SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
บทที่ 12
กลศาสตร์ของไหล
กลศาสตร์ของไหลแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือสถิตศาสตร์ของไหล เป็นการศึกษาของไหลที่อยู่นิ่ง
ซึ่งอยู่ในสภาวะสมดุล เป็นไปตามกฎข้อที่ 1 ของนิวตัน พลศาสตร์ของไหล เป็นการศึกษาของ
ไหลที่เคลื่อนที่
สถิตศาสตร์ของไหล
ของไหล หมายถึงของเหลว และแก๊ส
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่นของวัตถุคือ มวลต่อหนึ่งหน่วยปริมาตร
ความหนาแน่นมีหน่วยเป็น kgm-3 แทนด้วยสัญลักษณ์กรีก  (อ่านว่า rho,โร)
 =
V
m
gcm-3
gcm-3
2.7 10.5
8.6 7.8
8.9 13.6
19.3 0.81
0.92 0.90
7.8 1.26
11.3 1.00
21.4 1.03
ความหนาแน่นสัมพัทธ์ (เดิมเรียกว่าความถ่วงจาเพาะ) คือ ความหนาแน่นของวัสดุนั้นเทียบ
กับความหนาแน่นของวัสดุที่ใช้เป็นมาตรฐาน ว่ามีค่าเป็นกี่เท่าของความหนาแน่นของวัสดุ
มาตรฐาน โดยทั่วไปถ้าเป็นของแข็งหรือของเหลวเราจะให้น้าเป็นวัสดุมาตรฐาน แต่ถ้าเป็นแก๊ส
นิยมใช้ออกซิเจนเป็นวัสดุมาตรฐาน
=
นของน้ำควำมหนำแน่
นวัสดุควำมหนำแน่
ความดันในของไหล
ความดันของของไหลสถิต จะเห็นว่าความดันที่กระทา ณ ส่วนใด ๆ ของของเหลว
มีค่าเท่ากันทุกจุด
p =
A
F
หน่วยมาตรฐานของความดันคือ นิวตันต่อตารางเมตร (Nm-2) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ปาสคาล
เขียนด้วยอักษรย่อ Pa
แรงดันขึ้น = แรงดันลง
pA = (p + dp) A
pa - p = -g (y2 - y1)
p = pa + gh
ความดันที่ระดับความลึกเดียวกันย่อมเท่ากัน รูปร่างของ
ภาชนะไม่เกี่ยวข้องกับความดัน
หลอดแก้วรูปตัวยู
pB = pa + 1 gh1
Bp  = pa + 2 gh2
1 h1 = 2 h2
ตัวอย่าง หลอดแก้วรูปตัวยู มีพื้นที่หน้าตัดสม่าเสมอ ใส่ปรอทที่มีความหนาแน่น 13.6  103
kg. m-3 ต้องเติมน้าลงในหลอดข้างหนึ่งให้สูงเท่าใด จึงจะทาให้ระดับปรอทในแขนอีกข้าง
หนึ่งสูงขึ้นจากเดิม 2.5 cm. ให้ความหนาแน่นของน้าเท่ากับ 103 kg. m-3
หลักการคานวณ
 y = 2 h
y = 33
233
.10
)105)(.106.13(



mkg
mmkg
= 0.68 m
= 68 cm.
มานอมิเตอร์ (open tube manometer
p - pa = g (y2 -y1) = gh
กฎของปาสคาล
A
F
A
f

เมื่อเพิ่มความดัน ณ ตาแหน่งใดๆ ในของเหลวที่อยู่นิ่งในภาชนะปิด ความดันที่
เพิ่มขึ้นจะถ่ายทอดไปยังทุกๆจุดในของเหลวนั้น
ตัวอย่าง เครื่องอัดไฮดรอลิกเครื่องหนึ่ง กาหนดให้ลูกสูบเล็กมีเส้นผ่าศูนย์กลางยาว 1 cm
ออกแรงกดขนาด 50 N ทาให้ลูกสูบเล็กเคลื่อนที่ลง 7 cm ถ้าลูกสูบใหญ่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 20
cm จงคานวณหา
ก) แรงดันบนลูกสูบใหญ่
ข) ความดันบนลูกสูบใหญ่
ค) ถ้าต้องการให้ลูกสูบใหญ่เคลื่อนที่ขึ้นสูง 10 cm จะต้องออกแรงกดที่ลูกสูบเล็กกี่ครั้ง
) = F1 , p1 = A1
= F2 , p2 = A2
p1 = p2
1
1
A
F
=
2
2
A
F
22
)10x
2
1
(
50


=
22
2
)10x
2
20
(
F


F2 = 50  (20)2
= 2  104
N
.)
p2 =
2
2
A
F
=
22
4
)10x
2
20
(
x102


Nm-2
= 63.7 104
Nm-2
.) V V
A1h1 = A2 h2
h1 = 7  10-2
m
 2
2
2
10x7x10x
2
1 





 =  2
2
2
h10x20x
2
1





 
h2 =
20x20
10x7 2
m
= 1.75  10-4
m
1 1.75  10-4
m =1.75  10-2
cm
10 cm
= 2
101.75
10


= 0.571  103
= 571
แรงลอยตัว
หลักของอาร์คิมีดิส ( Archimedes principle) ซึ่ง
กล่าวไว้ว่า เมื่อส่วนใดส่วนหนึ่งของวัตถุหรือทั้งก้อน จมใน
ของเหลว จะมีแรงลอยตัว (buoyant force) กระทา
ต่อวัตถุนั้นมีขนาดเท่ากับน้าหนักของของเหลวที่ถูกแทนที่โดย
วัตถุนั้น
F2 – F1 = g ( y2 – y1) A
= g h A
=
ตัวอย่าง ลูกลอยทรงกลมที่ใช้ในเครื่องสุขภัณฑ์ มีเส้นผ่านศูนย์กลาง 12 ซม. ขณะที่ลอยอยู่มี
ปริมาตรส่วนที่จมน้าเพียงครึ่งหนึ่งของทรงกลม จงหาน้าหนักของลูกลอย ถ้ามีน้ารั่วเข้าไป
ภายใน น้าจะรั่วเข้าไปเท่าใดจึงจะทาให้ลูกลอยจมมิดน้าพอดี ให้ความหนาแน่นของน้าเท่ากับ
103 kg.m-3
หลักการคานวณ
(FB) =
=  g V
= (103
kg.m-3
)( 9.8 m.s-2
)(0.5  (4/3)    0.063
m3
)
= 4.43 N
W = FB = 4.43 N ( 0.452 )
(W) + ( w) = ( FB )
W + w =  g ( )
= (103
kg.m-3
)( 9.8 m.s-2
)( (4/3) 0.063
m3
)
= 8.86 N
w = 8.86 – W = 8.86 – 4.43 N
= 4.43 N
4.43
ความตึงผิว
แรงตึงผิว หมายถึงแรงที่เกิดขึ้นที่ผิวหน้าของของเหลว เป็นผลรวมของแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
โมเลกุลของของเหลวด้วยกัน หรือเป็นผลรวมของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลของของเหลวกับ
โมเลกุลของภาชนะหรือของไหลชนิดอื่นที่มันสัมผัส แรงตึงผิวจะอยู่ในแนวขนานกับผิวหน้าของ
ของเหลวเสมอ แรงนี้พยายามทาให้พื้นที่ผิวของของเหลวมีขนาดน้อยที่สุด
ทิศทางของแรงตึงผิวมีทิศขนานกับผิวหน้าของของเหลว
แรงตึงผิว ( F ) แปรผันตรงกับความยาวของผิวหน้าของของเหลวที่แรงนั้นกระทาใน
แนวตั้งฉาก
F  L
F =  L
 =
r4
F

()
(10-3
 -1
)
20 28.9
20 22.3
20 63.1
20 465
20 25
0 75.6
20 72.8
60 66.2
100 58.9
-193 15.7
-247 5.15
-269 0.12
20 26.8
20 32.0
ตัวอย่าง วงลวดเหล็กรูปวงกลม มีเส้นรอบวง 160 มม. หย่อนให้แตะผิวของแอลกอฮอล์ ต้อง
ออกแรงดึงเท่ากับ 7.72  10-3 นิวตัน ลวดจึงจะหลุดจากแอลกอฮอล์ได้ จงหาความตึงผิวของ
แอลกอฮอล์
F =
r4
F

=
m
N
3
3
101602
1072.7



 = 0.0241 N/ m
สภาพรูหลอดเล็กหรือสภาพคะปิลลารี (Capillary )
y =
rg
 cos2
ตัวอย่าง หลอดเล็กที่ส่งน้าและอาหารภายในต้นไม้ มีรัศมี 0.02 mm ถ้า มุมสัมผัสของน้า
กับหลอดส่งน้ามีค่าเป็น 0 จงหาความสูงของน้าซึ่งจะถูกยกตัวสูงขึ้น โดยแรงตึงผิวเพียงแรง
เดียว
y =
gr
sos2


=
)s)(9.8mmkgm)(1010(2
)m(2)(0.073N
2335
1




= 0.74 m
74 cm
พลศาสตร์ของไหล
สมการความต่อเนื่อง (Continuity equation)
A1v1 = A2v2
สมการเบอร์นูลลี
p1 + gy1 +
2
1
v1
2
= p2 + gy2 +
2
1
v2
2
น้าประปาไหลผ่านท่อขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 ซม. เข้าไปในบ้านชั้นล่าง ด้วยความดันสมบูรณ์ 4105
ปาสคาล (ประมาณ 4 atm.) ความเร็วของน้า 4 เมตร / วินาที ท่อถูกต่อขึ้นไปที่ห้องน้าชั้นสองซึ่งอยู่สูงจากชั้น
ล่าง 5 เมตร ท่อในห้องน้ามีเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 ซม. จงหาความเร็วและความดันของน้าในห้องน้า
1 2 2 v2
2
v2 = 1
2
1
v
A
A = )s.m4(
)cm5.0(
)cm0.1( 1
2
2


 = 16 m/s
y1 = 0 y2 = 5 m
p1 , v1 p2
p2 = )yy(g)vv(2
1
p 12
2
1
2
21 
= )m5)(s/m8.9)(m.kg10()s.m16s.m256)(m.kg10(
2
1
pa104 2332222335 

= 2.3  105
Pa
2 3.5 105
Pa
ความหนืด
ความหนืด(viscosity) เป็นความเสียดทานภายในของของไหล เกิดจากแรงระหว่างโมเลกุล
ของของไหล
เมื่อปล่อยทรงกลม (อาจเป็นลูกเหล็กเล็ก ๆ) รัศมี r ให้เคลื่อนที่ผ่านของไหลที่มีสัมประสิทธิ์
ความหนืด  และมี v เป็นความเร็วของทรงกลมสัมพัทธ์กับของไหล แรงต้านการเคลื่อนที่ F
คือ
F = 6 rv
vT (terminal velocity)
+ - = 0
 =  = =
4
r3
g
3
4
r3
g
6rvT +
3
4
r3
g -
3
4
r3
g = 0
vT = )(
9
gr2 2


ต อย่ ง12-12 2.0 mm
= 7.9  103
kgm-3
= 1.3  103
kgm-3
= 0.833 Nsm-2
vT = )(
9
gr2 2


vT = 33
2
223
mkg101.3)(7.9
msN0.833
s9.8mm)10(2
9
2 





= 6.9  10-2
ms-1

More Related Content

What's hot

Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
Icxise RevenClaw
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ธงชัย ควรคนึง
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
yaowaluk
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
thanakit553
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
Wijitta DevilTeacher
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
chemnpk
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
Arocha Chaichana
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
Jariya Jaiyot
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
Fluid
FluidFluid
Fluid
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล Physicเรื่องของไหล
Physicเรื่องของไหล
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)เฉลย Ac (2 2551)
เฉลย Ac (2 2551)
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
เฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัสเฉลยแคลคูลัส
เฉลยแคลคูลัส
 

Similar to ของไหล ม.5 (9)

fluid
fluidfluid
fluid
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
3 3
3 33 3
3 3
 
Fluids
FluidsFluids
Fluids
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
P09
P09P09
P09
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
9 1
9 19 1
9 1
 

ของไหล ม.5