SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ใน
โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 มีองค์ประกอบดังนี้
1. แนวคิดพื้นฐาน
วิสัยทัศน์ / ปรัชญา
วิสัยทัศน์ (vision) รูปแบบการบริหารการป้องกัน
นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 เป็นรูปแบบที่มุ่งมั่นใน
การส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาแก่ผู้เรียนให้มีความรู้
คู่คุณธรรม มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองตามหลักสูตรหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน เน้นไปที่ ระบบดูแลป้องกันนักเรียนกลุ่ม, โครงการปี
แห่งโรงเรียนสีขาว , “ บวร ” (บ้าน วัด โรงเรียน) และภาคีเครือ
ข่ายหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน
ให้ ดี เก่ง และ มีความสุข
พันธะกิจ (Mission)
1. ยกระดับคุณภาพการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ใน
โรงเรียนขยายโอกาสให้สูงขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิตสำานึก
ในคุณค่าของความเป็นไทย
2. พัฒนาการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียน
ขยายโอกาส ให้มีประสิทธิภาพ ยึดหลักคุณธรรม 8 ประการ และ
เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
3. พัฒนาครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีขีดความ
สามารถในการปฏิบัติงานการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียน
ขยายโอกาส ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4. นำาระบบภาคีเครือข่ายมาใช้ในการการป้องกัน
นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้
เรียน
5. พัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนให้มีนิสัยรักการเรียน
ให้อ่านออก เขียนได้
6. ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคน ทุกกลุ่มมีส่วนร่วมในการ
จัดกิจกรรมต่าง ๆ สร้างเสริมอาชีพสุจริต ด้วยตนเองโดยมีครูที่
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 2
ปรึกษาคอยให้คำาปรึกษา และสนับสนุนให้นักเรียน อนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี อันดีงาม
เป้าประสงค์ (Goal)
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูทุกคน ใช้รูปแบบการป้องกัน
นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส ในการพัฒนาผู้เรียนให้
มีคุณภาพชีวิต มีพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความรู้ ทักษะที่จำาเป็นตาม
หลักสูตรในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีนิสัยรักการอ่าน รัก
การเรียนรู้ รักการทำางาน คิดอย่างเป็นระบบสามารถทำางานร่วมกับ
ผู้อื่นได้ ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์เต็มตามศักยภาพ ในการพัฒนา
ตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการมีงานทำา มีเจตคติที่ดี
ต่ออาชีพสุจริตอย่างต่อเนื่อง สามารถแก้ปัญหาให้ตนเอง และผู้อื่น
ได้อย่างถูกวิธีอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ได้อย่างยั่งยืน
2. มาตรฐานรูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่ม
เสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 ประกอบไปด้วย 6
ด้าน ดังนี้
2.1 ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ประกอบไป
ด้วยตัวชี้วัด คือ
2.1.1 ตัวชี้วัดที่ 1.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนกรอกระเบียน
สะสมของนักเรียนด้วยตนเองอย่างครบถ้วน เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 100
2.1.2 ตัวชี้วัดที่ 2.ครูที่ปรึกษามีการสัมภาษณ์นักเรียน
เป็นรายบุคคลแล้วบันทึกไว้เป็นข้อมูลอย่างน้อย 3 ครั้งต่อภาคการ
ศึกษา เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.1.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ครูที่ปรึกษามีการสัมภาษณ์ผู้ ปกครอง
นักเรียนเป็นรายบุคคลแล้วบันทึกไว้เป็นข้อมูลอย่างน้อย 1 ครั้งต่อ
ภาค เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 100
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 3
2.1.4 ตัวชี้วัดที่ 4.ครูที่ปรึกษามีการวางแผนร่วมกับ
นักเรียนและผู้ปกครองอย่างน้อย 1 ครั้งต่อภาคการศึกษา เกณฑ์
การประเมิน ร้อยละ 100
การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นราย
บุคคล
วิธีการ เครื่องมือ
ศึกษาข้อมูลจาก
1) ระเบียนสะสม
2) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก
(SDQ) หรือ
3) อื่น ๆ เช่น
- แบบประเมินความฉลาด
ทางอารมณ์ (E.Q.)
- แบบประเมินคุณธรรม
(M.Q.)
- แบบประเมินความฉลาด
(I.Q.)
- แบบประเมินความมุ่งมั่น
นักเรียน (A.Q.)
- การสัมภาษณ์นักเรียน
- การสังเกตพฤติกรรม
นักเรียน
- การเยี่ยมบ้านนักเรียน
ฯลฯ
1) ระเบียนสะสม
2) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก
(SDQ) หรือ
3) อื่น ๆ เช่น
- แบบประเมินความฉลาด
ทางอารมณ์ (E.Q.)
- แบบประเมินคุณธรรม
(M.Q.)
- แบบประเมินความฉลาด
(I.Q.)
- แบบประเมินความมุ่งมั่น
นักเรียน (A.Q.)
- แบบสัมภาษณ์นักเรียน
- แบบสัมภาษณ์ผู้ปกครอง
และการเยี่ยมบ้าน
- แบบบันทึกการตรวจ
สุขภาพด้วยตนเอง ฯลฯ
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 4
2.2 ด้านการคัดกรองเด็กนักเรียน ประกอบไปด้วยตัว
ชี้วัด คือ
2.2.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาได้คัดกรองแยกประเภท
ของนักเรียนจากระเบียนสะสมของนักเรียนเป็นรายบุคคลอย่าง
ชัดเจนระหว่างกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง ได้ 100 % เต็ม เกณฑ์การ
ประเมิน ร้อยละ 80
2.2.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ครูที่ปรึกษาได้คัดกรองแยกประเภท
ของนักเรียนจากบันทึกการสัมภาษณ์นักเรียนเป็นรายบุคคลอย่าง
ครบถ้วน ระหว่างกลุ่มปกติ ,กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มช่วยเหลือ เกณฑ์
การประเมิน ร้อยละ 80
2.2.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ครูที่ปรึกษาได้คัดกรองแยกประเภท
ของนักเรียนจากบันทึกการสัมภาษณ์ผู้ปกครองเป็นรายบุคคลอย่าง
ครบถ้วน ระหว่างกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อย
ละ 80
2.2.4 ตัวชี้วัด ที่ 4 ครูที่ปรึกษาคัดกรองนักเรียนในรูป
แบบคณะกรรมการของโรงเรียน ด้วยแบบประเมินพฤติกรรมเด็ก
SDQ ของกรมสุขภาพจิต เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการคัดกรองเด็กนักเรียน
2.3 ด้านการส่งเสริม ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด คือ
2.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาได้จัดกิจกรรมใน
ห้องเรียนสำาหรับนักเรียน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เกณฑ์
การประเมิน ร้อยละ 80
วิธีการ เครื่องมือ
วิเคราะห์ข้อมูลจาก
1) ระเบียนสะสม
2) แบบประเมินพฤติกรรม
เด็ก (SDQ) หรือ
3) แหล่งข้อมูลอื่น ๆ
1) เกณฑ์การคัดกรองนักเรียน
2) แบบสรุปผลการคัดกรอง และ
ช่วยเหลือนักเรียน
เป็นรายบุคคล
3) แบบสรุปผลการคัดกรอง
นักเรียนเป็นห้องเรียน
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 5
2.3.2 ตัวชี้วัดที่ 2 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึง
พอใจอย่างเห็นได้ชัดในกิจกรรมนั้นๆ โดยการสังเกตจากสภาพจริง
เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการส่งเสริม
2.4 ด้านการ ป้องกัน และแก้ไข ประกอบไปด้วยตัวชี้
วัด คือ
2.4.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาได้วางแผนร่วมกับ
นักเรียนกลุ่มปกติ เพื่อดำาเนินการ เพื่อนช่วยเพื่อน 2 ใน 3 ครั้งต่อ
เดือน เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.4.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ครูที่ปรึกษาได้จัดประชุมผู้ปกครอง
ของนักเรียนกลุ่มเสี่ยง 2 ใน 3 ครั้ง ต่อ ภาคการศึกษา เกณฑ์การ
ประเมิน ร้อยละ 80
2.4.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความพึง
พอใจต่อการจัดประชุม เสมอ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.4.4 ตัวชี้วัดที่ 4 ครูที่ปรึกษาเต็มใจและพร้อมให้คำา
ปรึกษาทุกครั้ง ที่เกิดเหตุผิดปกติกับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การ
ประเมิน ร้อยละ 100
วิธีการส่งเสริม เครื่องมือ
จัดกิจกรรมต่อไปนี้
1) กิจกรรมโฮมรูม
(Homeroom)
2) ประชุมผู้ปกครองชั้น
เรียน
(Classroom
meeting) หรือ
3) กิจกรรมอื่น ๆ ที่ครู
พิจารณาว่าเหมาะสมในการ
ส่งเสริม
นักเรียนให้มีคุณภาพมาก
ขึ้น
1) แนวทางการจัดกิจกรรม โฮมรูม
ของโรงเรียน
2) แนวทางการจัดกิจกรรม ประชุม
ผู้ปกครองชั้นเรียน
3) แบบบันทึก/สรุปประเมิน
ผลการดำาเนินกิจกรรม
- กิจกรรมโฮมรูม
- ประชุมผู้ปกครอง
- กิจกรรมชั้นเรียน
- อื่น ๆ
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 6
2.4.5 ตัวชี้วัดที่ 5 ครูที่ปรึกษาร่วมกับผู้ปกครองของ
นักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้คำาปรึกษาทุกครั้ง ที่เกิดเหตุผิดปกติกับนักเรียน
กลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.4.6 ตัวชี้วัดที่ 6 ในกรณีกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด ได้
ประสาน งานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จัดกิจกรรม จิตบำาบัด 1 ครั้งต่อ
ภาคการศึกษา เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.4.7 ตัวชี้วัดที่ 7 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงและผู้ปกครองมี
ความพึงพอใจต่อกิจกรรม จิตบำาบัดทุกครั้ง เกณฑ์การประเมิน ร้อย
ละ 80
2.4.8 ตัวชี้วัดที่ 8 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรม มี
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น อย่างเห็นได้ชัดเจน เกณฑ์
การประเมิน ร้อยละ 80
การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการป้องกัน และแก้ไข
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 7
วิธีการป้องกัน และแก้ไข เครื่องมือ
1) ให้การปรึกษาเบื้องต้น
2) ประสานงานกับครูและ
ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อการ
จัดกิจกรรม สำาหรับการ
ป้องกัน
และการช่วยเหลือแก้ไขปัญหา
ของนักเรียน
2.1 กิจกรรมในห้องเรียน
2.2 กิจกรรมเสริม
หลักสูตร 2.3 กิจกรรมเพื่อน
ช่วยเพื่อน (Buddy)
2.4 กิจกรรมซ่อมเสริม
2.5 กิจกรรมสื่อสารกับ ผู้
ปกครอง
1) ให้การปรึกษาเบื้องต้น
2) ประสานงานกับครูและ
ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อการจัด
กิจกรรมสำาหรับการป้องกัน
และการช่วยเหลือแก้ไขปัญหา
ของนักเรียน
2.1 กิจกรรมในห้องเรียน
2.2 กิจกรรมเสริม
หลักสูตร 2.3 กิจกรรมเพื่อน
ช่วยเพื่อน (Buddy)
2.4 กิจกรรมซ่อมเสริม
2.5 กิจกรรมสื่อสารกับ ผู้
ปกครอง
1) แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อ
ป้องกันและแก้ไข
ปัญหาของนักเรียน 5
กิจกรรม
2) แบบบันทึกสรุปผลการคัดกรอง
และช่วยเหลือ
นักเรียนเป็นรายบุคคล
3) แบบบันทึกรายงานผลการดูแล
ช่วยเหลือนักเรียน
1) แนวทางการจัดกิจกรรม
เพื่อป้องกันและแก้ไข ปัญหาของ
นักเรียน 5 กิจกรรม
2) แบบบันทึกสรุปผลการคัดกรอง
และช่วยเหลือ
นักเรียนเป็นรายบุคคล
3) แบบบันทึกรายงานผลการดูแล
ช่วยเหลือ นักเรียน
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 8
2.5 ด้านการส่งต่อ ภายใน ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด
คือ
2.5.1 ตัวชี้วัดที่ 1 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจที่
ได้รับการส่งต่อภายใน เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.5.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความพึง
พอใจอย่างมาก ที่นักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อภายใน เกณฑ์
การประเมิน ร้อยละ 80
2.5.3 ตัวชี้วัดที่ 3 หลังจากการส่งต่อภายในนักเรียน
กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมดีขึ้น อย่างเห็นได้ชัดเจน เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 80
การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการส่งต่อภายใน
2.6 ด้านการส่งต่อ ภายนอก ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด
คือ
2.6.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาประสานงานกับหน่วยงาน
บำาบัดจิตกับสาธารณสุข และโรงพยาบาล ทุกครั้งที่มีเหตุผิดปกติ
รุนแรงเกิดขึ้นกับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.6.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ครูที่ปรึกษาประสานงานกับหน่วยงาน
ปราบปรามของสถานีตำารวจ ทุก ครั้งที่มีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นกับ
นักเรียนกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80
2.6.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 3 หลังจากส่งต่อภายนอก
โดยความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานพินิจ
วิธีการ เครื่องมือ
1) บันทึกการส่งนักเรียนไป
ยังครูที่เกี่ยวข้องในการช่วย
เหลือนักเรียนต่อไป เช่นครู
แนะแนว ฝ่ายปกครอง ครู
ประจำาวิชา ครูพยาบาล
เป็นต้น ซึ่งเป็นการส่งต่อ
ภายใน
1) แบบบันทึกการส่งต่อของครูที่
ปรึกษา
2) แบบรายงานแจ้งผลการช่วย
เหลือนักเรียน
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 9
นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมดีขึ้นเป็นอย่างมาก เกณฑ์การประเมิน
ร้อยละ 80
การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จ ด้านการส่งต่อภายนอก
3. ข้อควรตระหนักในการใช้รูปแบบการบริหารการ
ป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2
ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
ปัญหาที่พบในด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ส่วน
มากโรงเรียนขยายโอกาส จะถือเอาครูประจำาชั้นเรียนเป็นครูที่
ปรึกษา ซึ่งครูที่ปรึกษาควรจะเป็นครูที่มีภูมิลำาเนาใกล้กับนักเรียนให้
มากที่สุด เพราะหากได้ครูที่ปรึกษาเป็นบุคคลในพื้นที่ การเข้าถึง
ข้อมูลของเด็กนักเรียนก็เป็นเรื่องง่าย และมีเวลาในการเก็บข้อมูล
สามารถเข้าถึงสภาพจริงของนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ถ้า
หากได้ครูที่ปรึกษาเป็นเพียงแค่ครูประจำาชั้น ต่างภูมิลำาเนากับ
นักเรียน ครูก็แทบจะไม่มีเวลาไปทำาความรู้จักกับบริบทของนักเรียน
เลย ทำาให้ขาดความเชื่อมั่นต่อผู้ปกครอง
แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูควรจะสละเวลาออก
เยี่ยมบ้านนักเรียน ทำาความรู้จักกับผู้ปกครองของนักเรียนอย่าง
เต็มใจ ไม่ใช่ไปเพราะคำาสั่งโครงการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเฉย ๆ
ที่สำาคัญการสัมภาษณ์ทำาความรู้จัก กับ ญาติ พี่น้อง หรือบุคคลที่
อาศัยอยู่ใกล้ ๆ บ้านของนักเรียน และผูกสัมพันธไมตรี กับบุคคล
วิธีการ เครื่องมือ
1)บันทึกการส่งนักเรียนไปยัง
ผู้เชี่ยวชาญภายนอกโดยครู
แนะแนวหรือฝ่ายปกครองเป็น
ผู้ดำาเนินการ
1) แบบบันทึกการส่งต่อของ
โรงเรียน
2) แบบรายงานแจ้งผลการช่วย
เหลือนักเรียน
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 10
เหล่านี้ ทำาให้เราสามารถประเมินนักเรียนจากสภาพจริงที่ได้สัมผัส
ร่วมกับชาวบ้านได้ สร้างความไว้วางใจในการส่งบุตร หลาน มาเข้า
เรียนยังสถานศึกษา ที่ตนสังกัดอยู่ เป็นการกระจาย ผู้เรียน ไม่ให้
มารวมกันอยู่ที่โรงเรียนขนาดใหญ่แห่งเดียวอีกทางหนึ่งด้วย
แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการ
ป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการรู้จัก
นักเรียนเป็นรายบุคคล ได้แก่
- ครูที่ปรึกษา ที่จะออกเก็บข้อมูลของนักเรียนเชิงลึกไม่
ว่าจะเป็นแบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ์ควรที่จะเป็นครูในพื้นที่
เดียวกันกับนักเรียน หรือมีภูมิลำาเนาใกล้เคียง
- ครู ควรสร้างความสัมพันธ์ อันแน่นแฟ้นกับผู้ปกครอง
ของนักเรียน เพื่อความไว้วางใจของผู้ปกครอง และนักเรียนเอง จึง
จะได้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง
- ครู ต้องเป็นผู้ที่สามารถจัดตารางเวลา ให้กับตนเองได้
อย่างถูกต้อง และเต็มใจในการที่จะทำาความรู้จักกับบุคคลที่อยู่รอบ
บริบทของนักเรียน
ด้านการคัดกรอง
ปัญหาที่พบในด้านการคัดกรอง ครูที่ปรึกษา เมื่อคัดกรอง
นักเรียนเป็นกลุ่มแล้ว ทำาให้เด็กนักเรียนเกิดความรู้สึกว่า ตนแตก
ต่างจากผู้อื่น ทำาให้ไม่ได้รับความร่วมมือจากนักเรียน กลุ่มเสี่ยง
หรือกลุ่มมีปัญหาเท่าที่ควร อีกทั้ง การที่จะคัดกรองแยกประเภท
นักเรียน จะอาศัย ข้อมูลพื้นฐานจากการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
ไม่ได้อย่างเดียว ครูจะต้อง ยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่
เรียกว่า อคติ 4 มาพิจารณา ด้วยความเป็นธรรม โดยไม่ลำาเอียง
ตัดสินใจคัดกรองเด็ก เพราะเพียงแค่สาเหตุ ใน อคติ 4 ดังนี้ นั่นคือ
ครูจะต้องไม่ลำาเอียงในการแยกประเภทนักเรียน เพราะ ฉันทาคติ
ด้วยความรักใคร่ จะทำาให้เสียความยุติธรรม เพราะอ้างเอาความรัก
ใคร่หรือความชอบพอกัน ซึ่งมักเกิดกับตนเอง ญาติพี่น้อง และคน
สนิทสนม, ครูจะต้องไม่ลำาเอียงในการแยกประเภทนักเรียน เพราะ
โทสาคติ ความละเอียงเพราะความไม่ชอบ เกลียดชัง หรือโกรธ
แค้น จะทำาให้เสียความยุติธรรม เพราะความโกรธ หรือลุอำานาจ
โทสะ, ครูจะต้องไม่ลำาเอียงในการแยกประเภทนักเรียน เพราะ
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 11
โมหาคติ ความละเอียงเพราะความไม่รู้ หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
จะทำาให้เสียความรู้สึกยุติธรรมเพราะความสะเพร่า ความไม่ละเอียด
ถี่ถ้วน รีบตัดสินใจก่อนพิจารณาให้ดี และ ครูจะต้องไม่ลำาเอียงใน
การแยกประเภทนักเรียน เพราะ ภยาคติ ความลำาเอียงเพราะความ
กลัว จะทำาให้เสียความยุติธรรม เพราะมีความหวาดกลัว หรือเกรง
กลัวภยันตราย
แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูจะต้องทำาใจให้เป็นกลาง
โดยการปฏิบัติต่อนักเรียนทุกคนให้เหมาะสมเหมือนๆกัน ,ทำาได้
ด้วยการทำาใจให้หนักแน่น รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา และพยายาม
แยกเรื่องส่วนตัวกับเรื่องงานออกจากกัน ,ทำาด้วยการเปิดใจให้
กว้าง ทำาใจให้สงบ มองโลกในแง่ดี และยอมรับความคิดเห็นของผู้
อื่น และพยายามฝึกให้เกิดความกล้าหาญ โดยเฉพาะความกล้า
หาญทางจริยธรรม คือ กล้าคิด กล้าพูดในสิ่งที่ดีงาม ที่สำาคัญเมื่อครู
แยกประเภทนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจนแล้ว ควรเก็บเป็นความ
ลับ ไม่ให้นักเรียน หรือผู้ปกครองของนักเรียนทราบ แต่ครูควรเพิ่ม
ความเอาใจใส่ต่อเด็กนักเรียนมากขึ้น
แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ควรจัดโครงการเพื่อนช่วย
เพื่อน ให้เป็นโครงการประจำาของสถานศึกษา โดยให้ถือปฏิบัติว่า
เป็นภาระหน้าที่ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการต้องกระทำา
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการป้องกัน
นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการคัดกรอง
ได้แก่
- ครูที่ปรึกษา ควรสืบค้นประวัติทำาความรู้จักจากแหล่ง
ข้อมูล หลาย ๆแหล่งของนักเรียนไม่ควรรีบด่วนตัดสินใจ แยก
ประเภทการคัดกรองเด็กนักเรียน
- เมื่อคัดกรองนักเรียนแล้ว ครูที่ปรึกษา ควรรีบดำาเนินการ
แก้ไข
- ครูที่ปรึกษา ควรร่วมงานกับครูอื่น โดยทำางานกันเป็น
ทีม
- โรงเรียนควรสร้างแนวทางคัดกรองเด็กนักเรียนให้
ชัดเจน
- ใช้ความสัมพันธ์การมีส่วนร่วม กับผู้อื่น ที่มีหน้าที่
เกี่ยวข้องร่วมกันคัดกรองนักเรียนไม่ควรที่จะ คัดกรองนักเรียนด้วย
ความเห็นของครูที่ปรึกษาแต่เพียงผู้เดียว
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 12
ด้านการส่งเสริม
ปัญหาที่พบในด้านการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไข ครูที่
ปรึกษา หรือโรงเรียนขาดปัจจัย งบประมาณในการสนับสนุน เช่น
ค่าสวัสดิการของครูผู้รับผิดชอบ ซึ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่พบบ่อย
หากทุ่มเทใจอย่างเดียว ไม่มีงบประมาณ การส่งเสริม ป้องกัน และ
แก้ไข นักเรียนกลุ่มเสี่ยง การจัดกิจกรรมย่อมขาดการต่อเนื่อง, ครู
ที่ปรึกษาบางท่าน ขาดทักษะในการดำาเนินกิจกรรม ขาด
ประสบการณ์ในการสร้างสรรค์กิจกรรมการมีส่วนร่วม ซึ่งหากจะทำา
จริง ๆ ต้องอาศัยบุคคลากรอื่นที่มีทักษะความถนัด จำาเป็นที่จะต้องมี
ค่าใช้จ่าย ในการนี้ทำาให้งบประมาณมีบทบาทสำาคัญยิ่ง
แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูที่ปรึกษา และโรงเรียนควร
คัดสรรกิจกรรมที่เหมาะสมกับความถนัดและความสนใจของ
นักเรียน โดยต้องอาศัยพื้นฐาน ความถนัดของนักเรียนจากแบบ
ประเมินความพึงพอใจและข้อเสนอแนะของนักเรียน แต่ละกลุ่มเป็น
สำาคัญบูรณาการให้เกิดความสำาคัญของกิจกรรมเท่าเทียมกัน
แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ผู้บริหารสถานศึกษา ควร
ให้ความสำาคัญกับการอบรมกิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนาทักษะของ
ผู้เรียนแก่ครู โดยมีงบประมาณให้เพียงพอ เพื่อครูที่เข้ารับการ
อบรมจะได้นำามาเผยแผ่ และควรจะประสานงานขอความร่วมมือ ไป
ยังภาคีอื่น เช่น โรงพยาบาล หรือสถานีตำารวจ ในการเข้ามาให้
ความรู้ ความเข้าใจ ในด้าน ต่าง ๆ ของการพัฒนาทักษะชีวิต นอก
เหนือจากสาระการเรียนรู้ที่มีอยู่ภายในโรงเรียน , ควรส่งเสริมการ
จัดกิจกรรมเข้าค่ายต่าง ๆ ที่นักเรียนสนใจ เช่น ค่ายอาสา, ค่าย
ทักษะชีวิต,ค่ายสิ่งแวดล้อม,ค่ายธรรมะ,ค่ายดนตรี ค่ายกีฬา ฯลฯ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการป้องกัน
นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการส่งเสริม
ป้องกัน และแก้ไขได้แก่
- ทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมต่าง ๆ ครูที่ปรึกษา
ควรจะต้องทำาวิจัย หน้าเดียวสำารวจความพึงพอใจ และ ควรมี
คำาถามปลายเปิด เพื่อรับฟังความคิดเห็นของนักเรียนเพิ่มเติมอีก
ด้วย
- ครูควรสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน เช่น ให้ผล
คะแนน ในรายวิชา โดยการสร้างข้อตกลงกับนักเรียน
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 13
ด้านการ ป้องกัน และแก้ไข
ปัญหาที่พบในด้านการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไข ครูที่
ปรึกษา หรือโรงเรียนขาดปัจจัย งบประมาณในการสนับสนุน เช่น
ค่าสวัสดิการของครูผู้รับผิดชอบ ซึ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่พบบ่อย
หากทุ่มเทใจอย่างเดียว ไม่มีงบประมาณ การส่งเสริม ป้องกัน และ
แก้ไข นักเรียนกลุ่มเสี่ยง การจัดกิจกรรมย่อมขาดการต่อเนื่อง, ครู
ที่ปรึกษาบางท่าน ขาดทักษะในการดำาเนินกิจกรรม ขาด
ประสบการณ์ในการสร้างสรรค์กิจกรรมการมีส่วนร่วม ซึ่งหากจะทำา
จริง ๆ ต้องอาศัยบุคคลากรอื่นที่มีทักษะความถนัด จำาเป็นที่จะต้องมี
ค่าใช้จ่าย ในการนี้ทำาให้งบประมาณมีบทบาทสำาคัญยิ่ง
แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูที่ปรึกษา และโรงเรียนควร
คัดสรรกิจกรรมที่เหมาะสมกับความถนัดและความสนใจของ
นักเรียน โดยต้องอาศัยพื้นฐาน ความถนัดของนักเรียนจากแบบ
ประเมินความพึงพอใจและข้อเสนอแนะของนักเรียน แต่ละกลุ่มเป็น
สำาคัญบูรณาการให้เกิดความสำาคัญของกิจกรรมเท่าเทียมกัน
แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ผู้บริหารสถานศึกษา ควร
ให้ความสำาคัญกับการอบรมกิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนาทักษะของ
ผู้เรียนแก่ครู โดยมีงบประมาณให้เพียงพอ เพื่อครูที่เข้ารับการ
อบรมจะได้นำามาเผยแผ่ และควรจะประสานงานขอความร่วมมือ ไป
ยังภาคีอื่น เช่น โรงพยาบาล หรือสถานีตำารวจ ในการเข้ามาให้
ความรู้ ความเข้าใจ ในด้าน ต่าง ๆ ของการพัฒนาทักษะชีวิต นอก
เหนือจากสาระการเรียนรู้ที่มีอยู่ภายในโรงเรียน , ควรส่งเสริมการ
จัดกิจกรรมเข้าค่ายต่าง ๆ ที่นักเรียนสนใจ เช่น ค่ายอาสา, ค่าย
ทักษะชีวิต,ค่ายสิ่งแวดล้อม,ค่ายธรรมะ,ค่ายดนตรี ค่ายกีฬา ฯลฯ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการป้องกัน
นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการส่งเสริม
ป้องกัน และแก้ไขได้แก่
- ทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมต่าง ๆ ครูที่ปรึกษา
ควรจะต้องทำาวิจัย หน้าเดียวสำารวจความพึงพอใจ และ ควรมี
คำาถามปลายเปิด เพื่อรับฟังความคิดเห็นของนักเรียนเพิ่มเติมอีก
ด้วย
- ครูควรสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน เช่น ให้ผล
คะแนน ในรายวิชา โดยการสร้างข้อตกลงกับนักเรียน
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 14
ด้านการส่งต่อ ภายใน
ปัญหาที่พบในด้านการส่งต่อ ภายใน ครูที่ปรึกษามัก
ผลักภาระ ในการแก้ไขปัญหาไปให้ฝ่ายปกครอง หรือ กลุ่ม
แนะแนว ไม่แสวงหาวิธีแก้ไข หรือไม่พยายามแก้ไข,นักเรียนไม่
ยอมรับการตัดสินลงโทษ ดูได้จากการรายงานผู้ปกครองทำาให้
โรงเรียนประสบปัญหาบ่อย ๆ
แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูที่ปรึกษาจะต้องรีบแก้
ปัญหาเบื้องต้น และพยายามอย่าพึ่งลงโทษนักเรียน ,ที่สำาคัญควร
หากิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนทำาอย่าให้นักเรียนมีความรู้สึกผิด
โดยอาจจะร่วมกับครูกลุ่มสาระอื่น เช่น ให้ ประสานกับครูกลุ่มการ
งานอาชีพให้นักเรียนทำาแปลงผัก ปลูกผักให้เพื่อนนักเรียนและ
ตนเองกิน ฯลฯ
แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ควรหากิจกรรม ให้
นักเรียนทำาอย่างเป็นรูปธรรม ให้นักเรียนเกิดการมีส่วนร่วมที่
สำาคัญสร้างแรงเสริม เพิ่มแรงจูงใจ ลดการทำาโทษด้านลบ แล้ว
สังเกตพฤติกรรม หากยังไม่พัฒนาขึ้นก็ค่อยส่งต่อขอความร่วม
มือไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องภายในสถานศึกษา
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการ
ป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการส่งต่อ
ภายใน ได้แก่
- ผู้ที่รับการส่งต่อมาจากครูที่ปรึกษา ควรจะต้องเพิ่ม
ความหนักแน่นในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น พยายามอย่าให้
นักเรียนรู้สึกผิด ให้นักเรียนมีความรู้สึกว่าเมื่อถูกส่งต่อมาหาผู้ที่
เกี่ยวข้องนักเรียนมีความรู้สึกว่าปลอดภัย ไว้ใจ อบอุ่น พร้อมให้
ความร่วมมือ
- ฝ่ายที่ได้รับการส่งต่อ ควรเก็บข้อมูลพื้นฐานของแต่ละ
ปัญหาที่ตนเองพบ และพร้อมเสมอที่จะปฏิบัติหน้าที่ต่อด้วยความ
เต็มใจ อย่างมีความเมตตา และกรุณา
- หาแนวทางร่วมกับผู้ปกครองของนักเรียน ด้วยวิธีการ
มิตรภาพ ฉันท์มิตร
ด้านการส่งต่อ ภายนอก
ปัญหาที่พบในด้านการส่งต่อ ภายนอก โดยส่วนมาก
การส่งนักเรียนไปยังภาคีเครือข่ายมักมีค่าใช้จ่ายสูง เด็กจะต้องมี
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 15
ความผิดถึงขั้นไม่สามารถปกปิดความผิดไว้ได้ และไม่สามารถ
ใช้กระบวนการปกติภายในโรงเรียนจริง ๆ ส่วนมากมักเกี่ยวข้อง
กับ กฎหมาย และสุขภาพ อันเกิดจากวิธีการที่นักเรียนแก้ปัญหา
ด้วยตนเองผิดผิด
แนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรจัดกิจกรรมเสริม หรือ
ทัศนศึกษาให้นักเรียนเห็นสภาพจริงของ ผู้ที่ได้กระทำาผิด แล้วจะ
ได้รับการแก้ไขจากภาคีเครือข่ายอย่างไร เป็นการสร้างความ
ตระหนัก สำานึก และบทเรียนจากสภาพจริงให้นักเรียนสัมผัสเป็น
อุทาหรณ์ ที่สำาคัญควรสร้างภาคีเครือข่าย ร่วมมือ กับทางสถาน
ศึกษาในหนทางประนีประนอม
แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ควรสร้างทีมงานที่มีความ
รู้ความเข้าใจ และควรส่งเสริมให้นักเรียนมีการเรียนอาชีพเสริม
โดย อาจจะทำาข้อตกลง กับสถานบันการอาชีพในการฝึกอบรม
อาชีพเสริม เพื่อให้นักเรียนเกิดกระบวนการพัฒนาในความถนัด
ทางอาชีพของตน
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหาร
การป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้าน
การส่งต่อ ภายนอก ได้แก่
- ให้ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็น
ระบบ
- ควรสร้างภาคีเครือข่าย คู่ขนานที่เต็มใจช่วยเหลือ
- ผู้ที่ส่งต่อภายนอก ควรมีการกำากับ ติดตาม ดูแล
อย่างต่อเนื่อง
………………………………………………
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ใน
โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2
จากผลงานการวิจัยระดับปริญญาเอก ดุษฏีบัณฑิต
ทุนการศึกษา : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร
รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส
สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ
มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 16
ประธานกรรมการดำาเนินการ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
คลองจั่น จำากัด
คุณสมยศ ต้นประเสริฐ ผู้จัดการสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน
สุวรรณภูมิ จำากัด
คุณครูพวงเพชร โพธิ์สนาม คณะกรรมการผู้
พิจารณาทุนการศึกษา
เรื่อง : การพัฒนารูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง
ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2
โดย : พระมหาณรงค์ พลญาโณ / (พร้อมบัวป่า)
ที่อยู่ : โรงเรียนการกุศลวัดบ้านยางเครือ 109 หมู่ 2 ต.เมืองทุ่ง
อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45130
ปี : 2556

More Related Content

What's hot

คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40Weerachat Martluplao
 
การประกันคุณภาพการศึกษา2
การประกันคุณภาพการศึกษา2การประกันคุณภาพการศึกษา2
การประกันคุณภาพการศึกษา2Tualek Phu
 
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1guestb58ff9
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณMeaw Sukee
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา Mana Suksa
 

What's hot (11)

เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายในเครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
เครื่องมือการประกันคุณภาพภายใน
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
งานนำเสนอ การวิจัย การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ สพม.40
 
การประกันคุณภาพการศึกษา2
การประกันคุณภาพการศึกษา2การประกันคุณภาพการศึกษา2
การประกันคุณภาพการศึกษา2
 
Bp
BpBp
Bp
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 1บทนำ
 
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1เกณฑ์มาตรฐานเพา1
เกณฑ์มาตรฐานเพา1
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
 
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
รายงานประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา
 

Viewers also liked

Making the Mobile Web Native with PhoneGap
Making the Mobile Web Native with PhoneGapMaking the Mobile Web Native with PhoneGap
Making the Mobile Web Native with PhoneGapRoy Clarkson
 
Native Android Development Practices
Native Android Development PracticesNative Android Development Practices
Native Android Development PracticesRoy Clarkson
 
Spring Projects Infrastructure
Spring Projects InfrastructureSpring Projects Infrastructure
Spring Projects InfrastructureRoy Clarkson
 
Mobile Web Development with HTML5
Mobile Web Development with HTML5Mobile Web Development with HTML5
Mobile Web Development with HTML5Roy Clarkson
 
Extending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScript
Extending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScriptExtending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScript
Extending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScriptRoy Clarkson
 
Native Android Development with Spring
Native Android Development with SpringNative Android Development with Spring
Native Android Development with SpringRoy Clarkson
 

Viewers also liked (6)

Making the Mobile Web Native with PhoneGap
Making the Mobile Web Native with PhoneGapMaking the Mobile Web Native with PhoneGap
Making the Mobile Web Native with PhoneGap
 
Native Android Development Practices
Native Android Development PracticesNative Android Development Practices
Native Android Development Practices
 
Spring Projects Infrastructure
Spring Projects InfrastructureSpring Projects Infrastructure
Spring Projects Infrastructure
 
Mobile Web Development with HTML5
Mobile Web Development with HTML5Mobile Web Development with HTML5
Mobile Web Development with HTML5
 
Extending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScript
Extending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScriptExtending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScript
Extending Spring MVC with Spring Mobile and JavaScript
 
Native Android Development with Spring
Native Android Development with SpringNative Android Development with Spring
Native Android Development with Spring
 

Similar to รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้น

รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3Yodhathai Reesrikom
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)thananew
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาan1030
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1bb5311600637
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอkrupornpana55
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareKruManthana
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdf
2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdf2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdf
2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdfwidsanusak srisuk
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4Suwakhon Phus
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...Kobwit Piriyawat
 

Similar to รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้น (20)

รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
รายงาน SAR โดยกลุ่มงานประกันคุณภาพ โรงเรียนสุนทรภู่พิทยา บทที่ 3
 
25713 1
25713 125713 1
25713 1
 
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนกรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
กรอบความคิดระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
 
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swotแผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
แผนพัฒนา 61 ส่วนที่ 3 swot
 
Thaijo 1
Thaijo 1Thaijo 1
Thaijo 1
 
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
แผนยุทธศาตร์การแนะแนว55
 
วิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษาวิจัยสุขศึกษา
วิจัยสุขศึกษา
 
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
แผน11เฉี่ยดเรื่องเสี่ยงแอมพันธ์
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ2เอกสารประกอบการนำเสนอ
2เอกสารประกอบการนำเสนอ
 
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshareทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
ทดสอบอัพโหลดงานขึ้น slideshare
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdf
2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdf2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdf
2.วิธีปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ1.pdf
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
รายงานผลการจัดการเรียนรู้นวัตกรรมคุณธรรมนำความคิด เรื่องสารละลาย ชั้น ม.1 ครู...
 

รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำนักงานเขตพื้น

  • 1. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ใน โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 มีองค์ประกอบดังนี้ 1. แนวคิดพื้นฐาน วิสัยทัศน์ / ปรัชญา วิสัยทัศน์ (vision) รูปแบบการบริหารการป้องกัน นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 เป็นรูปแบบที่มุ่งมั่นใน การส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน และแก้ไขปัญหาแก่ผู้เรียนให้มีความรู้ คู่คุณธรรม มีศักยภาพในการพัฒนาตนเองตามหลักสูตรหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีความสามารถตามมาตรฐานการศึกษา ขั้นพื้นฐาน เน้นไปที่ ระบบดูแลป้องกันนักเรียนกลุ่ม, โครงการปี แห่งโรงเรียนสีขาว , “ บวร ” (บ้าน วัด โรงเรียน) และภาคีเครือ ข่ายหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกันพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียน ให้ ดี เก่ง และ มีความสุข พันธะกิจ (Mission) 1. ยกระดับคุณภาพการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ใน โรงเรียนขยายโอกาสให้สูงขึ้น มีคุณธรรม จริยธรรมและมีจิตสำานึก ในคุณค่าของความเป็นไทย 2. พัฒนาการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียน ขยายโอกาส ให้มีประสิทธิภาพ ยึดหลักคุณธรรม 8 ประการ และ เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน 3. พัฒนาครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้มีขีดความ สามารถในการปฏิบัติงานการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียน ขยายโอกาส ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. นำาระบบภาคีเครือข่ายมาใช้ในการการป้องกัน นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้ เรียน 5. พัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนให้มีนิสัยรักการเรียน ให้อ่านออก เขียนได้ 6. ส่งเสริมให้นักเรียนทุกคน ทุกกลุ่มมีส่วนร่วมในการ จัดกิจกรรมต่าง ๆ สร้างเสริมอาชีพสุจริต ด้วยตนเองโดยมีครูที่
  • 2. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 2 ปรึกษาคอยให้คำาปรึกษา และสนับสนุนให้นักเรียน อนุรักษ์สิ่ง แวดล้อม วัฒนธรรม ประเพณี อันดีงาม เป้าประสงค์ (Goal) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูทุกคน ใช้รูปแบบการป้องกัน นักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส ในการพัฒนาผู้เรียนให้ มีคุณภาพชีวิต มีพฤติกรรมที่เหมาะสม มีความรู้ ทักษะที่จำาเป็นตาม หลักสูตรในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง มีนิสัยรักการอ่าน รัก การเรียนรู้ รักการทำางาน คิดอย่างเป็นระบบสามารถทำางานร่วมกับ ผู้อื่นได้ ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมอันพึงประสงค์เต็มตามศักยภาพ ในการพัฒนา ตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการมีงานทำา มีเจตคติที่ดี ต่ออาชีพสุจริตอย่างต่อเนื่อง สามารถแก้ปัญหาให้ตนเอง และผู้อื่น ได้อย่างถูกวิธีอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข ได้อย่างยั่งยืน 2. มาตรฐานรูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่ม เสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 ประกอบไปด้วย 6 ด้าน ดังนี้ 2.1 ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ประกอบไป ด้วยตัวชี้วัด คือ 2.1.1 ตัวชี้วัดที่ 1.ครูที่ปรึกษาให้นักเรียนกรอกระเบียน สะสมของนักเรียนด้วยตนเองอย่างครบถ้วน เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 100 2.1.2 ตัวชี้วัดที่ 2.ครูที่ปรึกษามีการสัมภาษณ์นักเรียน เป็นรายบุคคลแล้วบันทึกไว้เป็นข้อมูลอย่างน้อย 3 ครั้งต่อภาคการ ศึกษา เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.1.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ครูที่ปรึกษามีการสัมภาษณ์ผู้ ปกครอง นักเรียนเป็นรายบุคคลแล้วบันทึกไว้เป็นข้อมูลอย่างน้อย 1 ครั้งต่อ ภาค เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 100
  • 3. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 3 2.1.4 ตัวชี้วัดที่ 4.ครูที่ปรึกษามีการวางแผนร่วมกับ นักเรียนและผู้ปกครองอย่างน้อย 1 ครั้งต่อภาคการศึกษา เกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ 100 การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จ ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นราย บุคคล วิธีการ เครื่องมือ ศึกษาข้อมูลจาก 1) ระเบียนสะสม 2) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) หรือ 3) อื่น ๆ เช่น - แบบประเมินความฉลาด ทางอารมณ์ (E.Q.) - แบบประเมินคุณธรรม (M.Q.) - แบบประเมินความฉลาด (I.Q.) - แบบประเมินความมุ่งมั่น นักเรียน (A.Q.) - การสัมภาษณ์นักเรียน - การสังเกตพฤติกรรม นักเรียน - การเยี่ยมบ้านนักเรียน ฯลฯ 1) ระเบียนสะสม 2) แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก (SDQ) หรือ 3) อื่น ๆ เช่น - แบบประเมินความฉลาด ทางอารมณ์ (E.Q.) - แบบประเมินคุณธรรม (M.Q.) - แบบประเมินความฉลาด (I.Q.) - แบบประเมินความมุ่งมั่น นักเรียน (A.Q.) - แบบสัมภาษณ์นักเรียน - แบบสัมภาษณ์ผู้ปกครอง และการเยี่ยมบ้าน - แบบบันทึกการตรวจ สุขภาพด้วยตนเอง ฯลฯ
  • 4. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 4 2.2 ด้านการคัดกรองเด็กนักเรียน ประกอบไปด้วยตัว ชี้วัด คือ 2.2.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาได้คัดกรองแยกประเภท ของนักเรียนจากระเบียนสะสมของนักเรียนเป็นรายบุคคลอย่าง ชัดเจนระหว่างกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง ได้ 100 % เต็ม เกณฑ์การ ประเมิน ร้อยละ 80 2.2.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ครูที่ปรึกษาได้คัดกรองแยกประเภท ของนักเรียนจากบันทึกการสัมภาษณ์นักเรียนเป็นรายบุคคลอย่าง ครบถ้วน ระหว่างกลุ่มปกติ ,กลุ่มเสี่ยง และกลุ่มช่วยเหลือ เกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ 80 2.2.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ครูที่ปรึกษาได้คัดกรองแยกประเภท ของนักเรียนจากบันทึกการสัมภาษณ์ผู้ปกครองเป็นรายบุคคลอย่าง ครบถ้วน ระหว่างกลุ่มปกติ และกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อย ละ 80 2.2.4 ตัวชี้วัด ที่ 4 ครูที่ปรึกษาคัดกรองนักเรียนในรูป แบบคณะกรรมการของโรงเรียน ด้วยแบบประเมินพฤติกรรมเด็ก SDQ ของกรมสุขภาพจิต เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการคัดกรองเด็กนักเรียน 2.3 ด้านการส่งเสริม ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด คือ 2.3.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาได้จัดกิจกรรมใน ห้องเรียนสำาหรับนักเรียน สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ 80 วิธีการ เครื่องมือ วิเคราะห์ข้อมูลจาก 1) ระเบียนสะสม 2) แบบประเมินพฤติกรรม เด็ก (SDQ) หรือ 3) แหล่งข้อมูลอื่น ๆ 1) เกณฑ์การคัดกรองนักเรียน 2) แบบสรุปผลการคัดกรอง และ ช่วยเหลือนักเรียน เป็นรายบุคคล 3) แบบสรุปผลการคัดกรอง นักเรียนเป็นห้องเรียน
  • 5. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 5 2.3.2 ตัวชี้วัดที่ 2 นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความพึง พอใจอย่างเห็นได้ชัดในกิจกรรมนั้นๆ โดยการสังเกตจากสภาพจริง เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการส่งเสริม 2.4 ด้านการ ป้องกัน และแก้ไข ประกอบไปด้วยตัวชี้ วัด คือ 2.4.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาได้วางแผนร่วมกับ นักเรียนกลุ่มปกติ เพื่อดำาเนินการ เพื่อนช่วยเพื่อน 2 ใน 3 ครั้งต่อ เดือน เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.4.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ครูที่ปรึกษาได้จัดประชุมผู้ปกครอง ของนักเรียนกลุ่มเสี่ยง 2 ใน 3 ครั้ง ต่อ ภาคการศึกษา เกณฑ์การ ประเมิน ร้อยละ 80 2.4.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความพึง พอใจต่อการจัดประชุม เสมอ เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.4.4 ตัวชี้วัดที่ 4 ครูที่ปรึกษาเต็มใจและพร้อมให้คำา ปรึกษาทุกครั้ง ที่เกิดเหตุผิดปกติกับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การ ประเมิน ร้อยละ 100 วิธีการส่งเสริม เครื่องมือ จัดกิจกรรมต่อไปนี้ 1) กิจกรรมโฮมรูม (Homeroom) 2) ประชุมผู้ปกครองชั้น เรียน (Classroom meeting) หรือ 3) กิจกรรมอื่น ๆ ที่ครู พิจารณาว่าเหมาะสมในการ ส่งเสริม นักเรียนให้มีคุณภาพมาก ขึ้น 1) แนวทางการจัดกิจกรรม โฮมรูม ของโรงเรียน 2) แนวทางการจัดกิจกรรม ประชุม ผู้ปกครองชั้นเรียน 3) แบบบันทึก/สรุปประเมิน ผลการดำาเนินกิจกรรม - กิจกรรมโฮมรูม - ประชุมผู้ปกครอง - กิจกรรมชั้นเรียน - อื่น ๆ
  • 6. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 6 2.4.5 ตัวชี้วัดที่ 5 ครูที่ปรึกษาร่วมกับผู้ปกครองของ นักเรียนกลุ่มเสี่ยงให้คำาปรึกษาทุกครั้ง ที่เกิดเหตุผิดปกติกับนักเรียน กลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.4.6 ตัวชี้วัดที่ 6 ในกรณีกลุ่มเสี่ยงยาเสพติด ได้ ประสาน งานเจ้าหน้าที่สาธารณสุข จัดกิจกรรม จิตบำาบัด 1 ครั้งต่อ ภาคการศึกษา เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.4.7 ตัวชี้วัดที่ 7 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงและผู้ปกครองมี ความพึงพอใจต่อกิจกรรม จิตบำาบัดทุกครั้ง เกณฑ์การประเมิน ร้อย ละ 80 2.4.8 ตัวชี้วัดที่ 8 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรม มี พฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น อย่างเห็นได้ชัดเจน เกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ 80 การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการป้องกัน และแก้ไข
  • 7. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 7 วิธีการป้องกัน และแก้ไข เครื่องมือ 1) ให้การปรึกษาเบื้องต้น 2) ประสานงานกับครูและ ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อการ จัดกิจกรรม สำาหรับการ ป้องกัน และการช่วยเหลือแก้ไขปัญหา ของนักเรียน 2.1 กิจกรรมในห้องเรียน 2.2 กิจกรรมเสริม หลักสูตร 2.3 กิจกรรมเพื่อน ช่วยเพื่อน (Buddy) 2.4 กิจกรรมซ่อมเสริม 2.5 กิจกรรมสื่อสารกับ ผู้ ปกครอง 1) ให้การปรึกษาเบื้องต้น 2) ประสานงานกับครูและ ผู้เกี่ยวข้องอื่น ๆ เพื่อการจัด กิจกรรมสำาหรับการป้องกัน และการช่วยเหลือแก้ไขปัญหา ของนักเรียน 2.1 กิจกรรมในห้องเรียน 2.2 กิจกรรมเสริม หลักสูตร 2.3 กิจกรรมเพื่อน ช่วยเพื่อน (Buddy) 2.4 กิจกรรมซ่อมเสริม 2.5 กิจกรรมสื่อสารกับ ผู้ ปกครอง 1) แนวทางการจัดกิจกรรมเพื่อ ป้องกันและแก้ไข ปัญหาของนักเรียน 5 กิจกรรม 2) แบบบันทึกสรุปผลการคัดกรอง และช่วยเหลือ นักเรียนเป็นรายบุคคล 3) แบบบันทึกรายงานผลการดูแล ช่วยเหลือนักเรียน 1) แนวทางการจัดกิจกรรม เพื่อป้องกันและแก้ไข ปัญหาของ นักเรียน 5 กิจกรรม 2) แบบบันทึกสรุปผลการคัดกรอง และช่วยเหลือ นักเรียนเป็นรายบุคคล 3) แบบบันทึกรายงานผลการดูแล ช่วยเหลือ นักเรียน
  • 8. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 8 2.5 ด้านการส่งต่อ ภายใน ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด คือ 2.5.1 ตัวชี้วัดที่ 1 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความพึงพอใจที่ ได้รับการส่งต่อภายใน เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.5.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ผู้ปกครองนักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีความพึง พอใจอย่างมาก ที่นักเรียนกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งต่อภายใน เกณฑ์ การประเมิน ร้อยละ 80 2.5.3 ตัวชี้วัดที่ 3 หลังจากการส่งต่อภายในนักเรียน กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมดีขึ้น อย่างเห็นได้ชัดเจน เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จด้านการส่งต่อภายใน 2.6 ด้านการส่งต่อ ภายนอก ประกอบไปด้วยตัวชี้วัด คือ 2.6.1 ตัวชี้วัดที่ 1 ครูที่ปรึกษาประสานงานกับหน่วยงาน บำาบัดจิตกับสาธารณสุข และโรงพยาบาล ทุกครั้งที่มีเหตุผิดปกติ รุนแรงเกิดขึ้นกับนักเรียนกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.6.2 ตัวชี้วัดที่ 2 ครูที่ปรึกษาประสานงานกับหน่วยงาน ปราบปรามของสถานีตำารวจ ทุก ครั้งที่มีเหตุการณ์รุนแรงเกิดขึ้นกับ นักเรียนกลุ่มเสี่ยง เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 2.6.3 ตัวชี้วัดที่ 3 ตัวชี้วัดที่ 3 หลังจากส่งต่อภายนอก โดยความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง เช่น สถานพินิจ วิธีการ เครื่องมือ 1) บันทึกการส่งนักเรียนไป ยังครูที่เกี่ยวข้องในการช่วย เหลือนักเรียนต่อไป เช่นครู แนะแนว ฝ่ายปกครอง ครู ประจำาวิชา ครูพยาบาล เป็นต้น ซึ่งเป็นการส่งต่อ ภายใน 1) แบบบันทึกการส่งต่อของครูที่ ปรึกษา 2) แบบรายงานแจ้งผลการช่วย เหลือนักเรียน
  • 9. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 9 นักเรียนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมดีขึ้นเป็นอย่างมาก เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 80 การดำาเนินการสู่ความสำาเร็จ ด้านการส่งต่อภายนอก 3. ข้อควรตระหนักในการใช้รูปแบบการบริหารการ ป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ปัญหาที่พบในด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ส่วน มากโรงเรียนขยายโอกาส จะถือเอาครูประจำาชั้นเรียนเป็นครูที่ ปรึกษา ซึ่งครูที่ปรึกษาควรจะเป็นครูที่มีภูมิลำาเนาใกล้กับนักเรียนให้ มากที่สุด เพราะหากได้ครูที่ปรึกษาเป็นบุคคลในพื้นที่ การเข้าถึง ข้อมูลของเด็กนักเรียนก็เป็นเรื่องง่าย และมีเวลาในการเก็บข้อมูล สามารถเข้าถึงสภาพจริงของนักเรียนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม ถ้า หากได้ครูที่ปรึกษาเป็นเพียงแค่ครูประจำาชั้น ต่างภูมิลำาเนากับ นักเรียน ครูก็แทบจะไม่มีเวลาไปทำาความรู้จักกับบริบทของนักเรียน เลย ทำาให้ขาดความเชื่อมั่นต่อผู้ปกครอง แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูควรจะสละเวลาออก เยี่ยมบ้านนักเรียน ทำาความรู้จักกับผู้ปกครองของนักเรียนอย่าง เต็มใจ ไม่ใช่ไปเพราะคำาสั่งโครงการออกเยี่ยมบ้านนักเรียนเฉย ๆ ที่สำาคัญการสัมภาษณ์ทำาความรู้จัก กับ ญาติ พี่น้อง หรือบุคคลที่ อาศัยอยู่ใกล้ ๆ บ้านของนักเรียน และผูกสัมพันธไมตรี กับบุคคล วิธีการ เครื่องมือ 1)บันทึกการส่งนักเรียนไปยัง ผู้เชี่ยวชาญภายนอกโดยครู แนะแนวหรือฝ่ายปกครองเป็น ผู้ดำาเนินการ 1) แบบบันทึกการส่งต่อของ โรงเรียน 2) แบบรายงานแจ้งผลการช่วย เหลือนักเรียน
  • 10. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 10 เหล่านี้ ทำาให้เราสามารถประเมินนักเรียนจากสภาพจริงที่ได้สัมผัส ร่วมกับชาวบ้านได้ สร้างความไว้วางใจในการส่งบุตร หลาน มาเข้า เรียนยังสถานศึกษา ที่ตนสังกัดอยู่ เป็นการกระจาย ผู้เรียน ไม่ให้ มารวมกันอยู่ที่โรงเรียนขนาดใหญ่แห่งเดียวอีกทางหนึ่งด้วย แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการ ป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการรู้จัก นักเรียนเป็นรายบุคคล ได้แก่ - ครูที่ปรึกษา ที่จะออกเก็บข้อมูลของนักเรียนเชิงลึกไม่ ว่าจะเป็นแบบสอบถาม หรือแบบสัมภาษณ์ควรที่จะเป็นครูในพื้นที่ เดียวกันกับนักเรียน หรือมีภูมิลำาเนาใกล้เคียง - ครู ควรสร้างความสัมพันธ์ อันแน่นแฟ้นกับผู้ปกครอง ของนักเรียน เพื่อความไว้วางใจของผู้ปกครอง และนักเรียนเอง จึง จะได้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงกับความเป็นจริง - ครู ต้องเป็นผู้ที่สามารถจัดตารางเวลา ให้กับตนเองได้ อย่างถูกต้อง และเต็มใจในการที่จะทำาความรู้จักกับบุคคลที่อยู่รอบ บริบทของนักเรียน ด้านการคัดกรอง ปัญหาที่พบในด้านการคัดกรอง ครูที่ปรึกษา เมื่อคัดกรอง นักเรียนเป็นกลุ่มแล้ว ทำาให้เด็กนักเรียนเกิดความรู้สึกว่า ตนแตก ต่างจากผู้อื่น ทำาให้ไม่ได้รับความร่วมมือจากนักเรียน กลุ่มเสี่ยง หรือกลุ่มมีปัญหาเท่าที่ควร อีกทั้ง การที่จะคัดกรองแยกประเภท นักเรียน จะอาศัย ข้อมูลพื้นฐานจากการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ไม่ได้อย่างเดียว ครูจะต้อง ยึดหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ เรียกว่า อคติ 4 มาพิจารณา ด้วยความเป็นธรรม โดยไม่ลำาเอียง ตัดสินใจคัดกรองเด็ก เพราะเพียงแค่สาเหตุ ใน อคติ 4 ดังนี้ นั่นคือ ครูจะต้องไม่ลำาเอียงในการแยกประเภทนักเรียน เพราะ ฉันทาคติ ด้วยความรักใคร่ จะทำาให้เสียความยุติธรรม เพราะอ้างเอาความรัก ใคร่หรือความชอบพอกัน ซึ่งมักเกิดกับตนเอง ญาติพี่น้อง และคน สนิทสนม, ครูจะต้องไม่ลำาเอียงในการแยกประเภทนักเรียน เพราะ โทสาคติ ความละเอียงเพราะความไม่ชอบ เกลียดชัง หรือโกรธ แค้น จะทำาให้เสียความยุติธรรม เพราะความโกรธ หรือลุอำานาจ โทสะ, ครูจะต้องไม่ลำาเอียงในการแยกประเภทนักเรียน เพราะ
  • 11. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 11 โมหาคติ ความละเอียงเพราะความไม่รู้ หรือความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ จะทำาให้เสียความรู้สึกยุติธรรมเพราะความสะเพร่า ความไม่ละเอียด ถี่ถ้วน รีบตัดสินใจก่อนพิจารณาให้ดี และ ครูจะต้องไม่ลำาเอียงใน การแยกประเภทนักเรียน เพราะ ภยาคติ ความลำาเอียงเพราะความ กลัว จะทำาให้เสียความยุติธรรม เพราะมีความหวาดกลัว หรือเกรง กลัวภยันตราย แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูจะต้องทำาใจให้เป็นกลาง โดยการปฏิบัติต่อนักเรียนทุกคนให้เหมาะสมเหมือนๆกัน ,ทำาได้ ด้วยการทำาใจให้หนักแน่น รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา และพยายาม แยกเรื่องส่วนตัวกับเรื่องงานออกจากกัน ,ทำาด้วยการเปิดใจให้ กว้าง ทำาใจให้สงบ มองโลกในแง่ดี และยอมรับความคิดเห็นของผู้ อื่น และพยายามฝึกให้เกิดความกล้าหาญ โดยเฉพาะความกล้า หาญทางจริยธรรม คือ กล้าคิด กล้าพูดในสิ่งที่ดีงาม ที่สำาคัญเมื่อครู แยกประเภทนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างชัดเจนแล้ว ควรเก็บเป็นความ ลับ ไม่ให้นักเรียน หรือผู้ปกครองของนักเรียนทราบ แต่ครูควรเพิ่ม ความเอาใจใส่ต่อเด็กนักเรียนมากขึ้น แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ควรจัดโครงการเพื่อนช่วย เพื่อน ให้เป็นโครงการประจำาของสถานศึกษา โดยให้ถือปฏิบัติว่า เป็นภาระหน้าที่ ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในโครงการต้องกระทำา ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการป้องกัน นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการคัดกรอง ได้แก่ - ครูที่ปรึกษา ควรสืบค้นประวัติทำาความรู้จักจากแหล่ง ข้อมูล หลาย ๆแหล่งของนักเรียนไม่ควรรีบด่วนตัดสินใจ แยก ประเภทการคัดกรองเด็กนักเรียน - เมื่อคัดกรองนักเรียนแล้ว ครูที่ปรึกษา ควรรีบดำาเนินการ แก้ไข - ครูที่ปรึกษา ควรร่วมงานกับครูอื่น โดยทำางานกันเป็น ทีม - โรงเรียนควรสร้างแนวทางคัดกรองเด็กนักเรียนให้ ชัดเจน - ใช้ความสัมพันธ์การมีส่วนร่วม กับผู้อื่น ที่มีหน้าที่ เกี่ยวข้องร่วมกันคัดกรองนักเรียนไม่ควรที่จะ คัดกรองนักเรียนด้วย ความเห็นของครูที่ปรึกษาแต่เพียงผู้เดียว
  • 12. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 12 ด้านการส่งเสริม ปัญหาที่พบในด้านการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไข ครูที่ ปรึกษา หรือโรงเรียนขาดปัจจัย งบประมาณในการสนับสนุน เช่น ค่าสวัสดิการของครูผู้รับผิดชอบ ซึ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่พบบ่อย หากทุ่มเทใจอย่างเดียว ไม่มีงบประมาณ การส่งเสริม ป้องกัน และ แก้ไข นักเรียนกลุ่มเสี่ยง การจัดกิจกรรมย่อมขาดการต่อเนื่อง, ครู ที่ปรึกษาบางท่าน ขาดทักษะในการดำาเนินกิจกรรม ขาด ประสบการณ์ในการสร้างสรรค์กิจกรรมการมีส่วนร่วม ซึ่งหากจะทำา จริง ๆ ต้องอาศัยบุคคลากรอื่นที่มีทักษะความถนัด จำาเป็นที่จะต้องมี ค่าใช้จ่าย ในการนี้ทำาให้งบประมาณมีบทบาทสำาคัญยิ่ง แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูที่ปรึกษา และโรงเรียนควร คัดสรรกิจกรรมที่เหมาะสมกับความถนัดและความสนใจของ นักเรียน โดยต้องอาศัยพื้นฐาน ความถนัดของนักเรียนจากแบบ ประเมินความพึงพอใจและข้อเสนอแนะของนักเรียน แต่ละกลุ่มเป็น สำาคัญบูรณาการให้เกิดความสำาคัญของกิจกรรมเท่าเทียมกัน แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ผู้บริหารสถานศึกษา ควร ให้ความสำาคัญกับการอบรมกิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนาทักษะของ ผู้เรียนแก่ครู โดยมีงบประมาณให้เพียงพอ เพื่อครูที่เข้ารับการ อบรมจะได้นำามาเผยแผ่ และควรจะประสานงานขอความร่วมมือ ไป ยังภาคีอื่น เช่น โรงพยาบาล หรือสถานีตำารวจ ในการเข้ามาให้ ความรู้ ความเข้าใจ ในด้าน ต่าง ๆ ของการพัฒนาทักษะชีวิต นอก เหนือจากสาระการเรียนรู้ที่มีอยู่ภายในโรงเรียน , ควรส่งเสริมการ จัดกิจกรรมเข้าค่ายต่าง ๆ ที่นักเรียนสนใจ เช่น ค่ายอาสา, ค่าย ทักษะชีวิต,ค่ายสิ่งแวดล้อม,ค่ายธรรมะ,ค่ายดนตรี ค่ายกีฬา ฯลฯ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการป้องกัน นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขได้แก่ - ทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมต่าง ๆ ครูที่ปรึกษา ควรจะต้องทำาวิจัย หน้าเดียวสำารวจความพึงพอใจ และ ควรมี คำาถามปลายเปิด เพื่อรับฟังความคิดเห็นของนักเรียนเพิ่มเติมอีก ด้วย - ครูควรสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน เช่น ให้ผล คะแนน ในรายวิชา โดยการสร้างข้อตกลงกับนักเรียน
  • 13. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 13 ด้านการ ป้องกัน และแก้ไข ปัญหาที่พบในด้านการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไข ครูที่ ปรึกษา หรือโรงเรียนขาดปัจจัย งบประมาณในการสนับสนุน เช่น ค่าสวัสดิการของครูผู้รับผิดชอบ ซึ่งเหล่านี้เป็นปัญหาที่พบบ่อย หากทุ่มเทใจอย่างเดียว ไม่มีงบประมาณ การส่งเสริม ป้องกัน และ แก้ไข นักเรียนกลุ่มเสี่ยง การจัดกิจกรรมย่อมขาดการต่อเนื่อง, ครู ที่ปรึกษาบางท่าน ขาดทักษะในการดำาเนินกิจกรรม ขาด ประสบการณ์ในการสร้างสรรค์กิจกรรมการมีส่วนร่วม ซึ่งหากจะทำา จริง ๆ ต้องอาศัยบุคคลากรอื่นที่มีทักษะความถนัด จำาเป็นที่จะต้องมี ค่าใช้จ่าย ในการนี้ทำาให้งบประมาณมีบทบาทสำาคัญยิ่ง แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูที่ปรึกษา และโรงเรียนควร คัดสรรกิจกรรมที่เหมาะสมกับความถนัดและความสนใจของ นักเรียน โดยต้องอาศัยพื้นฐาน ความถนัดของนักเรียนจากแบบ ประเมินความพึงพอใจและข้อเสนอแนะของนักเรียน แต่ละกลุ่มเป็น สำาคัญบูรณาการให้เกิดความสำาคัญของกิจกรรมเท่าเทียมกัน แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ผู้บริหารสถานศึกษา ควร ให้ความสำาคัญกับการอบรมกิจกรรมต่าง ๆ ในการพัฒนาทักษะของ ผู้เรียนแก่ครู โดยมีงบประมาณให้เพียงพอ เพื่อครูที่เข้ารับการ อบรมจะได้นำามาเผยแผ่ และควรจะประสานงานขอความร่วมมือ ไป ยังภาคีอื่น เช่น โรงพยาบาล หรือสถานีตำารวจ ในการเข้ามาให้ ความรู้ ความเข้าใจ ในด้าน ต่าง ๆ ของการพัฒนาทักษะชีวิต นอก เหนือจากสาระการเรียนรู้ที่มีอยู่ภายในโรงเรียน , ควรส่งเสริมการ จัดกิจกรรมเข้าค่ายต่าง ๆ ที่นักเรียนสนใจ เช่น ค่ายอาสา, ค่าย ทักษะชีวิต,ค่ายสิ่งแวดล้อม,ค่ายธรรมะ,ค่ายดนตรี ค่ายกีฬา ฯลฯ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการป้องกัน นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการส่งเสริม ป้องกัน และแก้ไขได้แก่ - ทุกครั้งที่มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมต่าง ๆ ครูที่ปรึกษา ควรจะต้องทำาวิจัย หน้าเดียวสำารวจความพึงพอใจ และ ควรมี คำาถามปลายเปิด เพื่อรับฟังความคิดเห็นของนักเรียนเพิ่มเติมอีก ด้วย - ครูควรสร้างแรงจูงใจให้กับนักเรียน เช่น ให้ผล คะแนน ในรายวิชา โดยการสร้างข้อตกลงกับนักเรียน
  • 14. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 14 ด้านการส่งต่อ ภายใน ปัญหาที่พบในด้านการส่งต่อ ภายใน ครูที่ปรึกษามัก ผลักภาระ ในการแก้ไขปัญหาไปให้ฝ่ายปกครอง หรือ กลุ่ม แนะแนว ไม่แสวงหาวิธีแก้ไข หรือไม่พยายามแก้ไข,นักเรียนไม่ ยอมรับการตัดสินลงโทษ ดูได้จากการรายงานผู้ปกครองทำาให้ โรงเรียนประสบปัญหาบ่อย ๆ แนวทางในการแก้ไขปัญหา ครูที่ปรึกษาจะต้องรีบแก้ ปัญหาเบื้องต้น และพยายามอย่าพึ่งลงโทษนักเรียน ,ที่สำาคัญควร หากิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนทำาอย่าให้นักเรียนมีความรู้สึกผิด โดยอาจจะร่วมกับครูกลุ่มสาระอื่น เช่น ให้ ประสานกับครูกลุ่มการ งานอาชีพให้นักเรียนทำาแปลงผัก ปลูกผักให้เพื่อนนักเรียนและ ตนเองกิน ฯลฯ แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ควรหากิจกรรม ให้ นักเรียนทำาอย่างเป็นรูปธรรม ให้นักเรียนเกิดการมีส่วนร่วมที่ สำาคัญสร้างแรงเสริม เพิ่มแรงจูงใจ ลดการทำาโทษด้านลบ แล้ว สังเกตพฤติกรรม หากยังไม่พัฒนาขึ้นก็ค่อยส่งต่อขอความร่วม มือไปยังผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องภายในสถานศึกษา ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหารการ ป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้านการส่งต่อ ภายใน ได้แก่ - ผู้ที่รับการส่งต่อมาจากครูที่ปรึกษา ควรจะต้องเพิ่ม ความหนักแน่นในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น พยายามอย่าให้ นักเรียนรู้สึกผิด ให้นักเรียนมีความรู้สึกว่าเมื่อถูกส่งต่อมาหาผู้ที่ เกี่ยวข้องนักเรียนมีความรู้สึกว่าปลอดภัย ไว้ใจ อบอุ่น พร้อมให้ ความร่วมมือ - ฝ่ายที่ได้รับการส่งต่อ ควรเก็บข้อมูลพื้นฐานของแต่ละ ปัญหาที่ตนเองพบ และพร้อมเสมอที่จะปฏิบัติหน้าที่ต่อด้วยความ เต็มใจ อย่างมีความเมตตา และกรุณา - หาแนวทางร่วมกับผู้ปกครองของนักเรียน ด้วยวิธีการ มิตรภาพ ฉันท์มิตร ด้านการส่งต่อ ภายนอก ปัญหาที่พบในด้านการส่งต่อ ภายนอก โดยส่วนมาก การส่งนักเรียนไปยังภาคีเครือข่ายมักมีค่าใช้จ่ายสูง เด็กจะต้องมี
  • 15. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 15 ความผิดถึงขั้นไม่สามารถปกปิดความผิดไว้ได้ และไม่สามารถ ใช้กระบวนการปกติภายในโรงเรียนจริง ๆ ส่วนมากมักเกี่ยวข้อง กับ กฎหมาย และสุขภาพ อันเกิดจากวิธีการที่นักเรียนแก้ปัญหา ด้วยตนเองผิดผิด แนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรจัดกิจกรรมเสริม หรือ ทัศนศึกษาให้นักเรียนเห็นสภาพจริงของ ผู้ที่ได้กระทำาผิด แล้วจะ ได้รับการแก้ไขจากภาคีเครือข่ายอย่างไร เป็นการสร้างความ ตระหนัก สำานึก และบทเรียนจากสภาพจริงให้นักเรียนสัมผัสเป็น อุทาหรณ์ ที่สำาคัญควรสร้างภาคีเครือข่าย ร่วมมือ กับทางสถาน ศึกษาในหนทางประนีประนอม แนวทางในการพัฒนาส่งเสริม ควรสร้างทีมงานที่มีความ รู้ความเข้าใจ และควรส่งเสริมให้นักเรียนมีการเรียนอาชีพเสริม โดย อาจจะทำาข้อตกลง กับสถานบันการอาชีพในการฝึกอบรม อาชีพเสริม เพื่อให้นักเรียนเกิดกระบวนการพัฒนาในความถนัด ทางอาชีพของตน ข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการบริหาร การป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ดเขต 2 ว่า ด้าน การส่งต่อ ภายนอก ได้แก่ - ให้ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็น ระบบ - ควรสร้างภาคีเครือข่าย คู่ขนานที่เต็มใจช่วยเหลือ - ผู้ที่ส่งต่อภายนอก ควรมีการกำากับ ติดตาม ดูแล อย่างต่อเนื่อง ……………………………………………… รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ใน โรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 จากผลงานการวิจัยระดับปริญญาเอก ดุษฏีบัณฑิต ทุนการศึกษา : ดร.ศุภชัย ศรีศุภอักษร
  • 16. รูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัดสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย พระ มหาณรงค์ พร้อมบัวป่า 16 ประธานกรรมการดำาเนินการ สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน คลองจั่น จำากัด คุณสมยศ ต้นประเสริฐ ผู้จัดการสหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน สุวรรณภูมิ จำากัด คุณครูพวงเพชร โพธิ์สนาม คณะกรรมการผู้ พิจารณาทุนการศึกษา เรื่อง : การพัฒนารูปแบบการบริหารการป้องกันนักเรียนกลุ่มเสี่ยง ในโรงเรียนขยายโอกาส สังกัด สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ร้อยเอ็ด เขต 2 โดย : พระมหาณรงค์ พลญาโณ / (พร้อมบัวป่า) ที่อยู่ : โรงเรียนการกุศลวัดบ้านยางเครือ 109 หมู่ 2 ต.เมืองทุ่ง อ.สุวรรณภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45130 ปี : 2556