT GROUP ศึกษา - COOPERATIVE GROUP (HOME GROUP) สอนและตรวจสอบ  FISH BOWL - จัดกลุ่มให้นั่งเป็นวงกลม 2 วงซ้อน จำานวนสมาชิกเท่า กัน - ให้คนวงนอกจับคู่สังเกตคนวงใน - ให้วงในอภิปรายแสดงความคิดเห็น คนวงนอก สังเกต และบันทึก ความคิดเห็นและพฤติกรรมของคู่ที่ตนสังเกต - เมื่อวงในอภิปรายเสร็จ ให้เปลี่ยนที่ให้คนวงนอกเข้ามา นั่งแทน - คนวงนอกที่เข้ามาเป็นคนวงใน ให้ข้อสังเกตและแสดง ความคิดเห็นต่อการอภิปรายของคนที่ตนสังเกต (ต่อ)
  • 23. 23 เทคนิคการจัดกลุ่มอภิปราย  แบบสัมมนา (seminar)  แบบซิมโปเซียม (symposium)  แบบปฏิบัติ (workshop)  แบบนอมินัล (nominal group)  แบบปุจฉา-วิสัชนา (questioning- answering)  แบบเป็นคณะ (panel)  แบบกันเอง (informal) แบบจับเข่าคุยกัน (knee group)  แบบโต๊ะกลม (round table)  แบบระดมสมอง (brainstorming)  แบบซินดิเคท (syndicate)  แบบฟิลลิป 66 หรือ กลุ่มหึ่ง (Phillip 66 or Buzz group)
  • 24. 24 เทคนิคการรวบรวมข้อมูล  เทคนิค CARD SORTING – ให้ข้อมูล – แจก CARD ให้แต่ละคนเขียนว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยกับข้อมูลเพราะอะไร – รวบรวม CARD – อ่าน CARD – จัดกลุ่ม CARD ที่มีความเห็นคล้ายกันไว้ ด้วยกัน แล้วประมวลเหตุผล
  • 25. 25 เทคนิคการรวบรวมข้อมูล (ต่อ)  เทคนิค POST BOX – ตั้งกล่องเรียงไว้ตามจำานวนคำาถาม – ให้คำาถาม แจกกระดาษจำานวนแผ่นเท่า จำานวนคำาถาม – แต่ละคนเขียนตอบคำาถามในกระดาษ 1 แผ่น ต่อคำาถาม – นำากระดาษคำาตอบไปใส่กล่องประจำา คำาถามนั้น
  • 26. 26 เทคนิคสัญญาณเงียบ (THE QUIET SIGNAL)  Hands up! (stop talking, stop doing)  Look  Listen  Signal others ฯลฯ
  • 27. 27 ผังกราฟิก (GRAPHIC ORGANIZER)  ผังกราฟิก เป็นแผนผังที่ใช้เส้น เครื่องหมาย สัญญาลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพ สี ตัวเลข อักษร คำา ข้อความ แสดงความเชื่อม โยงของสาระ/ความคิดต่างๆ ที่ต้องการสื่อ  ผังกราฟิก เป็นเครื่องมือทางการคิด ช่วย ทำาให้ความคิดที่เป็นนามธรรมอยู่ในสมอง สามารถแสดงออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม และเกิดความชัดเจนขึ้น  ผังกราฟิก เป็นเครื่องมือที่ช่วยประมวลและ
  • 28. 28 ผังกราฟิกแบบต่างๆ  ผังความคิด (mind map)  ผังมโนทัศน์ (concept map)  ผังแมงมุม (spider map)  ผังก้างปลา (fishbone map)  ผังลำาดับขั้นตอน (sequential map)  ผังวัฏจักร (circle/ cyclical map)  ผังวงกลมซ้อน หรือ เว็นน์ ไดอะแกรม(Venn diagram)  ผังวีไดอะแกรม (Vee diagram)  ผังพล็อตไดอะแกรม (Plot diagram)
  • 29. 29 ผังความคิด (MIND MAP) ผังแสดงความสัมพันธ์ของสาระหรือความคิดต่างๆ ให้เห็นเป็นโครงสร้างในภาพรวม โดยใช้เส้น ลูกศร เครื่องหมาย สัญลักษณ์ รูปทรงเรขาคณิต ภาพ สี คำา ข้อความ แสดงความหมายและความเชื่อมโยงของความ คิด/ สาระนั้นๆ ตัวอย่างผัง ความคิด
  • 30. 30 ผังมโนทัศน์ (CONCEPT MAP) ผังแสดงความสัมพันธ์ระหว่างมโนทัศน์หรือความ คิดรวบยอดใหญ่ และมโนทัศน์ย่อยๆ อย่างเป็นลำาดับขั้น โดยใช้เส้นเชื่อมโยงตัวอย่างมโน ทัศน์ แผนภาพผังมโนทัศน์เรื่องสัตว์ สัตว์ (animal) สัตว์ (animal) สัตว์เลื้อยคลาน (reptile) สัตว์เลื้อยคลาน (reptile) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (mammal) สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (mammal) แมลง (insect) แมลง (insect) สุนัข (dog) สุนัข (dog) หมี (bear) หมี (bear) ปลาวาฬ (whale) ปลาวาฬ (whale) หมีดำา (bear) หมีดำา (bear) หมีโพลา (polar bear) หมีโพลา (polar bear) หมึกริชลี่ (grizzly bear) หมึกริชลี่ (grizzly bear)
  • 32. 32 ผังก้างปลา (FISHBONE MAP) ผังแสดงปัญหา และสาเหตุที่ทำาให้เกิดปัญหา ทั้ง สาเหตุหลักและสาเหตุย่อย มีลักษณะคล้ายหัวปลาและ ก้างปลาตัวอย่างผังก้าง ปลา นักเรียนประพฤติผิด ระเบียบวินัย นักเรียนประพฤติผิด ระเบียบวินัย แผนภาพผังก้างปลาหาสาเหตุของการประพฤติผิด นักเรียนนักเรียน ครูครู พ่อ-แม่พ่อ-แม่ ระเบียบของโรงเรียนระเบียบของโรงเรียน ยาก จน สอนลูก ไม่ได้ ตามใจ ลูก ไม่มี เวลา ดูแล หยุมหยิ ม ระเบียบมาก เกินไป ระเบียบล้า สมัย ถูก เพื่อนยุ ตาม เพื่อน อยู่กับ คนอื่น ธรรมชาติของเด็ก ย่างเข้าวัยรุ่น มีความสุขที่ ทำาผิด ไม่ลง โทษ จริงๆบางคนเข้มงวดบาง คนละเลย ตักเตือนไม่ สมำ่าเสมอ ไม่เข้ม งวด
  • 33. 33 ผังวัฏจักร (CIRCLE/ CYCLICAL MAP) ผังแสดงลำาดับขั้นตอนที่ต่อเนื่องกันเป็นวงจร ไม่มีที่ สิ้นสุดตัวอย่างผัง วัฏจักร ประสบก ารณ์รูป ธรรม การสร้าง แนวคิด มโน ทัศน์ หรือหลัก การ แผนภาพผังวัฏจักรการเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ (Experiential Learning Cycle) ของ ความคิด/หลักการ ที่จะนำาไปทดสอบ/ ใช้ในสถานการณ์ ใหม่ การสังเกต การ สะท้อน การคิด การสืบสอบ
  • 34. 34 ผังวงกลมซ้อน (VENN DIAGRAM) ผังวงกลม 2 วงหรือมากกว่าที่มีส่วนหนึ่งซ้อนทับ กันอยู่ ทำาให้เห็นส่วนที่เป็นความเหมือน และความแตก ต่างกัน ตัวอย่างผัง วงกลมซ้อน แผนภาพผังแสดงความสัมพันธ์ของวัตถุประสงค์ 3 ด้าน ของ ด้าน เจตคติ (Affective) ด้านทักษะ (Psychomotor) ด้านความ รู้ (Cognitive)
  • 35. 35 ผังวีไดอะแกรม (VEE DIAGRAM) ผังรูปตัว V แสดงความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีกับวิธี การ ในการศึกษาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ตัวอย่างผังวี เว็นน์ไดอะแกรม แผนภาพโครงสร้างของแผนผังรูปตัววี ของโกวิน (Novok ความคิด (Conceptual) ทฤษฎี: (Theory) หลักการ (Principle) มโนทัศน์ (Concepts) เหตุการณ์ และ/หรือวัตถุ (Events/ Objects) คำาถามสำาคัญ (Focus Questions) วิธีการที่ทำาให้ได้มา ซึ่งความรู้ (Methodological) ข้อความรู้ที่ได้: (Knowledge Claims) การแปลงข้อมูลหรือการ จัดกระทำาข้อมูล (Transformation) การบันทึกข้อมูล (Records)
  • 36. 36 ผังพล็อตไดอะแกรม (PLOT DIAGRAM) ผังแสดงการดำาเนินเรื่อง จากการเริ่มต้น ไปสู่จุด ยอด (CLIMAX) ของเรื่อง และคลี่คลายไปสู่บทสรุปของ เรื่อง เป็นผังที่ช่วยในการอ่าน ตัวอย่างผังพล็อต ไดอะแกรม แผนภาพผังพล็อตไดอะแกรม (Plot Diagram) จุดยอด บทนำา บท สรุป
  • 37. 37 เทคนิคการนำาเสนอข้อมูล  การนำาเสนอข้อมูลในรูปตาราง  การนำาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ ภาพ  การนำาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ วงกลม  การนำาเสนอข้อมูลในรูปแผนภูมิ แท่ง
  • 38. 38 เทคนิคหมวกคิด 6 ใบ (SIX THINKING HATS) เทคนิคในการช่วยให้บุคคลคิดอย่าง รอบคอบ ในหลายๆ ด้าน หมวกขาว แทนข้อเท็จจริง ข้อมูล ที่เป็นที่จริง และเป็นที่ยอมรับ หมวกแดง แทนอารมณ์ ความรู้สึกต่างๆ เช่น ชอบ-ไม่ชอบ พอใจ-ไม่พอใจ สงสัย กลัว หมวกดำา แทนความคิดทางลบ จุดด้วย จุดบกพร่อง ข้อผิดพลาด ผลเสีย หมวกเหลือง แทนสิ่งดี สิ่งถูกต้อง สิ่งที่เป็น ประโยชน์ มีคุณค่า สร้างสรรค์
  • 39. 39 เทคนิคการคิดไตร่ตรอง  Self Questioning ถามตนเอง  Self Talk พูดกับตนเอง  Learning Log – บันทึกการเรียนรู้ – บันทึกส่วนตัว – บันทึกสาระเฉพาะ – บันทึกแลกเปลี่ยนข้อมูล – บันทึกบันทึกสองทาง
  • 40. 40 เทคนิคการคิดสร้างสรรค์  การมองต่างมุม ต่างมิติ (มองภาพแนวนอน-แนว ตั้ง)  การมองมุมตรงกันข้าม (คิดจาก มี-ไม่มี ซ้าย- ขวา ดำา-ขาว)  คิดเชื่อมโยงกับสิ่งที่ไม่คุ้นเคย (หมอนหนุน- หมอนใส่ของ)  การคิดหาทางลัด (สู่เป้าหมาย)  การขยายขอบเขตความเป็นไปได้ (น.ส.พ.ใช้ประดิษฐ์อะไรได้) 
  • 41. 41 เทคนิคการคิดสร้างสรรค์ (ต่อ)  การสร้างภาพ/ จินตนาการ ที่ไม่เคยคิด/ ทำา  จำากัดเวลาคิด  ให้คิดเร็วๆ  เทคนิค Gordon – การเปรียบเทียบสิ่งหนึ่งกับอีกสิ่งหนึ่ง (direct analogy) – การเปรียบเทียบตนเองกับสิ่งอื่น (personal analogy)
  • 42. 42 เทคนิคการสังเกต SCUMPS SSize สังเกตขนาด CColor สังเกตสี UUse สังเกตการใช้ ประโยชน์ MMaterials สังเกตวัสดุ PParts สังเกตส่วนประกอบ SShape สังเกตรูปร่างสัณฐาน
  • 43. 43 เทคนิคการสังเกต BLACK BOX  เอาของใส่กล่องดำา มองไม่ เห็นสิ่งของที่อยู่ข้างใน  ให้ยกกล่อง แล้วทายว่ามี อะไรในกล่อง
  • 45. 45 Taxonomic Thinking: Bloom’s Taxonomy Bloom's Original Taxonomy (1956) Anderson' Revised Taxonomy (1999) Knowledge Remembering Comprehension Understanding Application Applying Analysis Analyzing Synthesis Evaluation Evaluation Creating
  • 46. 46 The Revised Bloom’s Taxonomy Remembering Recognize, list, describe, identify, retrieve, name ... Can the student RECALL information? Understanding Interpret, exemplify, summarise, infer, paraphrase … Can the student EXPLAIN ideas or concepts? Applying Implement, carry out, use … Can the student USE the new knowledge in another familiar situation? Analyzing Compare, attribute, organize, deconstruct … Can the student DIFFERENTIATE between constituent parts? Evaluation Check, critique, judge, hypothesise… Can the student JUSTIFY a decision or course of action? Creating Design, construct, plan, produce… Can the student GENERATE new products, ideas or ways of viewing things?
  • 47. 47 Taxonomic Thinking: Revised Bloom’s Taxonomy Description Remembering (Recall)  Recognize  Describe  Retrieve  List  Identify  Name Understanding (Explanation)  Interpret  Summarise  Paraphrase  Exemplify  Deduce  Conceptualise Applying (Use)  Implement  Use  Trial  Carry out  Employ  Experiment Analyzing (Differentiate)  Compare  Attribute  Deconstruct  Infer  Organize  Dissect Evaluation (Justification)  Check  Judge  Assess  Critique  Hypothesise  Review Creating (Generate)  Design  Plan  Invent  Construct  Produce  Initiate
  • 48. 48 Socratic Questioning Type of Questioning Generic Example Support questioning Can you give us more information to support your idea or proposal? Source questioning Could there be other more appropriate and useful sources of information? Conflict questioning How might people who do not support your idea or proposal influence the outcome? Consequence questioning What might be the consequences of your idea or proposal now and in the future?
  • 49. 49 Directed thinking Why YES? What are the good points of an idea, regardless of how you might feel about it? Why NO? What are the negative aspects of the idea, regardless of how you may feel about it? Why WAIT? What other alternatives and possibilities are there to be discovered? What ELSE? What other information might be needed before we judge an idea? Way to GO! How might you chosen idea or course of action?   ??
  • 50. 50 Posing Questions at Different Levels of Sophistication (From Melvin Freestone) Level of Sophistication Illustrative examples – Posing Questions Focus on factual material Engaging in explicit tasks, making observations from direct experience, and trying things out. Where did you get that from? Why do you like….? What is happening to …? What will our design look like? What should we do …? How can we put it together? What do we need to do…? Focus on making simple connections Discovering links, ‘arguing; about simple ideas, devising whys to fine out more, carrying out orderly investigations, recording data, and discovering ways to use ideas and information. What is involved here? What can we do to investigate this…? How many different things are affected by…? What steps do we need to take? Which of these effects…? Why is … important? Can we explain how and why…? What does… think about…? Focus on searching for explanations Considering future implications, showing concern about consequences, gathering information systematically, planning investigations, and using different thinking ‘tools’ appropriately. What is needed here and why? How are we going to do this…? Which way is best to investigate…? What are the critical elements in this situation…? Can we come up with a ‘theory’ to explain…? Who has a stake or interest in…? Is it logical? What is the most appropriate plan of attack? What kind of research skills will we need to use or develop here? Focus on searching for different combinations Balancing options and possibilities, defining choices and particular courses of action, showing concern for the quality of information, seeking to control variable, identifying assumptions and exploring how particular disciplines and real-life contexts inform thinking. Are the questions sufficiently targeted for focused investigation…? What is the primary question here and how does it relate to other questions that could be asked? What is the order of priority here? Can we predict likely consequences from the information we have? What implications does that have…? Which of the possible actions is most desirable? What’s the best way to ‘brainstorm’ the questions we could ask…? Focus on exploring interrelationships Examining assumptions, dealing with complex problems and challenges, understanding and using ideas and strategies derived from ‘disciplines’ of knowledge and experience, making balanced judgements, and designing multi-faceted investigations. Which question(s) is likely to generate a comprehensive investigation? What processes will we use to generate questions? What factors and angles do our questions need to encompass? In what ways can the questions we raised be investigated…? What criteria shall we use to determine what is relevant and what is irrelevant? What is the variety of interpretations of these questions…? Dose everyone see it the same way…?
  • 51. 51 Scaffolding learning (From Melina Freestone) Strategic Direction What is it like? FROM How is it like it is? CONNECTION Generative Question IN WHAT WAYS CAN OUR COMMUNITY BE IMPROVED? Examining PARTS  Are there any vested interests and how do they operate?  Who has the power and how do they use it?  What are the views of different stakeholders?  How has the community operated in the part? Envisaging WHOLES  What’s needed to improve or develop community relations?  What priorities and future directions are being considered?  How could things be done differently to the benefit of all? Investigating COMPLEXITIES  How does the power and people dynamics operate?  How do the decision-making processes and structures work?  In what ways can and do people participate in activities?  Is action needed to deal with issues that are blocking progress? Extracting SIMPLICITIES  In what ways might the community be improved?  Who will benefit?
  • 52. 52 Empathically Intelligent Thinking (From Roselyn Arnold, Melvin Freestone) Aspects Of Empathically Intelligent Thinking Generative Questions A cognitively focused In what ways could the proposed housing development affect the ecosystem in these wetlands? A feeling focused How might the feelings of families and children be affected by the loss of bird life from the wetland areas? An emotion focused In what ways are different interest groups and stakeholders using the emotions among the local community to advance their arguments? An empathy focused How could we sympathise with and support the concerns of individuals and groups within the local community? An ethically focused How should the main players for and against the proposal exercise their right to prote3st and influence the outcome?
  • 53. 53 Different Types of Thinking Through The Six Thinking Hats (From Edward De Bono, Melvin Freestone) Description Focus Features Overview White hat FACTS Virgin white, pure facts, figures and information  Distinguishing parts  Focusing questions  Proving facts  Establishing authenticity Fact quest Red hat EMOTIONS Seeing red, emotions and feelings, hunches and intuitions  Exploring feelings  Contemplating emotions  Being personal  Escaping logic Emotions quest Black hat JUDGEMENT Devil’s advocate, negative judgement, why it will not work  Examining fit  Pursuing errors  Investigating limitations  Identifying faults Judegement quest Yellow hat OPTIMISM Sunshine, brightness and optimism, positive, constructive  Seeing value  Considering benefits  Generating proposals  Seeking opportunities Optimism quest Green hat CREATIVITY Fertile, cre3ative, plants springing from seeds, movement and provocation  Exploring alternatives  Challenging ideas  Moving forward  Postponing judgement Creativity quest Blue hat REFLECTIVE Cool and controlled, orchestration, thinking about thinking  Defining problems  Monitoring processes  Sequencing actions  Summarising situations Reflection quest
  • 54. 54 The SCAMPER for Solving Problems (From Edward De Bono’s CoRT Skills) Strategy Description Some Indicative Questions S Substitute Substitute something different into the system Could you replace something with something else? C Combine Bring together and blend different components or aspects Could you combine things in different ways? A Adapt Adjust to another set of conditions or a different purpose Could you alter something to better meet your purposes? M Modify Change, magnify, reduce to enhance attributes Could you transform something to improve it? P Put to use Use for different purpose or in a different context Could you put it to another use or use it in a different way? E Eliminate Remove particular components and aspects Could you take something out to make it work better? R Reverse Change the order, sequence, layout or scheme Could you change the order of things or chain of events?
  • 55. 55 CAMPER Asking Critical Questions (From Michael Pohl) Strategy Some Indicative Questions C Consequences Consistency  What are the consequences of believing this?  How consistent is the information? A Assumptions Accuracy  What assumptions have been made here?  How accurate is the date/information? M Meaning Main Points  What is the meaning of this?  What is the main point here? P Prejudice Point of view  What prejudices are being shown here?  What other points of view could be expressed? E Evidence Examples  What evidence is given to support the claims?  What examples are given to back up claims? R Relevance Reliability  How relevant are the claims?  How reliable is the source, writer, information?
  • 56. 56 Tactics of Undertaking Tasks and Actions (From Melvin Freestone) Understand emotions Emotions are involved in all our thinking and often determine how we act.  How are emotions involved here?  What’s dominating the atmosphere?  To what extent are your emotions involved?  Are there any games being played?  How can the emotions be managed? Try it out Trail and error enables you to translate ideas into actions.  What’s the idea you want to trial?  Is it best-modelled in theory or in practice?  What needs to be tested?  How well does it work?  What refinements can you make?  Does it work better now? Backtrack to go forward When you know what you want sometimes you have to backtrack to work out how to get there.  Where’s your ‘big idea’?  Can you fill in the gaps between your ‘big idea’ and where you are now?  Can you identify stages for realising your ‘big idea’?  Are there any uncertainties in this plan?  Are the risks worth taking? Get organised Good organisation aids efficiency and prevents confusion.  What could be grouped and what need to be kept separate?  Are there alternative groupings available to you?  Can you organise this systematically?  Is anything causing difficulties?  How can you provide and ongoing system for managing it? Have clear purposes Purpose gives direction to projects and activities.  What need to be done?  How can this be translated into action statements?  Can an order of importance be established for the action statements?  Are the purposes sufficiently different from each other? Find new combinations Combining two or more ideas often creates new things.  What can you combine?  What is the likely result of this combination?  How does what happens differ from what is expected?  How useful is it?  Could you combine the ideas in other ways?
  • 57. 57 Tactics for Devising Alternatives and Innovations (From Melvin Freestone) Explore other views No two people view a situation the same way.  What views do other people hold?  How are they different from your own?  Why do they view the situation differently?  What values and ideas are affecting their viewpoints?  Is there any common ground? Generate ‘crazy’ ideas Bringing in completely unconnected material is often the springboard to innovation.  What would be an outrageous suggestion here?  What is triggered by this input?  Can you look at this idea from other angles?  How can the ‘crazy’ idea help you in the situation you are facing? Challenge ideas Ideas need to be challenged to see how well they will work..  Can you find ways to challenge these ideas?  Will modifying them improve them?  Must it be done this way?  Are there better alternatives?  Do they meet expectations? Avoid blind alleys People are seldom wrong on purpose but sometimes find themselves up a blind alley.  What’s making you feel uneasy?  Have false generalizations been made?  Are the facts wrong, mistaken or misinterpreted?  Are fixed ideas causing a blind spot?  What’s misleading you? Search for alternatives There are many ways to accomplish something.  Are there other options worth pursuing?  Where might they lead?  Could it be done in a completely different way?  Which options are likely to be useful or effective?  Have you ‘left any stone unturned’? Do it better Ideas and actions can always be refined and improved.  What can you target for improvement?  What variables are involved?  How can you determine their effects?  What are the possibilities for improvement?  How can this be achieved?
  • 58. 58 Tactics for Seeking Opportunities and Possibilities (From Melvin Freestone) Bridge the gap The best way to bridge the gap maybe to create stepping-stone.  What ideas and actions have potential?  How can they be developed to bridge the gap?  Do they allow you to move on?  Are there other ways for getting there?  Which stepping-stone are you going to use? Identify opportunities Most of situations have opportunities for people to engage in enterprising activities.  What are the opportunities here?  Where might they lead to?  Which is the best opportunity?  How can you make the most of these opportunities?  What ‘good’ can be achieved from doing this? Brainstorm for inspiration Sometimes instant inspiration is needed to make the most of a situation or to remove blockages.  What is the challenge?  What ideas come into your mind immediately?  Can you think up a range of options for exploration?  Which ones deal with the challenge?  Which ones are worth pursuing?  Which ones could be used to produce solutions? Consider all angles Examining things from every angle helps you find workable ideas.  What is positive here?  What is negative here?  What else have possibilities?  Can you translate the possibilities into workable ideas?  Have all the implications been explored? Find unlimited possibilities You often need to suspend judgement in order to generate new ideas.  What judgement need to be suspended?  What new ideas could be used here?  Which ones are worth trying out?  Which of these possibilities is likely to work well?  Can you decide which one you will use? Guess the solution If ideas and information are incomplete sometimes you have to guess.  Can you guess what you can do or what will happen?  Does it work?  Is there anything else you can do?  Do you need to make a better guess?  Do you need to start somewhere else?
  • 59. 59 Tactics for Addressing Difficulties and Conflicts (From Melvin Freestone) Make it work You can adjust things to make them work..  How well are you ideas and actions working?  What needs to be improved?  How could you achieve this?  Is the result satisfactory?  Is a completely different approach needed? Unearth the blockage Some things stop people from thinking clearly and deflect their thoughts in unproductive ways.  Can you detect any blockages?  What are they?  Are any stereotypes, clichés, prejudices or ‘official’ opinions getting in the way?  What needs to be done to eliminate the blockage?  What benefits are likely to accrue? Get it right You need to know when something is right and then leave it alone.  How well is it working?  Does it need more work?  What do others think?  Is there value in future improvements?  Should you leave it alone? Determine its worth It is useful to pinpoint the worth of an idea or action.  What are the ideas or actions intended to do?  How well do they meet specified requirements?  What is their appeal?  Are they efficient, effective and reliable? Assess contradictions Contradictions in ideas and actions often reveal areas for modification, improvement and re-development.  What things don’t seem to be right?  Do they have and opposite effect to what is intended?  How significant is this effect?  Can it be removed or transformed?  What are the possibilities for changing it? Resolve conflicts Sometimes people have conflicting ideas about how to do things or negative feelings about their role.  Are there any conflicts?  What are they about?  What are the ideas, issues and emotions involved?  Who are the key players?  How can you encourage collaboration and negotiation?  What’s needed to create a ‘win-win’ outcome?
  • 60. 60 ข้อพึงระวังในการถาม  มีเป้าหมายที่ชัดเจนในการถาม  รู้ Direction/ Strategy ในการนำา ผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย  ข้อคำาถามไม่กว้างเกินไป  ให้เวลาในการคิดตอบคำาถาม  ไม่ถามเอง ตอบเอง  ฟังคำาตอบตรวจสอบความเข้าใจ ไม่ด่วนตัดสินคำาตอบ  ปรับคำาถามให้เหมาะสมกับระดับ ของผู้เรียน  เปิดโอกาสให้ผู้เรียนถาม