SlideShare a Scribd company logo
1 of 141
I  สมองกับการเรียนรู้ II  สมองกับการจัดประสบการณ์กาเรียนรู้ III  การพัฒนาร่างกาย 3.1 การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่และกิจกรรมการเคลื่อนไหว 3.2 การพัฒนากล้ามเนื้อเล็กและศิลปะ IV  การพัฒนาทางสติปัญญา 4.1 การเรียนรู้ภาษาของเด็กปฐมวัย 4.2 การส่งเสริมทักษะการคิด V  พัฒนาทางอารมณ์และสังคม VI  การจัดตารางกิจกรรมประจำวัน การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
สมองกับการเรียนรู้ I
ความรู้เรื่องสมอง -  สมองเติบโตมากที่สุดช่วง  0-6  ปี  ใช่หรือไม่ -  สมองเรียนรู้ด้วยการสร้างใยประสาท  ใช่หรือไม่ -  สมองแบ่งเป็นซีกซ้าย  ( ภาษา คณิต เหตุผล )  กับซีกขวา  ( ดนตรี ศิลปะ มิติสัมพันธ์ )  ใช่หรือไม่
ใบกิจกรรมที่  1.1   ต่อภาพสมอง ชื่อ ..............  หน้าที่ .......... ชื่อ ..............  หน้าที่ ..........
ใบกิจกรรมที่  1.1   ต่อภาพสมอง ชื่อ ............... หน้าที่ .......... ชื่อ ............... หน้าที่ .......... ชื่อ ............... หน้าที่ .......... ชื่อ ............... หน้าที่ ..........
ใบกิจกรรมที่  1.1   ต่อภาพสมอง ชื่อ .................. หน้าที่ ............. ชื่อ .................. หน้าที่ ............. ชื่อ .................. หน้าที่ ............. ชื่อ .................. หน้าที่ .............
สมองส่วนคิด Cerebral Cortex สมองส่วนอยาก Limbic System “ Emotion” สมองใหญ่
หน้าที่สมองส่วนคิด ปัญญาภายนอก ความรู้ IQ เก่ง ปัญญาภายใน คุณธรรม EQ ดี เปลี่ยนแปลงโลกภายนอก ควบคุมสมองส่วนอยาก
สมองส่วนคิด ส่วนหน้า ส่วนข้าง ส่วนบน ส่วนหลัง ทำ คิด ฟัง เห็น พูด รู้สัมผัส
เซลประสาท ใยประสาทนำเข้า ตัวเซล ใยประสาทส่งออก จุดเชื่อมต่อ
มนุษย์ปัจจุบันพัฒนาการขึ้นมาเมื่อจาก 1 แสนปีก่อน จากบรรพบุรุษรุ่นแรกเมื่อ2ล้านปีก่อน 2  ล้านปี 1   แสนปี 2  แสนปี 1  ล้านปี habilis neanderthal erectus sapiens
สมองมนุษย์มีขนาดใหญ่กว่าบรรพบุรุษ รุ่นแรก 3 เท่า
สมองปลาวาฬมีขนาดใหญ่กว่ามนุษย์ 5 เท่า...!! แต่..ทำไมมนุษย์ฉลาดกว่าปลาวาฬมาก!!!
มนุษย์ปัจจุบันมีสมองขนาดเท่าเดิมแต่... 100,000  ปี 10,000  ปี   5,000  ปี 500  ปี   200  ปี   100  ปี 50  ปี   30  ปี  20  ปี  10  ปี ขวานหิน เพาะปลูก - เลี้ยงสัตว์ อารยธรรมโบราณ เครื่องพิมพ์ เครื่องจักรไอน้ำ รถยนต์ เครื่องบิน วิทยุ  คอมพิวเตอร์ ยานอวกาศลงดวงจันทร์ กระสวยอวกาศ โคลนนิ่ง - นาโนเทค
ทั้งหมดนี้คือลักษณะพิเศษของสมองมนุษย์ สมองแห่งการเรียนรู้ ความรู้ใหม่ ๆ ในระยะ  10  ปีที่ผ่านมา จะช่วยให้เราพัฒนาการเรียนรู้ได้อย่างก้าวกระโดด
แนวโน้มในการจัดการศึกษา   (Emerging Tread in Education) จิตวิทยาพัฒนาการ  (Cognitive Psychology 1950s) ความรู้เรื่องสมอง  (Neuroscience 1990s) การศึกษา ปี  2000 s (Educational Media 2000s)
สมองส่วนคิด Cerebral Cortex สมองส่วนอยาก Limbic System “ Emotion” สมองใหญ่
 
หน้าที่สมองส่วนคิด ปัญญาภายนอก ความรู้ IQ เก่ง ปัญญาภายใน คุณธรรม EQ ดี เปลี่ยนแปลงโลกภายนอก ควบคุมสมองส่วนอยาก
สมองส่วนคิด ส่วนหน้า ส่วนข้าง ส่วนบน ส่วนหลัง ทำ คิด ฟัง เห็น พูด รู้สัมผัส
เซลประสาท ใยประสาทนำเข้า ตัวเซล ใยประสาทส่งออก จุดเชื่อมต่อ
การจัดระเบียบใยประสาท สมองส่วนที่มี  การจัดระเบียบ  ใยประสาทจะเพิ่มการเชื่อมต่อใหม่ ๆ  ขึ้นจำนวนมาก
การจัดระเบียบใยประสาท ในช่วงนี้  ใยประสาทที่ ไม่ได้ใช้จะหายไป  ใยประสาทที่  ใช้บ่อย ๆ  จะหนาตัวขึ้น
อุปสรรคการเรียนรู้ ไม่ได้เรียนรู้ เรียนรู้ผิด ( ใยประสาทและ จุดเชื่อมโยงหายไป ) ( ใยประสาทของวงจร  การเรียนรู้ผิดหนาตัวขึ้น )
แรกเกิด 3  ปี 14  ปี ตัวอย่าง : การจัดระเบียบใยประสาท  บริเวณที่เกี่ยวข้องกับภาษา
แรกเกิด 6  เดือน 2  ปี ตัวอย่าง : การจัดระเบียบใยประสาท  บริเวณที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็น
ทิศทางการจัดระเบียบใยประสาท
    วัยทารก 0   -   2  ปี ปฐมวัย 3   -   5  ปี วัยเรียน 6   -   12  ปี วัยรุ่น   /  เยาวชน 13-20/25  ปี   ปัญญาภายนอก ( ความรู้ความสามารถ ) การใช้กล้ามเนื้อใหญ่   ประสาทรับรู้พื้นฐาน การใช้กล้ามเนื้อเล็ก   ภาษา จินตนาการ คณิตศาสตร์ การใช้เหตุผล   ดนตรีและศิลปะ ทักษะวิชาการ , วิชาชีพ , สังคม   ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ความผูกพันและ   ไว้วางใจ   การควบคุมอารมณ์ การรู้ถูกผิด ประหยัด มีวินัย ใฝ่รู้ อัตลักษณ์ทางเพศ อัตลักษณ์ทางสังคม
ความผูกพันและไว้วางใจ ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี การใช้กล้ามเนื้อใหญ่  ประสาทรับรู้พื้นฐาน ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง วัยทารก 0-2  ปี
การควบคุมอารมณ์  การรู้ถูกผิด ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี การใช้กล้ามเนื้อเล็ก  ภาษาจินตนาการ ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง ปฐมวัย 3-5  ปี
ประหยัด มีวินัย ใฝ่รู้ ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี คณิตศาสตร์การใช้เหตุผล ดนตรีและศิลปะ ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง วัยเรียน 6 - 12  ปี
อัตลักษณ์ทางเพศ อัตลักษณ์ทางสังคม ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี ทักษะวิชาการ ,  วิชาชีพ ,  สังคม ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง วัยรุ่น   /  เยาวชน  13   –   20/25   ปี
สมเด็จย่ากับในหลวง
 
 
 
 
 
ใบกิจกรรมที่  1.2  การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัย 1.  ปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้จากความรู้เรื่องสมองมีอะไรบ้าง โดยแบ่งเป็นปัจจัยด้านการจัดประสบการณ์ การจัดสิ่งแวดล้อม และครู 2.  ปัจจัยที่ยับยั้งการเรียนรู้จากความรู้เรื่องสมองมีอะไรบ้าง โดยแบ่งเป็นปัจจัยด้านการจัดประสบการณ์ การจัดสิ่งแวดล้อม และครู 3.  การดู  TV  และเล่นเกมสอดคล้องกับการทำงานของสมองในการเรียนรู้หรือไม่เพราะเหตุใด 4.  จากความรู้เรื่องสมอง ท่านคิดว่าโรงเรียนควรปรับปรุงอะไรบ้าง 5.  จากความรู้เรื่องสมอง ท่านคิดว่าครอบครัวควรปรับปรุงอะไรบ้าง
ออกกำลังกาย ยีนส์ ความรัก ดนตรีและศิลปะ สิ่งที่ท้าทายจาก กิจกรรม , สิ่งแวดล้อม อาหาร ปัจจัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้
เพื่อน สภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัย การฝึกวินัยที่ไม่เหมาะสม และทำให้อับอาย ความผิดปกติ ของการเรียนรู้ การทำร้าย ปัจจัยที่ยับยั้งการเรียนรู้
อาหารเพิ่มพลังสมอง ผัก โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ผลไม้ น้ำ น้ำเปล่า ปลา ไข่ โยเกิร์ต ถั่วเหลือง ผักใบเขียว บรอคโคลี  ถั่ว แครอท มะเขือเทศ กล้วย ส้ม   blueberries strawberries ข้าวกล้อง ถั่ว ลูกเดือย
TV กับการเรียนรู้ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สิ่งที่โรงเรียนและครอบครัวควรปรับปรุง ,[object Object],[object Object]
ประสบการณ์ สมองเรียนรู้อย่างไร การเชื่อมโยง   (connection) วงจร   (pathway) แบบแผน   (pattern)
ได้ฟัง  +  ได้เห็น ,  สัมผัส ฯลฯ ตัวอย่าง ออกเสียง เข้าใจและพูดคำว่า  “ ช้อน ”  ได้
การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นถูกเก็บไว้ในสมองในลักษณะใด ? เทป   VDO เครือข่ายการเชื่อมโยง
ทำไมสมองเรียนรู้ได้โดยแทบไม่มีขีดจำกัด ABC   เชื่อมโยงได้  3  x 2 x 1 = 6  แบบ  ABCD   เชื่อมโยงได้  4  x  3  x 2 x 1 = 24  แบบ  ( อักษร  10   ตัว   )  สมองเรามี เซลประสาท  1  แสนล้านตัว แต่ละตัวสามารถสร้าง การเชื่อมโดยได้ถึง  3  หมื่นจุด จะเกิดการเชื่อมโยงได้กี่แบบ  ! A  J   เชื่อมโยงได้  10  x  9  x  8 …x 1 = 3 ,628,800   แบบ
เครือข่ายการเชื่อมโยง อาศัยทั้งสมองทำงานร่วมกัน -  หลาย ๆ การรับรู้  ( เห็น ,  ฟัง ,  สัมผัส ,  ได้กลิ่น ,  รับรส ) -  สมองทั้ง  2  ซีก  ( ซ้าย ,  ขวา )
ความเครียด ,  ความกดดัน ,  น่าเบื่อ ผลของอารมณ์ด้านลบ ต่อการเรียนรู้ สมองหลั่งสารสื่อประสาท   Nor epinephrine ยับยั้งการเรียนรู้
ความสุข ,  สนุก ,  ภูมิใจ ,  มั่นใจ ผลของอารมณ์ด้านบวก ต่อการเรียนรู้ สมองหลั่งสารต่อประสาท   Dopamine,Serotonine ส่งเสริมการเรียนรู้
สมองกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ II
ความฉลาดไม่ได้เกิดจากขนาดแต่เกิดจากการเชื่อมโยง
ประสบการณ์ สมองเรียนรู้อย่างไร การเชื่อมโยง   (connection) วงจร   (pathway) แบบแผน   (pattern)
การจัดระเบียบใยประสาท สมองส่วนที่มี  การจัดระเบียบ  ใยประสาทจะเพิ่มการเชื่อมต่อใหม่ ๆ  ขึ้นจำนวนมาก
การจัดระเบียบใยประสาท ในช่วงนี้  ใยประสาทที่ ไม่ได้ใช้จะหายไป  ใยประสาทที่  ใช้บ่อย ๆ  จะหนาตัวขึ้น
อุปสรรคการเรียนรู้ ไม่ได้เรียนรู้ เรียนรู้ผิด ( ใยประสาทและ จุดเชื่อมโยงหายไป ) ( ใยประสาทของวงจร  การเรียนรู้ผิดหนาตัวขึ้น )
    วัยทารก 0   -   2  ปี ปฐมวัย 3   -   5  ปี วัยเรียน 6   -   12  ปี วัยรุ่น   /  เยาวชน 13-20/25  ปี   ปัญญา  ภายนอก ( ความรู้  ความสามารถ ) การใช้กล้ามเนื้อใหญ่   ประสาทรับรู้พื้นฐาน การใช้กล้ามเนื้อเล็ก   ภาษา จินตนาการ คณิตศาสตร์ การใช้  เหตุผล   ดนตรีและศิลปะ ทักษะวิชาการ , วิชาชีพ , สังคม   ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ความผูกพันและ   ไว้วางใจ   การควบคุมอารมณ์ การรู้ถูกผิด ประหยัด มีวินัย ใฝ่รู้ อัตลักษณ์  ทางเพศ อัตลักษณ์  ทางสังคม
สมองเรียนรู้ ด้วยการรู้ และ สร้างแบบแผน ,[object Object],[object Object],[object Object],แบบแผนจะเพิ่มพูนขึ้นเรื่อย ๆ จากง่ายสู่ยาก
การเรียนรู้ภาษา เชื่อมโยงกับคำว่า  “ ช้อน ”  ได้ ได้ฟัง  +  ได้เห็น ,  สัมผัส ฯลฯ ตัวอย่าง ออกเสียง เข้าใจและพูดคำว่า  “ ช้อน ”  ได้
คำ  ( ง่าย  ยาก ) ลำดับความง่าย ยาก ของการเรียนรู้ภาษา ประโยค  ( เดี่ยว  ซับซ้อน ) ข้อความ  ( สั้น  ยาว )
ประสบการณ์ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ เปรียบเทียบ ,  จำแนก เข้าใจ แก้ไขปัญหา  ( โจทย์ )
จำนวน  ( น้อย  มาก ) ลำดับความยาก ง่าาย ของการเรียนรู้คณิตศาสตร์ บวก  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม ) ลบ  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม ) คูณ  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม ) หาร  ( จำนวน  เศษส่วน  ทศนิยม )
ประสบการณ์ การเรียนรู้คุณธรรม ได้รับรางวัล ,  ถูกลงโทษ ยอมรับ ตามผู้ใหญ่ นำเข้าไว้ในตนเอง
ผูกพัน  สัมพันธภาพ  ไว้วางใจ ลำดับความยาก ง่ายของการเรียนรู้คุณธรรม สะกดอารมณ์  ควบคุมอารมณ์  ทำใจได้ รู้ถูกผิดในเรื่อง  การใช้ความรุนแรง  กรรมสิทธิ์  วาจา ( ศีลข้อ  1) ( ศีลข้อ  2) ( ศีลข้อ  4)
ใบกิจกรรมที่  2.1  แสดงบทบาทสมมุติ การจัดการชั้นเรียนที่มีปัญหา กลุ่มละ  1  กรณีโดยแสดงปฏิสัมพันธ์เชิงบวกและเชิงลบ กรณีที่  1  “ ห้องเรียนอนุบาลปีที่  2  เด็กไม่มีระเบียบวินัย เล่นแล้วไม่เก็บ ” กรณีที่  2  “ ห้องเรียนชั้นอนุบาลปีที่  1  ครูจัดกิจกรรม มอบหมายงาน ให้เด็กทำและเด็กทำไม่ได้ตามที่ครูคาดหวัง ” กรณีที่  3  “ ห้องเรียนชั้นอนุบาลปีที่  1  มีเด็กเล่นกันรุนแรง ใช้บล็อกตีศีรษะกัน ผลักกัน ” กรณีที่  4  “ ห้องเรียนชั้นอนุบาลปีที่  2  มีเด็กที่พูดหยาบคาย ”
S  = State   สุขภาวะ ทั้งกายและใจ สอนให้ สมาร์ท  สมองได้ฉลาด M = Meaning   ทำให้การเรียนรู้มีความหมายจาก ประสบการณ์รอบตัว A  = Attention   รักษาสมาธิ และความจดจ่อในการเรียนรู้ R  = Retention   ทำให้จำได้ โดยกิจกรรมที่หลากหลาย T  = Transfer   ส่งเสริมให้นำไปใช้
ความเครียด ,  ความกดดัน ,  น่าเบื่อ ผลของอารมณ์ด้านลบ ต่อการเรียนรู้ สมองหลั่งสารต่อประสาท   Nor epinephrine ยับยั้งการเรียนรู้
ความสุข ,  สนุก ,  ภูมิใจ ,  มั่นใจ ผลของอารมณ์ด้านบวก ต่อการเรียนรู้ สมองหลั่งสารต่อประสาท  Dopamine,Serotonine ส่งเสริมการเรียนรู้
การสื่อสร้างสุข อะไรสำคัญกว่า ? คำพูด ภาษา ท่าทาง
-  ชมการกระทำที่จำเพาะ คำพูด -  ถามให้คิด -  สะท้อนความรู้สึก -  แนะนำ ,  เสนอทางเลือก
-  สายตา ภาษา ท่าทาง -  สีหน้า -  น้ำเสียง -  สัมผัส -  ภาษากาย
การพัฒนาร่างกาย III 3.1  การพัฒนากล้ามเนื้อใหญ่ และกิจกรรมการเคลื่อนไหว
กล้ามเนื้อใหญ่และการเคลื่อนไหว พัฒนาร่างกาย  :  กล้ามเนื้อใหญ่ ( สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย  2546 ) Why ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],What ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],How ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กล้ามเนื้อใหญ่และการเคลื่อนไหว พัฒนาร่างกาย  :  กล้ามเนื้อใหญ่ ( เพิ่มเติมตามหลักการ  BBL ) Why ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],What ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],How ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เพลงที่ช่วยผ่อนคลายและสร้างแรงจูงใจ - ใช้เพลงบรรเลงจังหวะมาร์ชขณะเดินเข้าชั้นเรียนและการเคลื่อนไหว ที่ทำให้สมองพร้อม - ใช้เพลงที่มีจังหวะสอดคล้องกับการเต้นของหัวใจ เพื่อผ่อนคลาย ร่างกายและกระตุ้นให้สมองตื่นตัว - ใช้ดนตรีเข้าจังหวะเร็ว ๆ ขณะเก็บของใส่กระเป๋า - ใช้ดนตรีจังหวะชวนฝัน เพื่อการผ่อนคลายสำหรับการคิด  ทบทวน และช่วยปล่อยใจ - ใช้เพลงบรรเลงของโมสาร์ท  ( หรือที่คล้ายกัน )  ประกอบการเล่น  ออกแบบ เก็บข้อมูล แยกแยะข้อมูล - ใช้ดนตรีที่สื่ออารมณ์เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับกิจกรรมสร้างสรรค์
แบบบันทึกที่  1 ให้ผู้เข้ารับการอบรม บันทึกหลังการฟังวิทยากรบรรยาย ผลที่มีต่อพัฒนาการ ทางสมอง ลักษณะ การ เคลื่อนไหว ประเภทของการ เคลื่อนไหว
แบบบันทึกที่  2 ให้ผู้เข้ารับการอบรม บันทึกหลังการชมการเคลื่อนไหวของครู ที่ออกไปแสดงการเคลื่อนไหวในห้องประชุม ข้อดีที่ส่งผลต่อ พัฒนาการทางสมอง ลักษณะ การเคลื่อนไหว
การพัฒนาร่างกาย III 3.2  การพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก และกิจกรรมการศิลปะ
กล้ามเนื้อเล็กและศิลปะ พัฒนาร่างกาย  :  กล้ามเนื้อเล็ก ( สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ . ศ . 2546) Why เป็นโอกาสพัฒนาสมองส่วนหน้าที่ควบคุม กล้ามเนื้อเล็ก  การประสานมือ และ สบตา และประสานกายสัมผัสไปพร้อม ๆ กับ เรียนรู้การทำงานอย่างมีสมาธิและอดทนเรียนรู้ What ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],How - กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ - กิจกรรมเข้ามุม - กิจกรรมเล่นกลางแจ้ง - กิจกรรมกายสัมผัส
กล้ามเนื้อเล็กและศิลปะ พัฒนาร่างกาย  :  กล้ามเนื้อเล็ก ( เพิ่มเติมตามหลักการ  BBL ) Why พัฒนาจินตนาการโดย เชื่อมโยงประสบการณ์  ออกมาเป็นภาพ / รูปทรง What การใช้กิจกรรมศิลปะ  สร้างสรรค์ - วาด ,  ระบายสี - ปั้น - พับกระดาษ - ประดิษฐ์ How กิจรรมศิลปะเน้นที่จินตนาการและ ความคิดสร้างสรรค์  ไม่ใช่การลอกเรียนแบบ หรือทำให้เหมือนจริงหรือความถูกต้องของแสงเงา
กล้ามเนื้อเล็กและศิลปะ การทำงานศิลปะเพื่อส่งเสริมกล้ามเนื้อเล็กต้องอาศัยสมองทุกส่วน สายตาและการมองเห็น มือและการเคลื่อนไหว การเชื่อมประสาทของอวัยวะต่าง ๆ การคิดและการตัดสินใจ
กล้ามเนื้อเล็กและศิลปะ การทำกิจกรรมเชิงสร้างสรรค์  ( ศิลปะ ) -  ถามเนื้อหาของงาน  (Content) -  ถามกระบวนการสร้างสรรค์ -  ชื่นชม -  จัดแสดง - ช่วยกระตุ้นจินตนาการ - พัฒนาร่างกาย - สร้างความมั่นใจ / ภาคภูมิใจ
แนวคิด   กิจกรรมศิลปะ สามารถเชื่อมโยงการทำงาน ของสมองหลายด้าน และอวัยวะบางส่วน อิสระในการ คิดสร้างสรรค์ ผลงาน ศิลปะสร้างสรรค์ กล้ามเนื้อเล็ก สายตา การสังเกต จินตนาการ ความถึงพอใจ ทางอารมณ์
แบ่งกลุ่ม  5-6  คน เพื่อสาธิตการสอนศิลปะสร้างสรรค์ที่เชื่อมโยง การทำงานของสมองหลายด้านและอวัยวะหลายส่วน - กิจกรรมวาดภาพ - กิจกรรมปั้น - กิจกรรมเล่นสี  ( เป่า สี ดึงเชือก ฯลฯ ) - กิจกรรมการพิมพ์ภาพ - กิจกรรมพับ ฉีก ตัด ประ - กิจกรรมประดิษฐ์ ร้อย สาน ออกแบบ ใบกิจกรรมที่  3.2 ( ศิลปะ )
จินตนาการสำคัญกว่าความรู้ Imagination is more Important that knowledge อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์
การพัฒนาทางสติปัญญา IV 4.1  การเรียนรู้ภาษาของเด็กปฐมวัย
ภาพป้ายชื่อนักเรียนแสดงลำดับการมาเรียน
ซองใส่บัตรชื่อ
แผนภูมิวงกลมแสดงสภาพอากาศประจำวัน
แผนภูมิปฏิทินประจำเดือน
กิจกรรมพัฒนาความสามารถทางภาษา และ การสื่อสาร ด้วยการฟังและเล่านิทาน
กิจกรรมการอ่านอิสระ
ส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน
การอ่าน  /  ฟังคำคล้องจอง
เล่าเรื่องจากแผ่นภาพหรือสมุดภาพที่ไม่มีคำอธิบาย
จัดมุมหนังสือให้มีหนังสือหลากหลาย
ส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาด้านการเขียน
บัตรคำสำหรับติดที่วัสดุอุปกรณ์ ของใช้ประทำห้องเรียนและสถานที่
ความสำคัญของภาษา -  สื่อสาร -  พื้นฐานการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพชีวิต -  เป็นเครื่องมือพัฒนาสติปัญญา ฯลฯ
การเรียนรู้ภาษากับการทำงานของสมอง  (Why) ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
การพัฒนาภาษา  (What) -  กระตุ้นประสาทสัมผัสและภาษาตั้งแต่แรกเกิด -   ฟังและเห็นหลากหลาย มีความหมาย -   การอ่านหลายลักษณะ -   โอกาสในการร่วมกิจกรรมพัฒนาภาษา -   สร้างความมั่นใจในการแสดงออกทางภาษา ฯลฯ
กิจกรรมพัฒนาภาษา  (What) -  การฟังนิทาน กลอน  เรื่องยาว -   การท่องคำคล้องจอง -   การใช้คำถาม -   การเล่นบทบาทสมมุติ -   การจัดมุมหนังสือ -   การจัดกิจกรรม ศิลปะสร้างสรรค์ - ศึกษานอกสถานที่ - อ่านหนังสือให้ฟัง - ส่งเสริมการอ่านหลายลักษณะ - การฟังเพลง - การเล่านิทาน - จัดกิจกรรมส่งเสริมการพูด ฯลฯ
การพัฒนาการด้านสติปัญญา  :  ภาษา  ( เพิ่มเติมหลักการ  BBL  ) องค์ความรู้ด้านสมอง  Why 1. มนุษย์เรียนรู้เรื่องภาษาตั้งแต่ ทารก ในช่วงปฐมวัย  3-5  ปี และ ต่อเนื่องจนถึงก่อนวัยรุ่น 2. สมองส่วนคิดจะมีการจัดระเบียบใยประสาทด้านภาษา ส่วนที่ไม่ใช้จะหายไปส่วนที่ใช้บ่อย ๆ จะหนาตัวขึ้นจึงเป็น โอกาสแห่งการเรียนรู้ 3. เซลล์สมองเด็กมีการเชื่อม ต่อกัน เมื่อเด็กมีปฎิสัมพันธ์กับ สิ่งแวดล้อมและการรับรู้บ่อย ๆ วาดภาพ และเสียง ทำให้เกิดวงจรและแบบแผนการเรียนรู้ สาระ  /  ประสบการณ์สำคัญ  What 1. การจัดกิจกรรมอ่าน เขียน เด็ก ควรได้รับการกระตุ้นทั้งหู ตา และสัมผัสอื่นให้สอดคล้องกับวงจร ของสมอง 2. พัฒนาให้เด็กมั่นใจที่จะแสดง ความคิดเห็นและความรู้สึก 3. การจัดกิจกรรมส่งเสริมภาษาแก่เด็กตั้งแต่เยาว์วัย ด้วยวิธีการให้เด็ก ได้เข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ผ่าน  การฟัง การอ่านให้ฟังและให้อ่าน เรื่องที่น่าสนใจจะช่วยให้เด็ก ประสบผลสำเร็จสูง 1. ให้เด็กทำกิจกรรมที่เชื่อมโยงระหว่างการฟัง พูด อ่านและเขียน 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมประสบการณ์การอ่านหลายลักษณะ  เช่น  - อ่านให้ฟัง - อ่านด้วยกัน ( ครูกับเด็ก ) - อ่านเป็นกลุ่ม - อ่านเป็นคู่ - อ่านเดี่ยว วิธีการจัดประสบการณ์  How
การเรียนรู้ภาษา เชื่อมโยงกับคำว่า  “ ช้อน ”  ได้ ได้ฟัง  +  ได้เห็น ,  สัมผัส ฯลฯ ตัวอย่าง ออกเสียง เข้าใจและพูดคำว่า  “ ช้อน ”  ได้
แบบแผนการเรียนรู้ทางภาษา  ( ผ่านการอ่าน ) ฟัง ดู พูด ถาม เล่า อ่าน เชื่อมโยง สัญลักษณ์ สมองคิด รับรู้ ความหมาย + + + +
ระดับพัฒนาการการเรียนรู้ภาษา คำ กลุ่มคำ ( วลี ) ประโยค ข้อความ
กระตุ้นให้เด็กมีส่วนร่วมในการมองและได้ยินเสียงครูอ่านตัวหนังสือ ช่วยให้เด็กมีความเข้าในทิศทางของการอ่าน 5.  การชี้ตัวหนังสือ  (Track Print) ส่งเสริมความรู้สึกสนุกสนานในการอ่านและเสริมสร้างประสบการณ์ในการอ่านที่ดี เด็กแต่ละคนจะมีบทบาทเป็นผู้สนับสนุนเพื่อนและครูเป็นผู้สนับสนุนเด็กทุกคนให้เกิดความรู้สึกประสบความสำเร็จในการอ่าน 4. การอ่านร่วมกัน  (Shared Reading) ภาษาเป็นเรื่องของสังคม สื่อสาร ต้องมีการตั้งคำถาม อธิบาย แสดงความคิดเห็นรับฟัง และสื่อความเข้าใจในการกระทำและการพูดของผู้อื่นเป็นการสร้างกลุ่มการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ 3. การอ่านซ้ำ โดยให้เด็กคิดตั้งคำถาม และคิดวิจารณ์ ขณะที่อ่านครูจะหยุดฟังความคิดเห็นและฟังคำถามของเด็กไปทีละหน้าเปิดโอกาสให้เด็กมีเวลาดูภาพประกอบมากขึ้น ฝึกให้เด็กรับรู้โครงเรื่อง มีสมาธิในการคาดเดาเรื่อง 2.  การอ่านออกเสียงรวดเดียวให้จบเรื่องไม่มีการถามสอดแทรกระหว่างการอ่านให้ฟัง กระตุ้นความรู้เบื้องต้นของเด็ก การสังเกตความตื่นเต้น สนุกสนาน สร้างนิสัยของการคาดคะเน 1. การแนะนำหนังสือก่อนที่ครูจะเริ่มอ่านให้เด็กฟัง เช่น ดูปกหนังสือ ชื่อผู้แต่ง ผู้วาดภาพประกอบ และการให้เด็กคิด คาดเดาว่าเรื่องเด็กเห็นจากภาพปกน่าจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร เหตุผล  /  แนวคิดในการทำกิจกรรม กิจกรรม
เปิดโอกาสให้เด็กได้อ่านได้โดยลำพัง นำประสบการณ์เดิมในการอ่านหนังสือกับผู้ใหญ่หรือเพื่อนกลุ่มย่อยมาใช้ สร้างความรู้สึกประสบความสำเร็จและมั่นใจในความสามารถของตนเอง 10.  การอ่านอิสระ  (Independent Reading) สร้างความคุ้นเคย ฝึกออกเสียง ฝึกพูด โดยใช้ภาษาในเรื่อง เข้าใจความหมายของสิ่งที่อ่านมากขึ้น 9.  การอ่านซ้ำกับเพื่อนในกลุ่มย่อย ทำให้เด็กรับรู้ความสัมพันธ์ทางภาษาของสิ่งชี้แนะต่าง ๆ เด็กมีโอกาสเรียนรู้ตัวอักษรรูปร่าง และชื่อของตัวอักษร รู้จักสังเกตเชื่อมโยงชื่อตัวอักษรกับรูปร่างลักษณะของตัวอักษร เชื่อมโยงเสียงอ่านของคำในเนื้อเรื่องกับรูปคำที่เด็กเห็นตีพิมพ์อยู่ในเนื้อเรื่อง 8.  การพิจารณาลักษณะของตัวหนังสือในข้อความ ดูข้อความ คำเริ่มต้น คำซ้ำ ๆ ตัวหนังสือ ฝึกหาตัวอักษรที่เหมือนกันในหน้านั้น ใช้นิ้วลากตามรอยตัวหนังสืออ่านคำที่ขึ้นต้นด้วยตัวอักษรที่เหมือนกัน สร้างนิสัยฝึกการอ่าน กล้าทดลองอ่านจนจบประโยค พยายามหาข้อมูล คาดเดาคำที่เห็น และทำความเข้าใจรูปแบบของประโยค 7.  การเติมคำที่ขาดหายไปโดยการใช้ภาษาเขียน  (Written Cloze)  ครูใช้กระดาษ  post-it  ปิดคำทีต้องการเว้นไว้  1  คำหรือเขียนประโยคลงบนกระดานดำ และลบออกหึ่งคำให้เด็กนำบัตรคำมาเติมประโยคให้สมบูรณ์ ส่งเสริมให้เด็กคุ้นเคยกับประโยคที่ถูกต้องฝึกให้เด็กสังเกต และคาดคะเนคำที่อ่านโดยอาศัยสิ่งชี้แนะต่าง ๆ 6. การเติมคำศัพท์ลงในช่องว่าง  ( Cloze Activity)   ฝึกการเติมคำด้วยปากเปล่า  (Oral Cloze)  เมื่อครูอ่านถึงตอนใดที่คิดว่าเด็กส่วนมากจำได้คราจะหยุดอ่าน และปล่อยให้เด็กเติมคำในช่องว่างด้วยปากเปล่า เหตุผล  /  แนวคิดในการทำกิจกรรม กิจกรรม
ใบกิจกรรมที่  4.1 แบ่งกลุ่ม  5-6  คน เพื่ออภิปรายประเด็นต่อไปนี้ กลุ่มละ  1  เรื่อง 1. ท่านจะนำความรู้เรื่องแบบแผนการเรียนรู้ภาษาของเด็กปฐมวัยไปใช้จัดประสบ  การณ์เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางภาษา ในชั้นอนุบาล  ได้อย่างไร 2. จากแนวคิดเรื่องโอกาสในการเรียนรู้  (Window of Opportunity)  ซึ่ง เด็กปฐมวัยสามารถเรียนรู้ภาษาได้ตั้งแต่วัยทารก ท่านจะจัดกิจกรรมการเรียนอย่างไร เพื่อให้สอดคล้องกับแนวคิดนี้ 3.  ท่านคิดว่า เด็กอนุบาลปีที่  1-2  สามารถอ่าน - เขียนได้หรือไม่ ลักษณะการจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการอ่าน  –  เขียนของเด็กวัยนี้ที่สอดคล้องกับแบบแผนการเรียนรู้ภาษาควรจัดอย่างไร 4.  แบบแผนการเรียนรู้ภาษาและกระบวนการคิดมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 5.  ท่านจะนำความรู้เรื่องสมองกับการเรียนรู้ ไปใช้ส่งเสริมนิสัยรักการอ่านในเด็กปฐมวัยได้อย่างไร
การพัฒนาทางสติปัญญา IV 4.2  การส่งเสริมทักษะการคิด
ประสบการณ์ตาง  ( โดยการใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ) การสังเกต จำแนก และการเปรียบเทียบ ความคิด ความเข้าใจ
การจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดเป็นการสร้างจุดเชื่อมต่อที่จำเป็นในสมอง ซึ่งรองรับกระบวนการคิดรอบด้าน คือ การเรียนรู้ผ่านการสังเกต จำแนก เปรียบเทียบ  การเลียนแบบการแสดงความรู้สึกผ่านสื่อต่าง ๆ การเรียนรู้เกี่ยวกับจำนวนมิติสัมพันธ์  ( พื้นที่ / ระยะ )  และเวลา การเชื่อมโยงระหว่างธรรมชาติแวดล้อมกับ ชีวิตประจำวันของเด็ก
การจัดกิจกรรมในรูปแบบบูรณาการกิจกรรมผ่าน การเล่นกิจกรรมโครงการ การใช้คำถามกระตุ้นการคิด กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมฟังดนตรีบรรเลง การบริหารสมอง  (Brain Gym)
ใบกิจกรรมที่  4.2  การส่งเสริมทักษะการคิด แบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มละ  3-4  คน ให้แต่ละกลุ่มคิด วิธีจัดกิจกรรมส่งเสริมทักษะการคิด ทักษะการคิด จำนวน มิติสัมพันธ์ เวลา  อื่น ๆ  .... วิธีจัดกิจกรรม ........................... ........................... ........................... ........................... เหตุผลของการจัดกิจกรรม ............................ ............................ ............................ ............................ ให้เป็นบันทึกระว่างการสาธิตและนำเสนอผลงานด้วย
พัฒนาการทางอารมณ์และสังคม V
สมองกับอารมณ์ สมองส่วนคิด Cerebral Cortex สมองส่วนอยาก Limbic System “ Emotion”
เด็กเรียนรู้อารมณ์ผ่านกิจกรรม และปฏิสัมพันธ์ กิจวัตรประจำวัน กิจกรรมประจำวันและ สถานการณ์ต่าง ๆ
พัฒนาการทางอารมณ์ และสังคม การควบคุมอารมณ์   การรู้ถูกผิด ปัญญาภายใน ( คุณลักษณะ ) ดี การใช้กล้ามเนื้อเล็ก  ภาษาจินตนาการ ปัญญาภายนอก  ( ความรู้ความสามารถ ) เก่ง ปฐมวัย 3-5  ปี
ประสบการณ์ การเรียนรู้ในการควบคุมอารมณ์ ได้รับรางวัล ,  ถูกลงโทษ ยอมรับ ตามผู้ใหญ่ นำเข้าไว้ในตนเอง
ลำดับความยาก ง่ายของการควบคุมอารมณ์ สะกดอารมณ์  ควบคุมอารมณ์  ทำใจได้
การควบคุมอารมณ์ ความต้องการ ความโกรธ
การพัฒนาอารมณ์กับความรู้เรื่องสมอง ข้อคำนึงของ พัฒนาอารมณ์ของเด็ก การก่อตัวของอารมณ์ เป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพ การพัฒนาอารมณ์ ไม่ได้ผ่านเหตุผลเพียงอย่างเดียว การรู้คุณค่าของตนเอง  ช่วยในเรื่องการมีปฏิกิริยาทางอารมณ์
แบบประเมิน  (Checklist) ท่านเห็นด้วยหรือไม่ เด็กปฐมวัยเรียนรู้ว่าควรทำ ไม่ควรทำจากคำพูดมากว่าภาษาท่าทางและการกระทำของผู้ใหญ่ 3 เปิ้ลหยิบตัวต่อกลับบ้านแล้วครูจับได้ จึงนำมาเล่นหน้าห้องเพื่อไม่ได้เด็กอื่นเอาอย่าง 2 นิดและหน่อยเรียนอยู่ชั้นอนุบาลศึกษาปีที่  2  กำลังเล่นต่อบล็อกอย่างสนุกสนาน ต่อมาเกิดแย่งไม้บล็อกทั้งคู่จึงทะเลาะกัน ครูตัดสินโดยการลงโทษทั้งคู่ เพื่อจะได้ไม่ทำอีก 1  ไม่เห็นด้วย เห็นด้วย รายการ ที่
ใบกิจกรรมที่  5.1  1. แบ่งกลุ่ม  3-4  คน 2. แต่ละกลุ่มวิเคราะห์การจัดกิจกรรมที่มีผลต่ออารมณ์ทางบวก  /  ทางลบ  ตามแบบฟอร์มที่กำหนดให้ เกมการศึกษา กลางแจ้ง เสริมประสบการณ์ เล่นตามมุม สร้างสรรค์ เคลื่อนไหว การจัดกิจกรรม ที่ทำให้เกิดอารมณ์ในทางลบ การจัดกิจกรรม ที่ส่งเสริมอารมณ์ทางบวก กิจกรรม
พัฒนาการทางสังคม ความสัมพันธ์กับผู้อื่น รู้ถูก รู้ผิด
รู้ถูกผิดในเรื่อง  การใช้ความรุนแรง  กรรมสิทธิ์  วาจา ( ศีลข้อ  1) ( ศีลข้อ  2) ( ศีลข้อ  4) ลำดับความยาก ง่ายของการรู้ถูกผิด
การเล่านิทาน เด็กเรียนรู้อารมณ์ผ่านกิจกรรม และปฏิสัมพันธ์ กิจวัตรประจำวัน กิจกรรมประจำวันและ สถานการณ์ต่าง ๆ
ใบกิจกรรมที่  5.2  แบ่งกลุ่ม ๆ ละ  5-6  คน  แต่ละกลุ่มให้แต่ละคนเลือกนิทานคนละ  1  เรื่อง นำเสนอกลุ่ม กลุ่มเลือกเพียง  1  เรื่องนำเสนอที่ประชุม ( เป็นนิทานที่ส่งเสริมให้เด็กรู้ถูกผิด ควบคุมอารมณ์ )
การพัฒนาอารมณ์  /  สังคม หลักการ  การจัดประสบการณ์ วิธีจัดประสบการณ์ การควบคุมอารมณ์ การรู้ถูก  -  รู้ผิด ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ความอยาก  ความโกรธ กิจกรรม
การส่งเสริมการเรียนรู้ของเด็ก มีเสรีภาพ มีการสร้างสรรค์ มีชีวิตชีวา ได้รับรางวัล  /  ลงโทษ ให้ความรัก ,  ความอบอุ่น มีการโอบกอด ฯลฯ คำพูด ภาษา ท่าทาง
-  ชมการกระทำที่จำเพาะ คำพูด -  ถามให้คิด -  สะท้อนความรู้สึก -  แนะนำ ,  เสนอทางเลือก
-  สายตา ภาษา ท่าทาง -  สีหน้า -  น้ำเสียง -  สัมผัส -  ภาษากาย
ครูอนุบาลมีมือกายสิทธิ์ เนรมิตคุณภาพดีที่สุด เด็กดีเลวต่ำทรามความโทรมทรุด ก้าวหรือหยุดอยู่ที่มือนี้เอง ศ . สุมน  อมรวิวัฒน์
การจัดตารางกิจกรรมประจำวัน ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย VI
การจัดตารางกิจกรรมประจำวันตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย  พุทธศักราช  2546  โดยประยุกต์เรื่องการทำงานและพัฒนาการของสมองเด็กปฐมวัย
ตัวอย่างตารางกิจกรรมประจำวัน ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย  พุทธศักราช  2546 8.00-9.00  รับเด็ก เคารพธงชาติ 9.00-9.30  กิจกรรมดนตรีเข้าจังหวะ 9.30-10.30  กิจกรรมเสรี 10.30-10.40  พัก  ( รับประทานอาหารว่าง ) 10.40-11.20  กิจกรรมกลางแจ้ง 11.20-11.30  พัก  ( ล้างมือ ล้างเท้า ) 11.30-11.50  กิจกรรมเสริมประสบการณ์ 11.50-13.00  พัก  ( รับประทานอาหารกลางวัน ) 13.00-15.00  นอนพักผ่อน 15.00-15.10  เก็บที่นอน ล้างหน้า 15.10-15.30  พัก  ( รับประทานอาหารว่าง ) 15.30-15.50  เล่านิทาน 15.50-16.00  เตรียมตัวกลับบ้าน 8.00-8.30  รับเด็ก 8.30-8.45  เคารพธงชาติ สวดมนต์ 8.45-9.00  ตรวจสุขภาพ ไปห้องน้ำ 9.00-9.20  กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ 9.20-10.20  กิจกรรมสร้างสรรค์และการเล่นตามมุม 10.20-10.30  พัก  ( ของว่างเช้า ) 10.30-10.45  กิจกรรมในวงกลม 10.45-11.30  กิจกรรมกลางแจ้ง 11.30-12.00  พัก  ( รับประทานอาหารกาลางวัน ) 12.00-14.00  นอกพักผ่อน 14.00-14.20  เก็บที่นอนล้างหน้า 14.20-14.30  พักของว่างบ่าย 14.30-14.50  เกมการศึกษา 14.50-15.00  เตรียมตัวกลับบ้าน  ตัวอย่างแบบที่  2 ตัวอย่างแบบที่  1
ใบกิจกรรมที่  6 แบ่งกลุ่ม  5-6  คน วิเคราะห์กิจกรรมที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ของสมองว่าจะนำมาใช้ได้กับตารางกิจกรรมประจำวันของเด็กปฐมวัยได้อย่างไร กิจกรรมเกมการศึกษา กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมเสริมประสบการณ์ กิจกรรมเล่นตามมุม กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมที่สอดคล้อง กับการเรียนรู้ของสมอง การจัดตารางกิจกรรมประจำวัน
- การเล่นในมุมบ้าน มุมบล็อก มุมช่างไม้ - มุมหนังสือ มุมธรรมชาติ มุมศิลปะ 3. กิจกรรมเล่นตามมุม - วาดภาพ ระบายสี ปั้น พับ ตัด ปะ ร้อย สาน - ปั้น พับ ฉีก ตัด ปะ พิมพ์ภาพ ออกแบบ - การพัฒนาระบบกายสัมผัส โดยใช้วัสดุที่มี ผิวสัมผัสหลากหลาย 2. กิจกรรมสร้างสรรค์ - การเคลื่อนไหวสร้างสรรค์ - การฝึกจังหวะสร้างสรรค์ - การบริหารสมอง  (Brain Gym) - ดนตรี 1. กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ ตัวอย่างกิจกรรมที่สอดคล้องกับ การทำงานของสมอง กิจกรรมหลัก  6  กิจกรรม ( หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย )
- การฝึกทักษะการคิด - การฝึกทักษะภาษา 6. เกมการศึกษา - การเล่นเครื่องเล่นสนาม - เกมการละเล่นพื้นบ้าน - การเล่นอิสระ 5. กิจกรรมกลางแจ้ง - การอ่านร่วมกัน  –  การอ่านคำคล้องจอง - การอ่านกลุ่มย่อย  –  ฝึกทักษะการคิด - การอ่านอิสระ  –  การฟังนิทาน 4. กิจกรรมเสริมประสบการณ์ ตัวอย่างกิจกรรมที่สอดคล้องกับ การทำงานของสมอง กิจกรรมหลัก  6  กิจกรรม ( หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย )

More Related Content

Viewers also liked

Selenokhod for sponsors
Selenokhod for sponsorsSelenokhod for sponsors
Selenokhod for sponsorsSelenokhod
 
Presentació figueres 1
Presentació figueres 1Presentació figueres 1
Presentació figueres 1montboro
 
הביקוש לדירות מגורים מיכאל שראל
הביקוש לדירות מגורים מיכאל שראלהביקוש לדירות מגורים מיכאל שראל
הביקוש לדירות מגורים מיכאל שראלAnochi.com.
 
Universal design enacting accessible discussions
Universal design   enacting accessible discussionsUniversal design   enacting accessible discussions
Universal design enacting accessible discussionsIlene Dawn Alexander
 
גישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שני
גישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שניגישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שני
גישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שניAnochi.com.
 
Happy Birthday Diane!!
Happy Birthday Diane!!Happy Birthday Diane!!
Happy Birthday Diane!!Debi
 
פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק
פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק
פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק Anochi.com.
 
Sortida a figueres
Sortida a figueresSortida a figueres
Sortida a figueresmontboro
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machineninewyuya
 
We Write to Work Out What We Think
We Write to Work Out What We ThinkWe Write to Work Out What We Think
We Write to Work Out What We ThinkIlene Dawn Alexander
 
העצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el ani
העצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el aniהעצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el ani
העצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el aniAnochi.com.
 
Blackbookcommunism
BlackbookcommunismBlackbookcommunism
BlackbookcommunismAnochi.com.
 
חגי גולדמן מיה מחשבים
חגי גולדמן מיה מחשביםחגי גולדמן מיה מחשבים
חגי גולדמן מיה מחשביםAnochi.com.
 
Hawaii linkedin social media bootcamp v1.pptx
Hawaii linkedin social media bootcamp v1.pptxHawaii linkedin social media bootcamp v1.pptx
Hawaii linkedin social media bootcamp v1.pptxMargo Rose
 
Quantity demanded for new dwellings january 2013
Quantity demanded for new dwellings january 2013Quantity demanded for new dwellings january 2013
Quantity demanded for new dwellings january 2013Anochi.com.
 
Open sourcebridge managing_client_expectations
Open sourcebridge managing_client_expectationsOpen sourcebridge managing_client_expectations
Open sourcebridge managing_client_expectationsAmye Scavarda
 
חוק הספרים 2012
חוק הספרים 2012חוק הספרים 2012
חוק הספרים 2012Anochi.com.
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2ninewyuya
 

Viewers also liked (20)

Selenokhod for sponsors
Selenokhod for sponsorsSelenokhod for sponsors
Selenokhod for sponsors
 
Presentació figueres 1
Presentació figueres 1Presentació figueres 1
Presentació figueres 1
 
הביקוש לדירות מגורים מיכאל שראל
הביקוש לדירות מגורים מיכאל שראלהביקוש לדירות מגורים מיכאל שראל
הביקוש לדירות מגורים מיכאל שראל
 
Universal design enacting accessible discussions
Universal design   enacting accessible discussionsUniversal design   enacting accessible discussions
Universal design enacting accessible discussions
 
גישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שני
גישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שניגישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שני
גישת השוק החופשי לניהול גנים לאומיים ושמורות טבע אמיר שני
 
Happy Birthday Diane!!
Happy Birthday Diane!!Happy Birthday Diane!!
Happy Birthday Diane!!
 
פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק
פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק
פרוטוקול ישיבה ועדה מחוזית צפון 190614 אפק
 
Sortida a figueres
Sortida a figueresSortida a figueres
Sortida a figueres
 
Universal Design Recommended
Universal Design RecommendedUniversal Design Recommended
Universal Design Recommended
 
Turing machine
Turing machineTuring machine
Turing machine
 
We Write to Work Out What We Think
We Write to Work Out What We ThinkWe Write to Work Out What We Think
We Write to Work Out What We Think
 
העצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el ani
העצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el aniהעצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el ani
העצמה של ניהול סיכונים (2) zalman el ani
 
Blackbookcommunism
BlackbookcommunismBlackbookcommunism
Blackbookcommunism
 
חגי גולדמן מיה מחשבים
חגי גולדמן מיה מחשביםחגי גולדמן מיה מחשבים
חגי גולדמן מיה מחשבים
 
Hawaii linkedin social media bootcamp v1.pptx
Hawaii linkedin social media bootcamp v1.pptxHawaii linkedin social media bootcamp v1.pptx
Hawaii linkedin social media bootcamp v1.pptx
 
Quantity demanded for new dwellings january 2013
Quantity demanded for new dwellings january 2013Quantity demanded for new dwellings january 2013
Quantity demanded for new dwellings january 2013
 
Open sourcebridge managing_client_expectations
Open sourcebridge managing_client_expectationsOpen sourcebridge managing_client_expectations
Open sourcebridge managing_client_expectations
 
חוק הספרים 2012
חוק הספרים 2012חוק הספרים 2012
חוק הספרים 2012
 
Turing machine2
Turing machine2Turing machine2
Turing machine2
 
Islamophobia
IslamophobiaIslamophobia
Islamophobia
 

Similar to การใช้เหตุผล

สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.PdfAwantee
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการaaesahasmat
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงLove Oil
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์nopthai
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน nimaskah
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน nimaskah
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 

Similar to การใช้เหตุผล (20)

Brains
BrainsBrains
Brains
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
การศึกษา
การศึกษาการศึกษา
การศึกษา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ02 พัฒนาการ
02 พัฒนาการ
 
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
จัดการความรู้ คุณธรรมนำความรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
นางสาวนพวรรณ สุวรรณวัฒน์
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
 
อีริคสัน 
อีริคสัน อีริคสัน 
อีริคสัน 
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 

More from Dowroong Wittaya School

More from Dowroong Wittaya School (6)

ประเพณีท้องถิ่น
ประเพณีท้องถิ่นประเพณีท้องถิ่น
ประเพณีท้องถิ่น
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
ความพร้อมของหน่วยงาน
ความพร้อมของหน่วยงานความพร้อมของหน่วยงาน
ความพร้อมของหน่วยงาน
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
 
สังคมประกิต
สังคมประกิตสังคมประกิต
สังคมประกิต
 

การใช้เหตุผล