SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
เรียนเพิ่มเติม 
จัดทำำโดย 
นำงสำวจิดำภำ หำญธำำรงวัฒน์ 
ม. 5/2 เลขที่ 38 
เลขประจำำตัวนักเรียน 36107 
เสนอ 
คุณครูวิชัย ตรีเล็ก
เด็กไทยกับภำษำอังกฤษ 
ควำมเป็นมำ 
ปัญหำเรื่องนักเรียนนักศึกษำไทยส่วนใหญ่มีควำมรู้และควำมสำมำรถใน 
กำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับที่ตำ่ำ ดูจะเป็นเรื่องที่อยู่คู่กับระบบกำรศึกษำ 
ไทยของเรำมำตลอด มักจะมีข่ำวออกมำตำมสื่อเป็นระยะ ๆ เช่น ภำษำ 
อังกฤษของคนไทยจัดอยู่ในลำำดับที่ 43 ในเอเชีย เป็นต้น ปัญหำนี้มีแนว 
โน้มว่ำจะจัดเป็น “วำระแห่งชำติ” คล้ำย ๆ กับเรื่องของกำรอ่ำนน้อยของ 
คนไทย สิ่งที่ผู้เขียนคิดตำมก็คือ วิกฤติเรื่องภำษำอังกฤษที่ว่ำนี้จะอธิบำย 
อย่ำงไรดี เพรำะมันน่ำคิดว่ำทำำไมนักเรียนนักศึกษำไทยส่วนมำกจึงไม่เก่ง 
ภำษำอังกฤษ 
คำำตอบหรือหนทำงแก้วิกฤติเรื่องอ่อนภำษำอังกฤษนี้ เรำก็มักได้ยินตำมสื่อ 
ว่ำมีหนทำงแก้ได้ถ้ำวิธีกำรสอนนั้นเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ เช่น อย่ำสอนเน้น 
เรื่องไวยำกรณ์ อย่ำสอนเพียงเพื่อให้เด็กจำำไปสอบเท่ำนั้น แต่ควรจะสอน 
แบบตำม “ธรรมชำติ” อย่ำทำำให้มันกลับหัวกลับหำงและหรือควรจะให้เน้น 
ทักษะกำรพูดมำก ๆ 
ผู้เขียนในฐำนะที่เป็นอำจำรย์สอนภำษำอังกฤษคนหนึ่ง เห็นว่ำภำษำ 
อังกฤษที่อ่อนของนักเรียนนักศึกษำไทยส่วนใหญ่นั้น พอจะอธิบำยได้ตำม 
หลักกำรวิชำกำรด้ำนภำษำและกำรสอน ดังที่จะได้กล่ำวต่อไปนี้ 
ผลกำรวิจัยหลัก ๆ ของศำสตร์ด้ำนกำรรับภำษำที่สอง (second 
language acquisition) มีหลักฐำนว่ำจำำนวนชั่วโมงที่นักเรียนที่เรียน 
ภำษำอังกฤษเป็นภำษำต่ำงประเทศ นั้นมีประมำณ 1,800 ชั่วโมงเศษโดย 
คิดจำกระยะเวลำ 12-16 ปีที่เรียนจนจบมหำวิทยำลัย ในขณะที่เด็กฝรั่งที่ 
เกิดมำจนอำยุรำว ๆ 4 ขวบครึ่ง จะมีโอกำสสัมผัสกับภำษำอังกฤษที่ถูกต้อง 
ประมำณเกือบ 8,000 ชั่วโมง ประเด็นสำำคัญที่ยกตัวอย่ำงนี้มำก็คือว่ำ 
โอกำสที่เด็กไทยซึ่งเรียนภำษำอังกฤษเป็นภำษำต่ำงประเทศจะเก่งนั้นก็ 
ยำกมำก ถ้ำว่ำกันตำมหลักกำรแล้วกำรที่นักเรียนนักศึกษำไทยไม่เก่ง 
ภำษำอังกฤษ ก็เป็นเรื่องที่ไม่น่ำแปลกใจ แต่ควำมจริงที่จริงกว่ำก็คือ
นำยจ้ำงและหน่วยงำนต้องกำรคนที่เก่งภำษำอังกฤษ จะอ้ำงว่ำเพรำะเรียน 
เป็นภำษำต่ำงประเทศเลยไม่ต้องเก่งภำษำอังกฤษ ข้ออ้ำงนี้เห็นทีจะต้องตก 
ไป 
นอกไปจำกโอกำสในกำรได้สัมผัสภำษำที่ถูกต้องน้อยแล้ว ลักษณะทำง 
ภำษำของภำษำอังกฤษเองก็ยำกที่จะทำำให้คนไทยเข้ำใจได้โดยเร็ว อย่ำง 
เช่น ภำษำอังกฤษอำจจะมีคำำที่ท้ำทำยต่อระบบกำรเรียงเสียงพยัญชนะและ 
เสียงสระอยู่มำก นักวิชำกำรชำวอเมริกัน Thomas Scovel ยกตัวอย่ำง 
ว่ำคำำในภำษำอังกฤษ “sixths” นั้นมีเสียงท้ำยที่ก่อให้เกิดควำมลำำบำกใน 
กำรออกเสียงสำำหรับคนไทยไม่น้อย เพรำะเป็นคำำที่ลงท้ำยด้วยเสียง 
พยัญชนะมำกถึง 3 เสียงด้วยกัน ในขณะที่คำำในภำษำไทยไม่ออกเสียง 
ท้ำยคำำเลยแม้แต่น้อย (แล้วอย่ำงนี้จะให้คนไทยเรียนออกเสียงภำษำ 
อังกฤษได้แนบเนียนได้อย่ำงไร ถ้ำไม่ได้รับกำรฝึกทำงด้ำนกำรออกเสียง 
หรือมีโอกำสได้ใช้ภำษำอังกฤษกับเจ้ำของภำษำบ่อย ๆ) หรือถ้ำพูดถึง 
ภำษำอังกฤษในระดับคำำ เรำทุกคนก็ทรำบดีว่ำระบบ คำำนำำหน้ำนำม 
(articles) ในภำษำอังกฤษนั้นมันช่ำงท้ำทำยคนไทยอย่ำงเรำ ๆ มำกเหลือ 
เกิน ไม่ว่ำจะเรียนกันมำมำกมำยขนำดไหน หรืออุตส่ำห์ไปชุบตัวถึงเมือง 
นอก ก็อำจจะตกม้ำตำยกับเรื่อง (a an the) ได้ง่ำย ๆ ระบบและกำรใช้ 
คำำนำำหน้ำนำมนี้ดูเหมือนจะไม่สำมำรถสอนกันได้ตรง ๆ อย่ำงในชั้นเรียน 
ได้สำำเร็จตลอดรอดฝั่ง แต่กลับต้องใช้วิธีอ่ำนหรือฟังภำษำอังกฤษที่ถูกต้อง 
เยอะๆ เท่ำนั้น แล้วทีนี้ถ้ำนักเรียน นักศึกษำไทยที่อยำกเก่งภำษำอังกฤษ 
แต่ก็ไม่ได้ลงมืออ่ำนหรือฟังภำษำอังกฤษที่ถูกต้องมำก ๆ จะไปเก่งได้ 
อย่ำงไร ในแง่นี้ ผู้เขียนขออ้ำงอิงข้อควำมที่ศำสตรำจำรย์ นำยแพทย์ 
ประเวศ วะสี ได้กล่ำวไว้ในหนังสือ “บนเส้นทำงชีวิต” พิมพ์โดยสำำนักพิมพ์ 
หมอชำวบ้ำน พ.ศ. 2554 หน้ำ 96 ซึ่งเกี่ยวกับวิธีกำรพัฒนำภำษำอังกฤษ 
ของท่ำน ดังนี้ “ระหว่ำงปิดเทอมปลำยเตรียมอุดมศึกษำปีที่ 1 ที่ผมกลับไป 
บ้ำนริมภูเขำที่กองผสมสัตว์ที่กำญจนบุรีนั้น เนื่องจำกรู้ตัวว่ำยังอ่อนภำษำ 
อังกฤษอยู่ ผมนำำหนังสือรวบรวม essays ของโรงเรียนสวนกุหลำบไป 
ด้วยเล่มหนึ่ง จะได้มำจำกไหนจำำไม่ได้แน่ ดูเหมือนจะซื้อมำจำกเวิ้งนคร
เกษม เป็นหนังสือเก่ำแต่รวบรวมควำมเรียงภำษำอังกฤษที่ดี ๆ ของ 
โรงเรียนสวนกุหลำบเอำไว้ ผมอ่ำนตะลุยทุกวัน เปิดดิกชันนำรีศัพท์ทุกตัว 
ที่ไม่รู้ กำรตะลุยเรียนด้วยตนเองอยู่ที่บ้ำนริมเขำเช่นนั้นทำำให้เกิดควำม 
เปลี่ยนแปลงเป็นอันมำก เพรำะเมื่อเรียนเตรียมอุดมศึกษำปีที่ 2 นั้น ผม 
กลำยเป็นได้คะแนนภำษำอังกฤษสูงสุดในห้องซึ่งเป็นห้องคิงไปได้” 
กำรอ่ำนตะลุยทุกวันที่ท่ำนกล่ำวมำนี้ไม่ได้เป็นเคล็ดลับอะไร เพรำะคนไทย 
หลำยคนที่ภำษำอังกฤษดีมำก ล้วนแต่ต้องผ่ำนกำรอ่ำนอย่ำงมหำศำลด้วย 
กันทั้งนั้น ต่ำงกันแต่ว่ำใครจะเลือกอ่ำนสิ่งใดมำกกว่ำกัน ควำมคิดที่ได้จำก 
ข้อควำมของคุณหมอประเวศ ก็คือ เรื่องภำษำนั้นไม่จำำเป็นต้องพึ่งพำ 
เทคโนโลยีขั้นสูงอะไรมำกมำย เทคโนโลยีกระดำษสิ่งพิมพ์ที่มีมำนำนก็ 
สำมำรถที่จะ “สร้ำงตัว” ทำงภำษำได้ เพรำะสิ่งสำำคัญ คือ กำรตะลุยอ่ำน 
และตะลุยคิดถึงสิ่งที่อ่ำนต่ำงหำก 
ควำมสำำคัญของภำษำอังกฤษภำษำอังกฤษได้เข้ำมำมีบทบำทในชีวิตของ 
คนไทย และคนทั่วโลกไปแล้ว มนุษยชำติทุกวันนี้สื่อสำรกันด้วยภำษำ 
อังกฤษ ไม่ว่ำจะเป็นกำรติดต่อสื่อสำรกันโดยตรง กำรใช้อินเตอร์เน็ต กำร 
ดูทีวี กำรดูภำพยนตร์ กำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หนังสือคู่มือทำง 
ด้ำนวิชำกำรต่ำงๆ ฯลฯ บัณฑิตที่สำำเร็จกำรศึกษำออกมำในปัจจุบัน ถ้ำมี 
ควำมรู้ภำษำอังกฤษทั้งพูดและเขียนเสริมเข้ำไปด้วยอีก โอกำสที่จะหำงำน 
ก็จะไม่จำำกัดแค่ในประเทศไทย เท่ำนั้น ถ้ำท่ำนเป็นคนหนึ่งที่สำมำรถพูด 
ภำษำอังกฤษได้ ท่ำนคงจะไม่ปฏิเสธได้ถึงสิทธิพิเศษที่ท่ำนมีเหนือคนอื่นที่ 
ไม่สำมำรถสื่อสำรภำษำอังกฤษได้ ด้วยเทคโนโลยีด้ำนคอมพิวเตอร์และ 
อินเตอร์เน็ต ทำำให้โลกของเรำแคบลงไปถนัดตำ ทุกวันนี้ท่ำนสำมำรถรับรู้ 
ข่ำวสำร หรือติดต่อกับเพื่อนต่ำงชำติได้ภำยในเสี้ยววินำที ท่ำนจะไม่เข้ำ 
ถึงสิทธิพิเศษเหล่ำนี้เลย ถ้ำท่ำนไม่รู้ภำษำอังกฤษ ระบบกำรเรียนกำรสอน 
ภำษำอังกฤษในโรงเรียนของไทยหลำยท่ำนอำจจะบอกว่ำ ประเทศไทยเรำ 
ก็ให้ควำมสำำคัญกับกำรเรียนภำษำอังกฤษมำตั้งนำนแล้ว แต่ทำำไมคนไทย 
ถึงพูดภำษำอังกฤษสู้คนฟิลิปปินส์ไม่ได้เลย นั่นก็เพรำะว่ำหลักสูตรภำษำ
อังกฤษของกระทรวงศึกษำธิกำรของเรำยังไม่ได้เน้นกำรพูดภำษำอังกฤษ 
จะเน้นแต่หลักไวยำกรณ์ คำำแปล และกำรอ่ำนเพื่อควำมเข้ำใจและให้สอบ 
เข้ำมหำวิทยำลัยได้เป็นส่วนใหญ่ สิ่งที่จะต้องปรับปรุงอย่ำงมำกในระบบ 
กำรเรียนภำษำอังกฤษของไทยเรำคือ กำรเน้นกำรพูดออกเสียง ไม่ว่ำจะ 
เป็นกำรออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว กำรเน้นเสียงหนักเบำ ซึ่งจะต้องมีสื่อ 
ช่วยสอนที่เป็นมัลติมีเดีย คือ มีทั้งภำพ เสียง และตัวหนังสือ ให้ด้วย แทน 
ระบบเก่ำที่มีแต่ตัวหนังสือเท่ำนั้น ทำำให้กำรออกเสียงตำมคำำอ่ำนที่เขียนใน 
ตำำรำหรือพจนำนุกรมที่ผิดๆ เช่นคำำว่ำ cat ในพจนำนุกรมอังกฤษไทยจะ 
เขียนคำำอ่ำนเป็น แค้ท ซึ่งแปลมำจำกคำำอ่ำนพจนำนุกรมอังกฤษเป็น 
อังกฤษ ทำำให้คนไทยเข้ำใจว่ำ ไม่ต้องออกเสียงตัว t ที่อยู่ตอนท้ำยด้วย 
น่ำจะเขียนคำำอ่ำนเป็น แค่ท-ถึ (ออกเสียง ถึ เบำๆ) แต่ถ้ำเรำจัดทำำสื่อกำร 
เรียนกำรสอนแบบมัลติมีเดีย เด็กก็จะได้ยินทั้งเสียงที่ถูกต้อง ได้เห็นภำพ 
และตัวหนังสือด้วย ซึ่งทำำได้ไม่ยำก และต้นทุนก็ไม่มำก กำรเรียนของเด็ก 
ก็จะมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น 
ในภำวะปัจจุบันที่อิทธิพลของโลกำภิวัฒน์ยังคงมีอยู่อย่ำงต่อเนื่อง และยัง 
จะเพิ่มมำกขึ้นเรื่อยๆ นั้นกำรเรียนรู้ภำษำของประเทศอื่นย่อมได้เปรียบใน 
กำรทำำกิจกำรต่ำงๆ เพรำะคงไม่มีใครจะติดต่อสื่อสำรและรู้เรื่องได้ดีเท่ำกับ 
กำรพูดภำษำเดียวกัน เคยมีเรื่องเล่ำกันเล่นว่ำประเทศไทยที่ค้ำขำย 
สิงคโปร์ มำเลย์ ฮ่องกง ใต้หวัน ไม่ได้ก็เพรำะว่ำมำติดต่อกับประเทศไทย 
แล้วสื่อสำรกันยังไม่ชัดเจนจึงต้องผ่ำนตัวแทนที่รู้ภำษำดีกว่ำเช่นสิงค์โป 
มำเลย์ ฮ่องกง ใต้หวัน หรือแม้แต่ฟิลิบปินก็ตำม ซึ่งเรำจะเห็นว่ำประเทศ 
เหล่ำนั้นล้วนแล้วแต่ให้ควำมสำำคัญกับกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ โดย 
เฉพำะอย่ำงยิ่งภำษำอังกฤษซึ่งเป็นภำษำที่อำจคิดได้ว่ำเป็นภำษำสำกล 
หลำยประเทศประกำศให้เป็นภำษำรำชกำรอีกภำษำหนึ่ง นอกจำกภำษำ 
ของตัวเอง
แน่นอนว่ำประเทศที่ให้ควำมสำำคัญกับกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษนั้นย่อม 
ทรำบดีว่ำ คนจะเรียนรู้ภำษำให้ซำบซึ้งสำมำรถใช้ภำษำเข้ำสู่สังคมและ 
วัฒนธรรม สำมำรถใช้ภำษำได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสมกับสังคมวัฒนธรรม 
ตำมสถำนะกำรณ์ได้ในทุกทักษะของภำษำ และโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผู้ที่ 
สำมำรถใช้ภำษำอังกฤษในกำรสื่อสำรได้ดีจะมีโอกำสในกำรจ้ำงงำน และ 
ได้รับกำรสนับสนุนส่งเสริมในงำนในหน้ำที่ให้ยิ่งขึ้นไป มำกกว่ำผู้ที่ไม่มี 
ทักษะทำงภำษำเลย ดังตัวอย่ำงที่หน่วยงำนห้ำงร้ำนบริษัท ที่ประกำศรับ 
พนังงำน แต่แนบท้ำยด้วยคำำว่ำมีควำมสำมำรถทำงภำษำที่สำมำรถติดต่อ 
สื่อสำรได้ นั่นก็คือต้องมีทักษะกำรฟังและกำรพูดเป็นอย่ำงน้อย 
อันเนื่องจำกภำษำอังกฤษมีกำรใช้กันทั่วโลกมำกกว่ำภำษำอื่นๆ มีกำรเรียน 
กำรสอนกันทั่วโลกมำกกว่ำภำษำอื่นจึงคิดให้เป็นภำษำสำกลที่ติดต่อ 
สื่อสำรได้ทั่วโลก กำรเรียนกำรสอนภำษำอังกฤษประกำรแรกน่ำจะใช้ใน 
กำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงกันอย่ำงเหมำะสมตำมสถำนะกำรณ์ เช่นเดียวกับ 
กำรที่เรำเรียนรู้ภำษำแรกจำกพ่อแม่ พี่เลี้ยง เป็นกำรเรียนรู้แบบธรรมชำติ 
ไม่จำำเป็นต้องท่องศัพท์ แปล หรือ รู้หลักไวยำกรณ์ ดังนั้นกำรเรียนกำร 
สอนในระดับเริ่มเรียนรู้ภำษำนั้น คงต้องเน้นกำรมีส่วนร่วมทำงภำษำให้ 
มำกที่สุด คือผู้เรียนต้องเรียนรู้จำกกำรฟังและพูดอย่ำงเป็นธรรมชำติจน 
เกิดทักษะ เริ่มจำกกำรพูดในชีวิตประจำำวันในครอบครัว แล้วค่อยขยำย 
ออกไปสู่โลกภำยนอกมำกขึ้น เพื่อเป็นพื้นฐำนในกำรเรียนรู้ในกำรศึกษำ 
ขั้นสูงขึ้น 
กำรสอนทักษะกำรพูดและกำรฟังจึงเป็นสิ่งสำำคัญยิ่ง และผู้สอนอันเป็นต้น 
แบบจะต้องพัฒนำควำมรู้ทำงภำษำให้ใกล้เคียงกับเจ้ำของภำษำให้มำก 
ที่สุด มิฉะนั้นแล้วจะเข้ำลักษณะแม่ปูสอนลูกให้เดินให้ตรง ในเรื่องนี้ 
ปัจจุบันแม้จะแก้ได้บ้ำงโดยอำศัยเทคโนโลยี ที่บันทึกเสียงกำรพูดคุย กำร 
ออกเสียงที่ถูกต้องไว้ แล้วก็ตำม แต่กำรแสดงควำมรู้สึก แสดงอำรมณ์ที่
เกี่ยวข้องนั้นก็ยังต้องใช้เจ้ำของภำษำมำเป็นผู้สอนถึงจะทำำให้เกิดกำร 
เรียนรู้ทำงภำษำได้เร็ว 
กำรสื่อสำรในสถำนะกำรณ์ต่ำงๆ จะสื่อสำรกันได้อย่ำงน้อยที่สุดก็ต้องฟังรู้ 
เรื่องก่อนแล้วจึงจะทำำให้สำมำรถพูดโต้ตอบได้ หรือพูดได้ พูดเป็น หรือใช้ 
เป็น และเป็นประโยชน์ นอกจำกกำรโต้ตอบแลกเปลี่ยนข้อมูลสำรสนเทศ 
กันก็คงรวมไปถึงกำรเล่ำเรื่อง บรรยำย แสดงควำมคิด ควำมเห็น ควำม 
รู้สึก วิพำกษ์วิจำรณ์ ซึงก็ต้องมีกำรประเมินงที่ได้ยินได้ฟังมำ จำกกำร 
วิเครำะห์สังเครำะห์อีกทีหนึ่ง จึงถือว่ำสุดยอดในกำรเรียนรู้ทำงภำษำและ 
จำกที่ประเทศเรำกำำลังประสบกับภำวะวิกฤติทำงเศรษฐกิจ ตำกเศรษฐกิจ 
กระแสโลก และวิกฤติกำรเมือง กำเรียนรู้ภำษำให้แตกฉำนก็เป็นกำรช่วย 
บรรเทำภำวะทำงเศรษฐกิจในขณะนี้ได้ อันเนื่องมำจำกที่รัฐบำลประกำศ 
ให้กำรท่องเที่ยวเป็นวำระแห่งชำติ กำรเข้ำใจเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศจะ 
ทำำให้กำรติดต่อสื่อสำรกับชำวต่ำงประเทศที่จะเข้ำมำท่องเที่ยว 
ประเทศไทยดีขึ้น เป็นส่วนหนึ่งในกำรตัดสินใจให้เข้ำมำเที่ยวประเทศไทย 
มำกขึ้น สถำบันกำรศึกษำที่มีศักยภำพ น่ำจะมีส่วนส่งเสริม ช่วยเหลือ 
ประเทศในแง่นี้ได้ 
หลักกำรและเหตุผล 
ถ้ำเรำลองพิจำรณำในเรื่องวิธีกำรสอนบ้ำง ว่ำมันเป็นอุปสรรคหรือส่งเสริม 
เรื่องควำมรู้ ควำมเก่งในกำรใช้ภำษำอังกฤษหรือไม่ ก็จะเห็นได้ว่ำวิธีกำร 
สอนนั้นมีอยู่หลำกหลำย วิธีเดิม ๆ นั้นก็คือวิธีไวยำกรณ์และแปล ซึ่งใน 
วงกำรศึกษำวิจัยเรื่องกำรสอนภำษำเดี๋ยวนี้ ยืนยันกันว่ำเป็นวิธีที่ไม่เหมำะ 
สม ทำำให้นักเรียนนักศึกษำเห็นภำษำอังกฤษเป็นเพียงวัตถุที่มำชำำแหละ 
และเมื่อเรียนด้วยวิธีนี้แล้ว ก็จะยังไม่สำมำรถสื่อสำรเป็นภำษำอังกฤษได้ 
หลำยต่อหลำยสำำนักควำมคิด ก็เลยเสนอว่ำให้สอนแบบเน้นกำรใช้ภำษำ 
อังกฤษเพื่อกำรสื่อสำร เพรำะผู้เรียนจะได้เห็นว่ำภำษำอังกฤษมีไว้เพื่อจะ
สื่อสารจริง ๆ ไม่ใช่แค่เพื่อสอบสำาหรับการศึกษาต่อ หลังจากวิธีเน้นการ 
สื่อสารใช้มาได้สักราว ๆ สองทศวรรษเศษ มาตอนนี้ก็เริ่มเห็นว่าอาจจะไม่ 
ได้ผลเสียแล้ว เพราะเกิดปัญหาว่าเด็กอาจจะชินกับการพูดภาษาอังกฤษ 
มากขึ้น แต่ความถูกต้องในภาษาอังกฤษมีอยู่น้อยมาก เข้าทำานองพูดคล่อง 
แต่ผิดเยอะนั่นแหละครับ ยิ่งมาตอนหลังนี้ นักคิดเรื่องทฤษฎีการสอนก็ถึง 
กับเสนอว่า เรากำาลังอยู่ในยุค หลังการสอน (post-method pedagogy) 
ซึ่งหมายความว่าการสอนที่ดีควรจะเริ่มพิจารณาที่บริบทของการเรียนการ 
สอน ไม่ใช่เอาวิธีมาเป็นตัวตั้ง การสอนจะเป็นลักษณะการใช้กลยุทธ เพื่อ 
ช่วยให้ผู้เรียนสามารถใช้กลยุทธนั้น ๆ ในการพิชิตศัตรู ซึ่งก็คือเนื้อหาไม่ 
ว่าจะเป็นเรื่องไวยากรณ์ ความหมาย หรือทักษะอื่น ๆ ในการใช้ภาษา 
จากประเด็นต่าง ๆ ข้างต้นจะเห็นว่าวิธีการสอนนั้นก็เป็นไปตามความรู้ใหม่ 
ๆ ที่เกิดขึ้น และผู้รู้ก็เสนอให้ลองพิจารณา ผู้รู้ที่ว่านี้ส่วนมากก็จะเป็นพวก 
ทางตะวันตก ความรู้ความคิดที่อาจจะเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านของไทยเอง 
ก็มีความเหมาะสมเช่นกันหรืออาจจะเหมาะสมยิ่งกว่า เช่น การสอนโดย 
การให้ตัวอย่างที่เป็นจริง และให้ผู้เรียนเห็นหน่วยความทั้งหมดว่าเรียงร้อย 
เข้าไว้ด้วยกันได้อย่างไร คือ อย่าเรียนเป็นเศษ เป็นเสี้ยว แต่ให้เรียนเป็น 
ภาพรวม อย่างนี้เป็นต้น 
ผู้เขียนเองเห็นว่า ทั้งครูและนักเรียนก็มีความสำาคัญพอ ๆ กัน คือ ครูก่อน 
อื่น ก็ต้องมีความรู้ในเนื้อหาที่แม่นยำา และมีความเข้าใจเรื่องวิธีการสอน ที่ 
สำาคัญครูก็ต้องแสดงความกระตือรือร้นที่จะสอน เพราะถ้าครูแสดงว่าตั้งใจ 
จะสอน ก็อาจจะทำาให้ผู้เรียนจำานวนหนึ่งหันมาสนใจภาษาอังกฤษได้ ใน 
ขณะเดียวกัน ผู้เรียนเองก็ต้องมีความต้องการจะเรียนด้วย เพราะถ้าผู้เรียน 
ยังไม่เห็นประโยชน์หรือยังไม่ได้สนใจจริงจัง ทุกอย่างไม่ว่าจะเป็น 
หลักสูตร ครูที่เนื้อหาดีและเทคนิคการสอนดี อุปกรณ์การสอนก็เอื้ออำานวย 
ทั้งหมดนี้ก็จะพังทลายลงไป ถ้าผู้เรียนไม่เอาด้วย พูดง่าย ๆ ก็คือ ทั้งครู 
และนักเรียนก็ต้อง “พร้อมใจ” กัน ที่จะทำาให้เกิดขึ้น
กล่าวโดยสรุป ภาษาอังกฤษที่อ่อนของเด็กไทย นั้นก็เป็นวิกฤติที่ต้องการ 
การเยียวยาอย่างจริงจัง เพราะว่าส่วนใหญ่ก็อ่อนจริง ๆ เข้าทำานองว่า 
ไวยากรณ์ก็ไม่มี สื่อสารก็ไม่ได้ ผู้ที่เกี่ยวข้องก็ต้องร่วมมือร่วมใจกัน ไม่ว่า 
จะเป็นตัวเด็กเอง ครูอาจารย์ หลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานที่ 
เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น สมาคมครูสอนภาษาอังกฤษแห่งประเทศไทย ก็คง 
ต้องมีภาระหนักขึ้น ในยามที่ สกอ กำาหนดว่าครูอาจารย์ต้องทำาวิจัยกัน 
อย่างจริงจัง ซึ่งจะช่วยต่อยอดความเข้าใจในเรื่องปัญหาการเรียนการสอน 
ในขณะเดียวกันการสอนในชั้นเรียนก็ไม่อาจละเลยได้ วิจัยเก่งและสอนดี 
ต้องควบคู่กันไป 
5 เหตุผลที่เด็กไทย ภาษาอังกฤษรั้งท้ายในอาเซียน 
แม้ว่าเด็กไทยจะเรียนหนัก แต่นั้นก็ไม่ได้ช่วยให้ภาษาอังหฤษของคนไทย 
ดีขึ้น เพราะระดับภาษาอังกฤษของคนไทยถูกจัดอยู่ในระดับตำ่ามาก และ 
เหตุผลที่ทำาให้เด็กไทยมีระดับความรู้ด้านภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์น่าห่วง 
มีด้วยกัน 5 ข้อสำาคัญคือ 
1. ระบบการศึกษาไทยเน้นท่องจำา โดยมีอาจารย์เป็นศูนย์กลาง เขียนศัพท์ 
และแกรมม่าบนกระดานดำา และให้นักเรียนอ่านและจำา ไม่มีการวิเคราะห์ 
พูดคุย หรือตั้งคำาถาม-คำาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่เรียน เพราะกลัวถูกกล่าวหาว่า 
โง่ 
2. ไม่มีการสอนคิดแบบวิเคราะห์ ระบบการสอนของไทยสอนแบบให้รับรู้ 
ไม่ต้องคิดและไม่ต้องถามว่าสิ่งที่เรียนนั้นถูกต้องแล้วหรือยัง สิ่งที่ถูกคือ 
ต้องหัดคิดวิเคราะห์เพื่อแยกเยอะโครงสร้างซับซ้อนของภาษา จึงทำาให้ 
เกิดความเข้าใจผิด หลงเชื่อข่าวปลอม หรือข่าวลวง โดยไม่มีการคิด 
วิเคราะห์อยู่บ่อยๆ จนทำาให้คนไทยไม่กล้าพูดภาษาอังกฤษ กลายเป็น 
ปัญหาใหญ่ตามมาไม่รู้จักจบ
3. ครูไทยไร้คุณภาพ การเรียนการสอนที่ดีควรเริ่มจากครูผู้สอนก่อน เริ่ม 
จากครูไทยต้องมีความสามารถด้านภาษาที่ได้มาตรฐาน ใช้ภาษาอังกฤษ 
ได้อย่างดีเยี่ยม 
4. ครูต่างชาติไม่ได้มาตรฐาน นอกจากครูไทยแล้ว โรงเรียนบางแห่งมี 
แนวคิดจ้างครูต่างชาติ แต่เนื่องจากไม่สามารถจ่ายเงินเดือนสูงมาก ทำาให้ 
บางครั้งก็ได้ครูที่ไม่มีมาตรฐาน บางครั้งครูที่จ้างมาจบปริญญาแต่ไม่ได้ 
เรียนด้านการสอน ไม่มีวุฒิปริญญา หรือร้ายแรงที่สุดคือใช้ปริญญาปลอม 
มาสมัครเป็นครู 
5. กระทรวงศึกษาธิการ ควรปรับเปลี่ยนนโยบายที่จะช่วยพัฒนาการ 
ศึกษาไทยให้ได้มาตรฐาน และสามารถดึงดูดคนที่มีความสามารถมา 
ทำางานเป็นครู 
พอได้รู้แบบนี้แล้วก็ทำาให้เราต้องตะหนักถึงการเรียนภาษาอังกฤษของเด็ก 
ไทยให้มากขึ้นเพื่อการสื่อสารกับชาติต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มอาเซียนที่จะ 
เข้ามาอีกไม่นานนี้ 
"เด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่ชั้นประถม แต่ทำาไมภาษาอังกฤษไม่แข็ง 
แรง" ...เป็นคำาถามที่ได้ยินได้ฟังเป็นประจำา กระทั่งกลายเป็นเหมือนเสียง 
รำาพึงไปในที่สุด 11 ปีเป็นเวลาไม่ใช่น้อย ถ้ารวมการศึกษาระดับอาชีวะ 
เข้าไปด้วย คิดสะระตะนับ 20 ปี แต่นักศึกษาจำานวนไม่น้อยใช้ภาษา 
อังกฤษได้แค่ระดับงูๆ ปลาๆ เด็กบางคนขยันมาก ถึงขนาดสามารถท่องดิก 
ชันนารีได้ทั้งเล่ม ภาษาอังกฤษคำาไหนแปลว่าอะไร ถามมา-ตอบได้หมด 
แต่พอให้พูดกลับตกม้าตาย พ่อแม่ยุคใหม่ที่มีสตางค์จึงตัดปัญหาด้วยการ 
ส่งลูกไปเรียนเมืองนอก และด้วยเหตุนี้ทำาให้ปัจจุบันมีโรงเรียนอินเตอร์ 
โรงเรียนสองภาษาเกิดขึ้นมากมาย เพื่อรองรับลูกค้ากลุ่มนี้ โดยไม่ต้องส่ง 
ลูกไปเรียนให้ไกลหูไกลตา แล้วกับเด็กด้อยโอกาส พ่อแม่ไม่มีเงินพอที่จะ 
ส่งเข้าโรงเรียนแพงๆ เล่า...
ถ้าเข้าใจหลักการ การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อให้พูดได้ ฟังเข้าใจ เหมือน 
เจ้าของภาษา ไม่ยากเลย ขอเพียงมีความตั้งใจ โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่ 
มีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การเรียนภาษาอังกฤษทำาได้ง่ายขึ้น 
สามารถฝึกได้เองในทุกที่ทุกเวลา ธานินทร์ เอื้ออภิธร ประธานกรรมการ 
บริหาร เลิร์นบาลานซ์ กรุ๊ป ซึ่งดูแลทิศทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนาและ 
การนำา "ไอที" เข้ามาช่วยในการเรียนภาษาอังกฤษให้กับ "เอ็นคอนเส็ปท์" 
โรงเรียนกวดวิชาแถวหน้าของเมืองไทย เล่าถึง ช่องโหว่ของระบบการ 
ศึกษาของไทยว่า ส่วนหนึ่งมาจากค่านิยมของสังคมที่ให้ความสำาคัญกับ 
เรื่องของ "สถานะ" มากกว่าความสามารถ ทำาให้เด็กไทยแข่งกันเรียนเพื่อ 
ให้ได้ใบปริญญา เป็นใบเบิกทางสู่การมีหน้ามีตา มีหน้าที่การงานที่ดี โซน 
ธาตุลมเช่นเดียวกับปัญหาของการเรียนภาษาอังกฤษของเด็กไทย 
นักเรียน/นักศึกษาส่วนใหญ่เรียนเพื่อจะสอบผ่าน ซึ่งเป็นกรอบความคิดที่ 
แคบ โลกสมัยใหม่เปลี่ยนไปแล้ว ไม่ใช่การแค่ "เรียนเพื่อสอบ" แต่ต้อง 
"เรียนเพื่อการเรียนรู้" เพราะหน้าที่ของภาษาคือ เพื่อการสื่อสาร นับแต่นี้ 
ไป ใครใช้ภาษาอังกฤษไม่ได้ คุณคือจุดอ่อน ยิ่งในห้วงเวลาเตรียมรับการ 
เปิดประชาคมอาเซียน ถ้าพูดอังกฤษไม่ได้ กลายเป็นจุดบอดในทันที 
แทนที่จะเรียนภาษาอังกฤษเพื่อให้รู้ภาษาอังกฤษ ธานินทร์แนะว่า ควรมี 
การตั้งเป้าหมายที่ไกลกว่านั้น เรียนเพื่อประโยชน์ในด้านอื่น โดยใช้ภาษา 
อังกฤษเป็นเครื่องมือ เหมือนกับการเรียนวิชาต่างๆ ด้วยภาษาอังกฤษทำาให้ 
ต้อง "เป็น" ภาษาอังกฤษ เพื่อจะเรียนวิชานั้นๆ เข้าใจ เช่นเดียวกับคนวัย 
ทำางานทั่วไป อาทิ คนที่มีอาชีพขับแท็กซี่เรียนภาษาอังกฤษ เพื่อการ 
รับรองผู้โดยสารชาวต่างประเทศ หรือ หมอนวดแผนโบราณเรียนเพื่อ 
สื่อสารกับลูกค้า ซึ่งเมื่อมีเป้าหมายที่ชัดเจนจะทำาให้มีกำาลังใจในการเรียน 
ทั้งนี้ จะให้ดีควรหาเพื่อนร่วมเรียน เพราะส่วนใหญ่เมื่อเรียนคนเดียวจะล้ม 
เลิกความตั้งใจโดยง่าย
"จริงๆ แล้วการเรียนภาษาอังกฤษมีอยู่ 4 ด้าน ด้านแรก เรียกว่า Syntax 
หรือ "ไวยากรณ์" ด้านที่ 2 Semantics คือ "ความหมาย" คนไทยส่วน 
ใหญ่เรียนแค่ 2 ตัวนี้ คือ Vocabulary กับ Grammar แม้แต่เด็กที่เรียนก็ 
จะจำาแค่นี้ แต่จริงๆ หลายประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ดี แทบไม่ได้เรียน 2 
ตัวนี้เลย 2 ตัวนี้เป็นเพียงผลพลอยได้ แต่ 2 ตัวที่เป็นตัวหลัก คือ 
Phonology "การออกเสียงที่ถูกต้อง" กับ Pragmatics คือ "การใช้ 
จริง"สำาหรับคนที่พลังเยอะ มีห้องนี้ไว้รับมือ "ธาตุไฟ"ธานินทร์อธิบายเพิ่ม 
เติมว่า "สองตัวแรกไวยากรณ์และความหมาย ใช้สมองซีกซ้ายในการ 
เรียน ต้องใช้ตรรกะในการเรียน ต้องใช้ความจำาเยอะมาก แต่เรื่องการ 
ออกเสียงเป็นสมองซีกขวา เป็นเรื่องของทักษะ ออกเสียงถูกหรือไม่ถูก 
ส่วน Pragmatics บางคนคิดว่าคือ การเดินเข้าไปหาฝรั่งแล้วเซย์ ฮัลโหล 
ฮาว อาร์ ยู แต่...ไม่ใช่ ที่จริงเป็นความเข้าใจในวัฒนธรรม และการใช้ 
ภาษาได้ถูกต้องในทางวัฒนธรรม 
"คนไทยไม่เรียนเรื่องวัฒนธรรมต่างชาติ จึงไม่เข้าใจบริบทของวัฒนธรรม 
ทางภาษา แม้ประโยคถูกแต่บริบทผิดความหมายก็ผิด ยกตัวอย่างคำา 
ทักทายของคนไทยจะทักว่า "กินข้าวหรือยัง" นี่คือบริบทของคนอินโดไช 
น่า แต่ถ้าไปทักแบบนี้กับฝรั่ง มันเป็นบริบททางวัฒนธรรมที่แปลก เขาอาจ 
จะคิดว่ามายุ่งเรื่องของฉันทำาไม" 
แล้วเรียนภาษาอังกฤษอย่างไร จึงสามารถใช้ได้เหมือนเจ้าของภาษา? สิ่ง 
สำาคัญอยู่ที่เรื่องของ "เสียง" คนไทยจำาเสียงผิด เนื่องจากขาดต้นแบบที่ถูก 
ต้อง แม้จะเขียนถูกแต่ออกเสียงผิดฝรั่งก็ไม่เข้าใจ ซึ่งตรงนี้เทคโนโลยีช่วย 
ได้ ไม่ว่าจะเป็นการดูภาพยนตร์พากย์ภาษาอังกฤษ หรือโหลดแอพพลิ 
เคชั่น สอนภาษาอังกฤษได้ทั้งนั้นหัวใจสำาคัญคือ ถ้าเป็นหนังให้ปิดซับไต 
เติ้ลฟังเสียงอย่างเดียว โดยหยุด (pause) เป็นระยะๆ และออกเสียงตาม 
ซึ่งควรทำาซำ้าๆ กระทั่งสามารถออกเสียงได้เหมือนกับต้นแบบ "เพราะเมื่อ 
ใดก็ตามที่เราออกเสียงได้ถูกต้อง เราจะฟังได้ทันที" ธานินทร์ยืนยัน พร้อม 
กับอธิบายถึงกระบวนการรับรู้ในสมองว่า สมองคนเราแบ่งเป็นชั้นๆ ส่วนที่
เกี่ยวข้องกับกระบวนการรับรู้ข้อมูลใหม่ เรียกว่า "เวิร์กกิ้ง เมมโมรี่" 
(Working Memory) จะจำาได้ 7 ตัว ซึ่งการรับรู้ตรงนี้ของแต่ละคนจะ 
ต่างกัน บางคนจำาได้ 12 บางคนจำาได้แค่ 5 แต่ส่วนใหญ่จะจำาได้ 7 
ฉะนั้นเวลาที่เราฟังชาวต่างชาติพูดแล้วฟังไม่ทัน เพราะนั่นเป็นข้อมูลใหม่ 
ที่เรายังไม่เคยรับรู้มาก่อน ถ้าเรารับรู้ข้อมูลนั้นมาแล้ว ระบบการทำางาน 
ของสมองจะใช้อีกส่วนซึ่งอยู่ด้านใต้ เรียกว่า "ลอง เทอม เวิร์กกี้ง เมมโมรี" 
(Long Term Working Memory) เป็นส่วนที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ 
ฉะนั้นการฝึกทักษะจึงเป็นสิ่งจำาเป็น 
การเรียนภาษาอังกฤษผ่านการดูภาพยนตร์ โดยปิดซับไตเติ้ล ฟังซำ้า 
หลายๆ ครั้ง จำาทั้งประโยคไปเลย นอกจากจะได้เสียงที่ถูกต้องแล้ว 
ผลพลอยได้คือ จะได้ทั้งทักษะ ไวยากรณ์ รูปประโยค และความหมายโดย 
อัตโนมัติยิ่งกระแสของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ยิ่งทำาให้เรื่องของการ 
ฝึกทักษะเป็นสิ่งจำาเป็น ธานินทร์สะท้อนถึงแนวโน้มของโรงเรียนกวดวิชา 
ภาษาอังกฤษในปัจจุบันในฐานะผู้ครำ่าหวอดในแวดวงว่า โรงเรียนกวด 
วิชาภาษาอังกฤษมี 2 แบบ คือ 1. เรียนวิชาการ (Academic) และ การ 
เรียนทักษะ (Skill) สองตลาดนี้อยู่แยกกันโดยสิ้นเชิง เมื่อก่อนคนที่เรียน 
ทักษะจะเป็นผู้ใหญ่วัยต้นๆ จนทำางาน ปัจจุบันคนสนใจมากขึ้นในทุกระดับ 
เพราะกระแสของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทำาให้เรื่องของทักษะเป็นสิ่ง 
จำาเป็น รวมทั้งในเด็กเล็กด้วย จากเดิมที่เริ่มเรียนกันตอน ม.5-6 ปัจจุบัน 
ม.1 เริ่มกวดวิชาแล้ว เพราะ "การจำา" เริ่มจาก "การทำา" ซึ่งคนส่วนใหญ่ 
ไม่รู้ การเอาตัวเองเข้าไปสัมพันธ์จึงเกิดการเรียนรู้ เกิดการจำาขึ้นในสมอง 
ความล้มเหลวของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษนั้น มีสาเหตุมาจาก 
ประสิทธิภาพของครูซึ่งไม่ได้รักษาอย่างถ่องแท้มากพอที่จะพูดในเรื่องราว 
อื่น และครูไทยบางคนนอกจากพูดเป็นประโยคไม่ได้ ฟังไม่ออกแล้ว ยัง 
มีปัญหาเรื่องการออกเสียงผิดอีก ซึ่งทำาให้การสื่อสารไม่สามารถบรรลุผล 
ได้ ข้อเสนอแนะที่ให้ไว้คือ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษควรใช้ภาษาอังกฤษ
กับเด็กนักเรียนตลอดเวลา เพื่อให้เกิดทักษะการใช้ภาษา ทั้งทักษะการ 
พูดเพื่อให้เกิดทักษะการใช้ภาษา และการฟัง และจะสนทนานอกเรื่องกับ 
นักเรียนไปด้วยเพื่อให้สามารถใช้ภาษาได้จริงในชีวิตประจำาวัน ซึ่งจุดนี้ผู้ 
เขียนเข้าใจว่า เป็นการใช้ภาษาอังกฤษกับผู้เรียนในสถานการณ์อื่น ๆ 
นอกห้องเรียนด้วยนั่นเอง ในประเด็นประสิทธิภาพของครูผู้สอน ผู้สอน 
ภาษาอังกฤษในเมืองไทยเราควรจะมีคุณสมบัติหลัก ๆ 2 ประการ คือ 
ประการที่หนึ่ง เป็นผู้มีความสามารถในการใช้ภาษาทั้ง ฟัง พูด อ่าน 
เขียน ได้ในระดับดีถึงดีมาก เพื่อเป็นแบบอย่างที่ถูกต้องทางภาษาแก่ 
นักเรียน คุณสมบัติเช่นนี้พึงพบได้ในบัณฑิตซึ่งจบทางด้านมนุษยศาสตร์ 
หรืออักษรศาสตร์ ในวิชาภาษาอังกฤษ 
ประการที่สอง เป็นผู้มีความเข้าใจในจิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้เรียนในวัย 
ต่าง ๆ เป็นผู้รู้ถึงเทคนิควิธีรวมถึงการใช้โสตอุปกรณ์ในการที่จะทำาให้การ 
เรียนการสอนเป็นไปอย่างสนุกสนานราบรื่น และบรรลุวัตถุประสงค์ของ 
บทเรียนได้คุณสมบัติเช่นนี้พึงพบได้ในบัณฑิตซึ่งจบในสายศึกษาศาสตร์ 
หรือครูศาสตร์ ซึ่งส่วนมากเตรียมตัวเตรียมใจเพื่อเป็นครูอยู่แล้ว ครูซึ่งมี 
คุณสมบัติทั้งสองประการนี้ในคนคนเดียวกันนับได้ว่าเป็นผู้สอนภาษา 
อังกฤษในอุดมคติทีเดียวแต่ในความเป็นจริงแล้วหาครูที่มีคุณสมบัติทั้งสอง 
ประการดังกล่าวได้ยากทีเดียว จากประสบการณ์ของผู้เขียนในด้านการ 
สอนภาษาอังกฤษและการได้สัมผัสกับผู้สอนภาษาอังกฤษจากการอาสา 
สมัครเข้าช่วยโรงเรียนของลูกในสาขาวิชาที่ผู้เขียนใช้ประกอบอาชีพอยู่ 
ทุกเมื่อเชื่อวัน ผู้เขียนใคร่ขอโอกาสเสนอแนะแนวทางบางประการอัน 
เกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียน ดังต่อไปนี้ 
1. วิธีแก้ปัญหาเรื่องการออกเสียงที่ผิดของครูผู้สอนภาษาอังกฤษ วิธีนี้ 
เป็นวิธีที่ได้รับ การบอกเล่ากันมานาน และเป็นสิ่งที่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
พึงปฏิบัติอยู่แล้ว แต่บางครั้งสิ่งนี้ก็ถูกละเลยทั้งอย่างไม่ตั้งใจหรือถูกมอง 
ข้างความสำาคัญไปเลยนั่นก็คือ เมื่อใดก็ตามที่จะสอนศัพท์ตัวใหม่ ผู้สอน 
ควรจะเตรียมการออกเสียงให้ถูกต้อง โดยใช้ความรู้ในวิชา Phonetics 
ซึ่งมีบรรจุในหลักสูตรทั้งทางศึกษาศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เข้าช่วยให้ 
ออกเสียงได้อย่างถูกต้อง โดยตรวจสอบจากพจนานุกรม ซึ่งพจนานุกรม 
ที่ดีจะบอกทั้งการลงเสียง (stressing) การให้ความหมายที่หลากหลาย 
ในแต่ละบริบท ตัวอย่างการใช้คำา รวมทั้งบอกให้ทราบด้วยว่า คำา คำานั้น 
ทำาหน้าที่อะไรในประโยคด้วย เช่น เป็นคำาคุณศัพท์ หรือคำานาม 
เป็นต้น หรือหากมีเพื่อนร่วมงานซึ่งเป็นเจ้าของภาษาก็สามารถตรวจสอบ 
การออกเสียงจากเจ้าของภาษาก็สามารถตรวจสอบการออกเสียงจาก 
เจ้าของภาษาได้โดยตรง ไม่ควรรู้สึกเสียหน้าใด ๆในการทำาเช่นนี้ และ 
หากสามารถจดบันทึกไว้ได้ก็จะยิ่งเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ตัวผู้สอนเอง และ 
ประหยัดเวลาหากต้องใช้ตำาราเล่มเติมนั้นในการสอนครั้งต่อไป 
2. การสร้างโอกาสให้นักเรียนได้ผลแบบอย่าง (Model) ทางภาษาที่ถูก 
ต้องจากเจ้าของภาษาหรือที่ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษามากที่สุด นอก 
เหนือจากภาษาที่สอนในห้องเรียน การขอความช่วยเหลือจากผู้จากผู้ 
ปกครองของนักเรียนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง หรือภาษาที่สอง 
(หากว่ามี) หรือแม้แต่ผู้ปกครองไทยที่มีความสามารถในการใช้ภาษา 
อังกฤษ ก็เป็นไปได้ โดยผู้สอนเป็นผู้คิดกิจกรรมที่นักเรียนมีโอกาสได้ใช้ 
ทักษะทางภาษาอย่างแท้จริง ควรจะใช้ภาษาอังกฤษในทักษะทั้งสองนี้ได้ 
ตัวอย่างกิจกรรมสำาหรับเด็กโต อาจเป็นการสัมภาษณ์ซักถามเกี่ยวกับ 
อาชีพและในเด็กเล็กอาจเป็นการอ่านนิทานให้ฟังซึ่งในขณะที่เล่าก็อาจ 
แทรกการพูดคุยกับเด็กไปด้วยได้ ซึ่งมั่นใจว่าการเตรียมการและความ 
ตั้งใจที่ดีของครูจะได้ความร่วมมือจากผู้ปกครองอย่างแน่นอน 
3. การใช้ภาษาอังกฤษของผู้สอนกับนักเรียนในสถานการณ์หรือบริบท 
อื่น ๆ ในโรงเรียน ซึ่งนอกเหนือจากในบทเรียนสามารถเกิดขึ้นได้ แม้จะ
ไม่ง่ายนัก สิ่งที่ผู้เขียนจะเสนอแนะก็คือการระดมสมองของกลุ่มครูผู้สอน 
ภาษาอังกฤษทุกคนในโรงเรียน โดยครูทุกคนช่วยกันคิดหัวข้อ 
สถานการณ์ที่ครูจะใช้ภาษาอังกฤษกับนักเรียน เช่น เมื่อเจอกันที่บันได 
ภาษาที่ใช้ก็อาจจะเป็นเตือน (Warning) ให้เดินดี ๆ อย่าเล่นกันเวลาขึ้น 
บันได หรือถ้าตอนทางอาหารก็อาจจะเป็นการห้าม(Prohibition) บอกไม่ 
ให้คุยระหว่างที่มีอาหารอยู่ในปาก ฯลฯ แล้วรวบรวมเขียนขึ้นมาเป็น 
เหมือนคู่มือของผู้สอนภาษาอังกฤษที่จะใช้พูดกับนักเรียนในสถานการณ์ 
ต่าง ๆ กัน แล้วฝึกการใช้ภาษาเหล่านั้นสำาหรับความถูกต้องของภาษาก็ 
สามารถตรวจสอบได้โดยการขอความช่วยเหลือจากแหล่งอื่น เช่น 
สถาบันอุดมศึกษาภายในท้องถิ่น หรือแม้แต่จากกเจ้าของภาษาที่ยินดี 
ช่วยเหลือ 
4. การยอมรับ Asian English (การใช้ภาษาอังกฤษโดยกลุ่มคนใน 
เอเชีย) เป็นการยากหรือเรียนได้ว่า เป็นไปไม่ได้เลยที่ผู้เรียนภาษา 
อังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ(English as a Foreign language) 
โดยเฉพาะเมื่อเรียนอยู่แต่ในประเทศของตนเอง แม้จะเรียนจากเจ้าของ 
ภาษาโดยตรงก็ตาม ที่จะสามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างไม่ผิดเพียน 
เพราะลักษณะทางภาษาของทั้งสองภาษาแตกต่างกันอย่างเดินชัด 
นอกจากความยากลำาบากนี้แล้ว คนไทยด้วยกันเองก็มีแนวโน้มในการ 
ดูถูกหรือคอยจับผอดคนอื่นในการใช้ภาษาอังกฤษด้วยเช่น ลองคิดดูว่า 
หากท่านเป็นผู้สอนภาษาอังกฤษที่ถูกจับจ้องอยู่แต่เรื่องของความถูกต้อง 
ของภาษา (Accuracy) มากกว่าการสื่อสาร (Communication) ทุก 
ครั้งที่ท่านพูด ท่านจะกล้าเปิดปากพูดอีกหรือไม่ แล้วจะมีใครกล้าพูดกับ 
นักเรียนอุปสรรคเช่นนี้ไม่ได้เกิดขึ้นแต่ในประเทศไทยเท่านั้น แต่เกิดขึ้น 
ในเกือบทุกประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ ประเทศญี่ปุ่น 
เล็งเห็นปัญหานี้ และได้ทำาการศึกษา และเริ่มปรับเปลี่ยนทัศนคตินี้โดย 
เริ่มในโรงเรียนมัยยมของเขาแล้ว หากคนไทยเราสามารถเปิดใจให้การ 
ยอมรับว่าภาษาอังกฤษแบบไทย ๆ ก็สามารถใช้สื่อสารได้อย่างมี
ประสิทธิภาพแล้ว สถานการณ์การเรียนการสอนภาษาอังกฤษใน 
ประเทศไทยก็คงจะง่ายขึ้นบ้างสำาหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษ 
ครูไทยของเราทำางานหนัก และได้ผลตอบแทนเพียงแค่พออยู่พอกิน ถ้า 
หากพบเห็นปัญหาแล้วมีข้อเสนอแนะเพื่อช่วยกันแก้ปัญหาและเพื่อเป็น 
กำาลังใจให้ครูทุกท่านมีกำาลังใจ และเห็นแนวทางที่จะปรับปรุงการเรียน 
การสอนให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นต่อไป 
ความสำาคัญ 
ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สำาคัญมากในสมัยนี้ และจะยิ่งสำาคัญมากๆ ใน 
อนาคต เรียกได้ว่าใครไม่ได้ภาษาอังกฤษ เวลาหางานคงลำาบากละ แต่ 
skill ของเด็กไทยกลับสวนทางกันอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งคนที่เรียนภาษาเก่ง 
ก็เก่งถึงขั้นได้ไปแลกเปลี่ยนกันสนุกสนาน แต่คนที่เรียนอ่อนภาษาอังกฤษ 
ก็สอบตกกันเป็นงานอดิเรกเลยทีเดียว จึงทำาการวิเคราะห์สาเหตุที่เด็กไทย 
อ่อนภาษาอังกฤษ ได้ดังนี้ 
1) ภาษาอังกฤษไม่ใช่ภาษาแม่ของไทย เป็นเรื่องที่ดีที่ชาติไทยไม่เคยตก 
เป็นเมืองขึ้นของใคร แต่มันก็มีจุดอ่อน ทำาให้เราไม่สันทัดในภาษาอังกฤษ 
และเรายังมีภาษาไทยเป็นภาษาประจำาชาติอีกด้วย พูด ฟัง อ่าน เขียน เป็น 
ภาษาไทย แต่ละวันเลยแทบจะไม่ได้ใช้ภาษาอื่นเลย ภาษาอังกฤษที่เรียน 
มา พอไม่ได้ใช้ก็กลายเป็นใช้กันไม่เป็นไปซะดื้อๆ 
2) เด็กไทยไม่รู้คำาศัพท์ เป็นสาเหตุที่ส่งผลร้ายแรงที่สุด ตราบใดที่ไม่รู้คำา 
ศัพท์ก็อย่าหวังว่าจะพูดได้ เพราะในเมื่อคลังคำาศัพท์เรามีน้อยเหลือเกินเรา 
ก็ไม่สามารถจะคิดประโยคที่ใช้ในการสื่อสารได้ ไม่ใช่แค่เฉพาะการพูด 
หรือเขียนนะ ฟังกับอ่านก็ไม่ได้ด้วย รู้ว่าเป็นคำาเป็นตัวอักษร แต่มันแปลว่า 
อะไรอะ แอ๊ก!! อันนี้มักจะเห็นผลชัดเจนเวลาทำาข้อสอบพาร์ทบทความ 
ยาวๆ
3) ยึดตามหนังสือเรียนเกินไป จริงอยู่ที่เวลาเรียนก็จะต้องมีหนังสือเรียน 
เพื่อให้รู้ว่าประโยคแต่ละประโยคเรียงยังไง ใช้ยังไง แต่หารู้ไม่ว่าในชีวิต 
จริงการพูดของฝรั่งก็ไม่ได้ตรงตามแกรมม่าหรอกนะ ก็เหมือนภาษาไทย 
นั่นแหละ ภาษาพูดภาษาเขียนที่ใช้กันจริงๆ ไม่ค่อยมีใครมานั่งนึกว่าถูก 
ไวยากรณ์ไหม เอาแค่สื่อสารรู้เรื่องก็พอแล้ว ภาษาอังกฤษก็เป็นเช่นนั้น 
เหมือนกัน ดังนั้นถ้าคิดจะหัดพูด ลองพูดๆ ไป อย่าไปยึดแกรมม่ามากจน 
เกินไป เพราะจะทำาให้พะวงจนไม่กล้าใช้ภาษาอังกฤษ แต่ถ้ากล้าที่จะพูด 
หรือคุยไปเรื่อยๆ เราจะเรียนรู้แกรมม่า รู้วิธีการสื่อสารโดยอัตโนมัติ แบบนี้ 
สิเค้าเรียกว่าเรียนจา d ประสบการณ์ จะชำานาญขึ้นมาเอง 
ดังนั้นจึงไม่แปลกใจเลยว่า เด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษกันมา 10 ปี 15 ปี 
แต่คนที่ใช้ได้คล่องก็เป็นแค่คนกลุ่มเล็กๆ เท่านั้น 
4) ไม่มีโอกาสได้ใช้ แม้ว่าโรงเรียนสมัยนี้จะจ้างอาจารย์ฝรั่งมาสอนกัน 
เต็มไปหมด แต่อาทิตย์นึงก็อาจจะมีเวลาพูดคุยกับฝรั่งจริงๆ ก็แค่อาทิตย์ละ 
2-3 ชั่วโมง ซึ่งมันก็แค่นั้นจริงๆ ไม่มีใครที่จะใช้ภาษาอังกฤษในชีวิต 
ประจำาวัน (ยกเว้นโรงเรียนที่เค้าบังคับ) ดังนั้นเมื่อไม่มีช่องทาง เราก็จะไม่ 
ใช้กันเลย จริงไหม แล้วมารอคุยกับอาจารย์ฝรั่งอีกทีคาบหน้า ถึงแม้เราจะ 
ไม่ได้เป็นคนพูด แต่แค่ได้ฟัง หรืออ่าน ก็ได้ฝึกทักษะแล้ว 
5) อาย แค่ไม่มีโอกาสได้ใช้ก็ว่าหนักแล้ว ยังจะอายอีก ความอายทำาให้ 
เราสูญเสียโอกาสหลายๆ อย่างในชีวิตนะคะ โอกาสอันดีของเราที่จะได้คุย 
กับเจ้าของภาษา ลองสัมภาษณ์ลองเอาความรู้ทั้งหมดที่เรียนมา ใช้ออกไป 
ให้เต็มที่ ถ้าอยากจะอาย ควรอายในเรื่องที่ไม่ดีแทนดีกว่า 
ผลสำารวจจากสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ชี้ทักษะ 
ภาษาอังกฤษของคนไทยอยู่ในอันดับที่ 8 จาก 10 ประเทศในเอาเซียน ดี 
กว่าลาว และกัมพูชาเท่านั้น ส่วนคะแนนโทเฟลอยู่อันดับ 6 ในกลุ่ม 
อาเซียน* โดยเวียดนามแซงหน้าแล้ว หากไม่เร่งปรับทัศนคติ และพัฒนา
ทักษะภาษาอังกฤษของตนให้ทัดเทียมประเทศเพื่อนบ้าน อีกสามปีข้างหน้า 
สถานการณ์แรงงานไทยจะ เสียเปรียบในเวที AEC ทำาให้ไม่สามารถ 
แข่งขันกับแรงงานประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนได้ ถึงแม้ว่าจะมีประสบการณ์ 
ในสายงานนั้น ๆ หรือมีทักษะในด้านอื่น ๆ ก็ตามแรงงานไทยเจอศึกหนัก 
หากไม่รู้ภาษาอังกฤษ 
ปี 2558 ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เมื่อเข้าสู่ 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภูมิภาคอาเซียนจะกลายเป็นกลุ่มเศรษฐกิจ 
ขนาดใหญ่ มีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน ส่งผลให้แรงงาน สินค้าและ 
บริการเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีภายในภูมิภาค 
นับเป็นเรื่องท้าทายสำาหรับแรงงานไทย เพราะจะมีการแข่งขันสูงในตลาด 
แรงงาน เพราะจะมีอาชีพ 8 อาชีพที่แรงงานสามารถทำางานได้ทั่วภูมิภาค 
อาเซียน ได้แก่ วิศวกร พยาบาล สถาปนิก การสำารวจ นักบัญชี 
ทันตแพทย์ แพทย์ การบริการ/การท่องเที่ยว บริษัทต่าง ๆ จะเริ่มคัดเลือก 
พนักงานในระดับภูมิภาคแทนการหาแรงงานในประเทศเพียงอย่างเดียว 
วุฒิการศึกษาเท่ากัน เกรดเท่ากัน แต่จุดที่จะตัดสินว่าใครจะได้งาน คือ 
ความสามารถทางภาษา 
อริสรา ธนาปกิจ หรือครูแนน ผู้พลิกวงการภาษาอังกฤษด้วยเสียงเพลง 
และผู้ร่วมก่อตั้งสถาบันพัฒนาภาษา Enconcept E- Academy เบื้อง 
หลังความสำาเร็จของเด็ก ๆ จำานวนมาก ให้ข้อคิดเห็นในงาน "Think 
Beyond : คิดข้ามช็อต" ว่า "การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของคนไทย 
ให้ทัดเทียมกับนานาชาติเป็นเรื่องจำาเป็นอย่างยิ่ง ถ้าภาษาอังกฤษดี คน 
ไทยจะได้เปรียบ ภาษาอังกฤษไม่ได้สำาคัญแค่เรื่องการติดต่อสื่อสาร แต่ยัง 
เป็นเหมือนประตูบานใหญ่ในการหาองค์ความรู้ใหม่ ๆ เพราะต้นทางความ
รู้ส่วนใหญ่ เช่น วารสารทางการแพทย์ หรือ การค้นคว้าวิจัยต่าง ๆ ใน 
อินเทอร์เน็ต มักจะเป็นภาษาอังกฤษ" 
ทีมงานผู้เชี่ยวชาญจาก Enconcept E- Academy ให้ข้อมูลเพิ่มเติมถึง 
ความสำาคัญของภาษาอังกฤษ โดยยกตัวอย่างบริษัทผลิตนำ้ามันยักษ์ใหญ่ 
แห่งหนึ่งของโลก ซึ่งเป็นที่ใฝ่ฝันของผู้ที่จบทางด้านวิศวกรรมที่อยาก 
ทำางานที่แท่นขุดเจาะ เพราะรายได้เริ่มต้นสูงถึงหนึ่งแสนบาทต่อเดือน 
บริษัทดังกล่าวใช้วิธคัดเลือกพนักงานด้วยการให้พนักงานโทรข้ามประเทศ 
ไปยังโรงเรียนสอนภาษาที่ประเทศอังกฤษ เพื่อวัดทักษะการใช้ภาษา 
อังกฤษของผู้เข้าสมัครท่องเที่ยวและโลจิสติกส์มาแรงหลังเปิด AEC 
หลังเปิด AEC โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมระหว่างประเทศจะพัฒนา 
มากขึ้น เช่น จะมีโครงการรถไฟความเร็วสูงจากประเทศจีนมายังสิงคโปร์ 
ซึ่งเส้นทางส่วนใหญ่ผ่านประเทศไทย เป็นผลดีต่อการท่องเที่ยว แนวโน้ม 
การท่องเที่ยวของไทยจะขยายตัวสูงมาก มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาใน 
ไทยกว่า 20 ล้านคน นับว่าเป็นโอกาสทองของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 
ของไทย เพราะเราเชี่ยวชาญเรื่องการบริการและการท่องเที่ยวอยู่แล้ว 
อย่างไรก็ตามการรู้ภาษาอังกฤษและภาษาที่สามอื่น ๆ จะช่วยเพิ่มโอกาส 
ของแรงงานไทยในการหางานในอุตสาหกรรมนี้ได้ "อาชีพที่มาแรงอย่าง 
อาชีพบริการและการท่องเที่ยว ก็เป็นอาชีพที่น่าสนใจสำาหรับเด็กสายศิลป์ 
เพราะต้องใช้ความสามารถทางด้านภาษาอย่างมาก เด็ก ๆ ควรมีความ 
แข็งแกร่งทางด้านภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาที่สามที่แนะนำาคือ ภาษาจีน 
ภาษาญี่ปุ่น และภาษาอาหรับ เพราะในแต่ละปี มีนักท่องเที่ยวจากกลุ่ม 
ประเทศเหล่านี้เดินทางมายังประเทศไทยเป็นจำานวนมาก" ครูพี่แนนชี้ 
นอกจากนี้ไทยจะได้ประโยชน์จากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน 
คมนาคมในด้านการขนส่ง หรือ โลจิสติกส์ หากวิเคราะห์ถึงที่ตั้งของ
ประเทศไทยแล้ว ถือว่าเป็นจุดยุทธศาสตร์หรือเรียกว่า HUB กล่าวคือ ด้าน 
บนเป็นจีน ฝั่งหนึ่งเป็นอินเดีย อีกฝั่งหนึ่งเป็นญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ส่วนด้านล่าง 
เป็นออสเตรเลีย จะมีการพัฒนาโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการท่าเรือนำ้าลึก 
ทวาย ซึ่งเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมโยงทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ดังนั้น 
อีก 1 อาชีพที่น่าสนใจคือโลจิสติกส์ หรือการขนส่ง ซึ่งเป็นเรื่องของการ 
จัดการด้านการขนส่งสินค้าจากคลังไปยังผู้บริโภค ซึ่งไทยยังขาดแคลน 
ทรัพยากรบุคคลด้าน โลจิสติกส์ อยู่มาก 
จะเห็นได้ว่าประเทศไทย ไม่ว่าจะขยับตัวไปทางไหน สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ 
เลยคือความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ถึงเวลาแล้วที่คนไทยจะต้อง 
"กำาจัดจุดอ่อน" เริ่มต้นเรียนรู้และฝึกฝนภาษาอังกฤษเสียแต่เนิ่น ๆ เพื่อจะ 
ได้ก้าวสู่ AEC ได้อย่างมั่นใจและมั่นคง 
คุณ คิดว่าคุณเก่งภาษาอังกฤษหรือไม่?” ถ้าคำาตอบคือคิดว่า “(ยัง)ไม่เก่ง” 
ขอถามต่อว่าแล้วทำาไมหรือเพราะสาเหตุใดทำาให้คุณไม่เก่งภาษาอังกฤษ 
หล่ะครับ? จากการคลุกคลีอยู่กับคนไทยที่อยากเก่งภาษาอังกฤษมานับร้อย 
จึงอยากเล่าประสบการณ์ผ่านอัคนีฉบับนี้พร้อมกับวิเคราะห์ให้ท่านผู้อ่าน 
เก็บ ไปคิดเป็นการบ้าน ต่อไปนี้คือตัวอย่างของเหตุผล (หรือข้ออ้างกัน 
แน่?!?) ยอดฮิตที่คนไทยมักจะอ้างว่าทำาให้เราไม่เก่งภาษาอังกฤษ 
เหตุผลที่ 1 “รู้คำาศัพท์น้อย” 
นี่เป็นเหตุผลสุดฮิต เรียกได้ว่าติด TOP 5 มาโดยตลอด คุณเริ่มท่องศัพท์ 
ภาษาอังกฤษมาตั้งแต่อายุกี่ขวบหรือครับ? แล้วในชีวิตของคุณท่องศัพท์มา 
แล้วกี่ปีหรือกี่คำา? แล้วคุณคิดว่าคุณต้องรู้คำาศัพท์สักกี่คำาที่จะทำาให้คุณ 
สนทนากับฝรั่งได้? ในระบบการศึกษาของไทยสมัยก่อน ผมเริ่มเรียนภาษา 
อังกฤษตอน ป.5 แล้วโดนจับท่องคำาศัพท์มาโดยตลอด ผมคิดว่าจบมัธยม
ปลายนักเรียนไทยน่าจะรู้คำาศัพท์เป็นพันคำา เด็กสมัยนี้จะโชคดีกว่าสมัยผม 
ตรงที่ส่วนใหญ่จะเรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่เด็ก บางคนเรียนตั้งแต่อนุบาล 
ยังมีเลย เพราะฉะนั้นเด็กรุ่นใหม่น่าจะรู้คำาศัพท์มากกว่าคนรุ่นก่อนด้วยซำ้า 
อย่างไรก็ตามผมอยากให้คุณเปรียบเทียบตัวคุณซึ่งรู้คำาศัพท์เป็นพันคำากับ 
เด็ก ฝรั่งอายุสักประมาณ 6 – 7 ขวบ คุณคิดว่าใครจะรู้คำาศัพท์มากกว่า 
กัน? อย่าบอกนะครับว่าเด็กที่เพิ่งพูดได้ไม่กี่ปีจะรู้คำาศัพท์มากกว่าคุณ นี่คือ 
ตัวอย่างว่าเด็กฝรั่งซึ่งรู้คำาศัพท์เพียงไม่กี่ร้อยคำาก็พูดภาษาอังกฤษ ได้แล้ว 
ดังนั้นการรู้คำาศัพท์น้อยอาจจะไม่ใช่อุปสรรคที่สำาคัญที่สุดที่จะทำาให้คุณ 
พูด ภาษาอังกฤษไม่ได้หรอก ลองคิดอีกแง่หนึ่งสำาหรับคนไทย ทำาไมคน 
ไทยจึงพูดภาษาไทยได้คล่องทั้งที่ตอนเด็กๆ เราไม่เห็นต้องท่องคำาศัพท์ 
ภาษาไทยวันละ 5 คำาเป็นนกแก้วนกขุนทองเหมือนการฝึกภาษาอังกฤษ 
เลย แล้วทำาไมเราท่องคำาศัพท์ภาษาอังกฤษกันตั้งมากมายกลับยังพูด 
สนทนากับฝรั่งไม่ รู้เรื่องสักทีหล่ะครับ? เรื่องนี้ต้องอธิบายยาวเนื้อที่แค่นี้ไม่ 
พอแน่ครับ เอาไว้จะแนะนำาในฉบับต่อๆ ไปถึงวิธีการท่องคำาศัพท์ที่จะ 
ทำาให้คุณนำาไปใช้งานได้จริงๆ 
เหตุผลที่ 2 “ไม่ค่อยได้ใช้” 
เหตุผลหรือข้ออ้างข้อนี้ก็พอฟังขึ้นอยู่นะครับ อะไรก็ตามที่คุณเรียนรู้แล้ว 
ไม่ได้นำาไปใช้ก็จะลืมไปในที่สุด แต่ในเมื่อคุณรู้ว่าคุณไม่ค่อยมีโอกาสใช้ 
ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำาวัน แล้วทำาไมไม่แสวงหาภาษาอังกฤษให้เข้า 
มาในชีวิตคุณล่ะครับ? จะได้เก่งซักที สมัยนี้ยังโชคดีตรงที่คุณสามารถ 
หาความรู้ทางภาษาอังกฤษได้ง่ายดายกว่าสมัย ก่อนเยอะมาก ไม่ว่าจะ 
เป็นการใช้อินเตอร์เน็ต, การ chat กับเพื่อนต่างชาติ, การเขียนจดหมา 
ยอิเล็คโทรนิค ฯลฯ ขนาดรายการโทรทัศน์ของไทยเองยังมีภาษาอังกฤษ 
ให้ดูมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นข่าวภาคภาษาอังกฤษที่มีให้เห็นแทบทุกวัน 
หนังสือพิมพ์ นิตยสารนอก ก็มีให้อ่านมากขึ้น ภาพยนตร์ต่างประเทศก็ได้ 
รับความนิยมมานมนาน คุณเห็นหรือยังครับว่าช่องทางในการเสาะหา 
ภาษาอังกฤษนั้นง่ายดายมาก ดังนั้นคนสมัยนี้น่าจะเก่งภาษาอังกฤษกว่า
คนรุ่นก่อนด้วยซำ้า ขอเพียงคุณเปิดใจรับภาษาอังกฤษเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง 
ในชีวิตประจำาวัน รับรองคุณจะเก่งขึ้นอย่างแน่นอนและจะได้เลิกอ้างว่า 
“ฉันไม่เก่งภาษาอังกฤษเพราะไม่ค่อยได้ใช้” ซักที นอกจากนั้น อีกสาเหตุ 
ที่ทำาให้คนไทยไม่ค่อยได้ใช้ภาษาอังกฤษคือ ไม่กล้าพูดออกไป กลัวผิด 
และกลัวโดนจับผิด (โดยเฉพาะคนไทยด้วยกันเอง) เดี๋ยวขายหน้า ขอร้อง 
เถอะครับ ถ้าอยากเก่งภาษาอังกฤษคุณต้องใจกล้าหน้า...พอสมควร ผม 
เองเคยหน้าแตกต่อหน้าฝรั่งมานับครั้งไม่ถ้วนจนแกร่งแล้วครับ ไม่เห็นมี 
ใครมาทำาโทษเวลาผมพูดผิดเลย แถมการหน้าแตกนี่หล่ะจะทำาให้เราจดจำา 
ไปนานแสนนานเลย และทำาให้เราใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องไม่ผิด 
แบบเดิมอีก คุ้มจะตายไป ฉะนั้นกล้าๆ พูดไปเถอะครับ และโดยธรรมชาติ 
ถ้าฝรั่งฟังเราพูดผิดเค้าก็มักจะแก้ให้เรา เราก็จำาสิ่งที่ถูกต้องไปใช้ ได้เรียน 
รู้อีกด้วย ถ้าไม่พูดออกไปก็ไม่รู้หรอกว่าที่คิดเอาไว้น่ะจะผิดหรือถูกกันแน่ 
เหตุผลที่ 3 “ไม่เคยไปต่างประเทศ” 
อันนี้ขึ้นกับแต่ละบุคคลครับ ผมเคยเห็นคนที่ใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศที่ใช้ 
ภาษาอังกฤษ แต่กลับพูดภาษาอังกฤษได้ไม่ดีเท่ากับคนไทยที่ไม่เคยไป 
ต่างประเทศก็มี [การไปใช้ชีวิตที่ต่างประเทศไม่มีอะไรรับประกันว่าจะ 
ทำาให้สำาเนียงคุณเป็น ฝรั่งได้หรอก แต่ผมก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า คนที่ไปใช้ 
ชีวิตในต่างประเทศมีโอกาสประสบความสำาเร็จในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ 
ได้มากกว่าคนที่อยู่ในประเทศไทย เพราะสิ่งแวดล้อมรอบตัวเค้าเป็นภาษา 
อังกฤษหมด มันจึงบังคับให้เค้าต้องใช้ภาษาอังกฤษตลอด ผมยังไม่เคย 
ได้ยินข่าวคนไทยในต่างแดนอดตายเพราะพูดภาษาอังกฤษไม่ได้เลย แต่ 
คนที่อยู่ในประเทศไทยก็ไม่ต้องน้อยใจ อย่างที่บอกว่าสมัยนี้คุณหาภาษา 
อังกฤษในชีวิตประจำาวันง่ายจะตายไป ดังนั้นก็พยายามดูหนังฝรั่งแทนการ 
ดูละครไทย, ฟังเพลงฝรั่งแทนเพลงไทย, อ่านหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร 
ภาษาอังกฤษ, คุยกับฝรั่งบ่อยๆ(ถ้ามีโอกาส) แค่นี้คุณก็ไม่ต่างอะไรกับคนที่ 
อยู่เมืองนอกแล้วหล่ะ
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา
เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา

More Related Content

Viewers also liked

Software engineering
Software engineeringSoftware engineering
Software engineeringTijaniyah
 
เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...
เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...
เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...Zilch 'savee
 
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die! Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die! Garey Simmons
 
υγιεινη διατροφη
υγιεινη διατροφηυγιεινη διατροφη
υγιεινη διατροφηtassiparaskevi
 
Presentation appearance a secretary
Presentation appearance a secretary Presentation appearance a secretary
Presentation appearance a secretary krisna ristanti
 
Pelanstrategik ict
Pelanstrategik ictPelanstrategik ict
Pelanstrategik ictmohd suhardi
 
παράδοση και τέχνη
παράδοση και τέχνηπαράδοση και τέχνη
παράδοση και τέχνηtassiparaskevi
 
Midokura @ OpenStack Seattle
Midokura @ OpenStack SeattleMidokura @ OpenStack Seattle
Midokura @ OpenStack SeattleCynthia Thomas
 
100 questions in cardiology
100 questions in cardiology100 questions in cardiology
100 questions in cardiologyLệnh Hồ Xung
 
School of elements
School of elements   School of elements
School of elements agjadhav
 
What's the deal with Neutron?
What's the deal with Neutron?What's the deal with Neutron?
What's the deal with Neutron?Cynthia Thomas
 
Presentasi geng motor meresahkan masyarakat
Presentasi geng motor meresahkan masyarakatPresentasi geng motor meresahkan masyarakat
Presentasi geng motor meresahkan masyarakatkrisna ristanti
 
CloudKC: Evolution of Network Virtualization
CloudKC: Evolution of Network VirtualizationCloudKC: Evolution of Network Virtualization
CloudKC: Evolution of Network VirtualizationCynthia Thomas
 
Presentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsa
Presentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsaPresentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsa
Presentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsakrisna ristanti
 
From Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack Networking
From Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack NetworkingFrom Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack Networking
From Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack NetworkingCynthia Thomas
 
Young Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng Phong
Young Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng PhongYoung Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng Phong
Young Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng PhongPhong Lê
 

Viewers also liked (20)

Technology
TechnologyTechnology
Technology
 
Software engineering
Software engineeringSoftware engineering
Software engineering
 
TP Present simple
TP Present simpleTP Present simple
TP Present simple
 
เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...
เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...
เรียนเพิ่มเติ่มวิชาสาระบันเทิงฯ ของนางสาวจิดาภา หาญธำรงวัฒน์ ม.5 2 เลขที่38 เ...
 
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die! Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
Optimize Your Website for the Mobile Experience or Die!
 
υγιεινη διατροφη
υγιεινη διατροφηυγιεινη διατροφη
υγιεινη διατροφη
 
SEO
SEOSEO
SEO
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Presentation appearance a secretary
Presentation appearance a secretary Presentation appearance a secretary
Presentation appearance a secretary
 
Pelanstrategik ict
Pelanstrategik ictPelanstrategik ict
Pelanstrategik ict
 
παράδοση και τέχνη
παράδοση και τέχνηπαράδοση και τέχνη
παράδοση και τέχνη
 
Midokura @ OpenStack Seattle
Midokura @ OpenStack SeattleMidokura @ OpenStack Seattle
Midokura @ OpenStack Seattle
 
100 questions in cardiology
100 questions in cardiology100 questions in cardiology
100 questions in cardiology
 
School of elements
School of elements   School of elements
School of elements
 
What's the deal with Neutron?
What's the deal with Neutron?What's the deal with Neutron?
What's the deal with Neutron?
 
Presentasi geng motor meresahkan masyarakat
Presentasi geng motor meresahkan masyarakatPresentasi geng motor meresahkan masyarakat
Presentasi geng motor meresahkan masyarakat
 
CloudKC: Evolution of Network Virtualization
CloudKC: Evolution of Network VirtualizationCloudKC: Evolution of Network Virtualization
CloudKC: Evolution of Network Virtualization
 
Presentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsa
Presentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsaPresentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsa
Presentasi pengaruh globalisasi terhadap budaya bangsa
 
From Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack Networking
From Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack NetworkingFrom Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack Networking
From Nova-Network to Neutron and Beyond: A Look at OpenStack Networking
 
Young Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng Phong
Young Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng PhongYoung Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng Phong
Young Marketers Elite 3 – Assignment Zero.1- Khánh Thy - Đức Hiệp - Hồng Phong
 

Similar to เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา

Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1jamrat
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย TabletPrachyanun Nilsook
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"S'kae Nfc
 
The custom of north thailand
The custom of north thailandThe custom of north thailand
The custom of north thailandWatcharapong Pong
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ Chitchanok Khanklaew
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อKruthai Kidsdee
 
รายงานวิชาการ
รายงานวิชาการรายงานวิชาการ
รายงานวิชาการGik Trio
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8Pavit Wongkajit
 
ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8momaysnail
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้คุณครูพี่อั๋น
 
งานนนนนนน
งานนนนนนนงานนนนนนน
งานนนนนนนMeowKong Nekobox
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningPacharaporn087-3
 

Similar to เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา (20)

Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
Tablet1
Tablet1Tablet1
Tablet1
 
การเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tabletการเรียนการสอนด้วย Tablet
การเรียนการสอนด้วย Tablet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง "อาชีพในอาเซียน"
 
The custom of north thailand
The custom of north thailandThe custom of north thailand
The custom of north thailand
 
Projectm6 2-2556 (2)
Projectm6 2-2556 (2)Projectm6 2-2556 (2)
Projectm6 2-2556 (2)
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Technology computer
Technology computerTechnology computer
Technology computer
 
Custom of north thailand
Custom of  north thailandCustom of  north thailand
Custom of north thailand
 
รายงานวิชาการ
รายงานวิชาการรายงานวิชาการ
รายงานวิชาการ
 
โครงงาน Blogger
โครงงาน Bloggerโครงงาน Blogger
โครงงาน Blogger
 
กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8กิจกรรม2 8
กิจกรรม2 8
 
ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8ก จกรรม2 8
ก จกรรม2 8
 
28 supamongkol
28 supamongkol28 supamongkol
28 supamongkol
 
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
ทำไมเด็กไทยพูดภาษอังกฤษไม่ได้
 
งานนนนนนน
งานนนนนนนงานนนนนนน
งานนนนนนน
 
Crossword
CrosswordCrossword
Crossword
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
Custom of north thailand 1
Custom of  north thailand 1Custom of  north thailand 1
Custom of north thailand 1
 

เรียนเพิ่มเติมสาระบันเทิง - จิดาภา

  • 1. เรียนเพิ่มเติม จัดทำำโดย นำงสำวจิดำภำ หำญธำำรงวัฒน์ ม. 5/2 เลขที่ 38 เลขประจำำตัวนักเรียน 36107 เสนอ คุณครูวิชัย ตรีเล็ก
  • 2. เด็กไทยกับภำษำอังกฤษ ควำมเป็นมำ ปัญหำเรื่องนักเรียนนักศึกษำไทยส่วนใหญ่มีควำมรู้และควำมสำมำรถใน กำรใช้ภำษำอังกฤษในระดับที่ตำ่ำ ดูจะเป็นเรื่องที่อยู่คู่กับระบบกำรศึกษำ ไทยของเรำมำตลอด มักจะมีข่ำวออกมำตำมสื่อเป็นระยะ ๆ เช่น ภำษำ อังกฤษของคนไทยจัดอยู่ในลำำดับที่ 43 ในเอเชีย เป็นต้น ปัญหำนี้มีแนว โน้มว่ำจะจัดเป็น “วำระแห่งชำติ” คล้ำย ๆ กับเรื่องของกำรอ่ำนน้อยของ คนไทย สิ่งที่ผู้เขียนคิดตำมก็คือ วิกฤติเรื่องภำษำอังกฤษที่ว่ำนี้จะอธิบำย อย่ำงไรดี เพรำะมันน่ำคิดว่ำทำำไมนักเรียนนักศึกษำไทยส่วนมำกจึงไม่เก่ง ภำษำอังกฤษ คำำตอบหรือหนทำงแก้วิกฤติเรื่องอ่อนภำษำอังกฤษนี้ เรำก็มักได้ยินตำมสื่อ ว่ำมีหนทำงแก้ได้ถ้ำวิธีกำรสอนนั้นเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ เช่น อย่ำสอนเน้น เรื่องไวยำกรณ์ อย่ำสอนเพียงเพื่อให้เด็กจำำไปสอบเท่ำนั้น แต่ควรจะสอน แบบตำม “ธรรมชำติ” อย่ำทำำให้มันกลับหัวกลับหำงและหรือควรจะให้เน้น ทักษะกำรพูดมำก ๆ ผู้เขียนในฐำนะที่เป็นอำจำรย์สอนภำษำอังกฤษคนหนึ่ง เห็นว่ำภำษำ อังกฤษที่อ่อนของนักเรียนนักศึกษำไทยส่วนใหญ่นั้น พอจะอธิบำยได้ตำม หลักกำรวิชำกำรด้ำนภำษำและกำรสอน ดังที่จะได้กล่ำวต่อไปนี้ ผลกำรวิจัยหลัก ๆ ของศำสตร์ด้ำนกำรรับภำษำที่สอง (second language acquisition) มีหลักฐำนว่ำจำำนวนชั่วโมงที่นักเรียนที่เรียน ภำษำอังกฤษเป็นภำษำต่ำงประเทศ นั้นมีประมำณ 1,800 ชั่วโมงเศษโดย คิดจำกระยะเวลำ 12-16 ปีที่เรียนจนจบมหำวิทยำลัย ในขณะที่เด็กฝรั่งที่ เกิดมำจนอำยุรำว ๆ 4 ขวบครึ่ง จะมีโอกำสสัมผัสกับภำษำอังกฤษที่ถูกต้อง ประมำณเกือบ 8,000 ชั่วโมง ประเด็นสำำคัญที่ยกตัวอย่ำงนี้มำก็คือว่ำ โอกำสที่เด็กไทยซึ่งเรียนภำษำอังกฤษเป็นภำษำต่ำงประเทศจะเก่งนั้นก็ ยำกมำก ถ้ำว่ำกันตำมหลักกำรแล้วกำรที่นักเรียนนักศึกษำไทยไม่เก่ง ภำษำอังกฤษ ก็เป็นเรื่องที่ไม่น่ำแปลกใจ แต่ควำมจริงที่จริงกว่ำก็คือ
  • 3. นำยจ้ำงและหน่วยงำนต้องกำรคนที่เก่งภำษำอังกฤษ จะอ้ำงว่ำเพรำะเรียน เป็นภำษำต่ำงประเทศเลยไม่ต้องเก่งภำษำอังกฤษ ข้ออ้ำงนี้เห็นทีจะต้องตก ไป นอกไปจำกโอกำสในกำรได้สัมผัสภำษำที่ถูกต้องน้อยแล้ว ลักษณะทำง ภำษำของภำษำอังกฤษเองก็ยำกที่จะทำำให้คนไทยเข้ำใจได้โดยเร็ว อย่ำง เช่น ภำษำอังกฤษอำจจะมีคำำที่ท้ำทำยต่อระบบกำรเรียงเสียงพยัญชนะและ เสียงสระอยู่มำก นักวิชำกำรชำวอเมริกัน Thomas Scovel ยกตัวอย่ำง ว่ำคำำในภำษำอังกฤษ “sixths” นั้นมีเสียงท้ำยที่ก่อให้เกิดควำมลำำบำกใน กำรออกเสียงสำำหรับคนไทยไม่น้อย เพรำะเป็นคำำที่ลงท้ำยด้วยเสียง พยัญชนะมำกถึง 3 เสียงด้วยกัน ในขณะที่คำำในภำษำไทยไม่ออกเสียง ท้ำยคำำเลยแม้แต่น้อย (แล้วอย่ำงนี้จะให้คนไทยเรียนออกเสียงภำษำ อังกฤษได้แนบเนียนได้อย่ำงไร ถ้ำไม่ได้รับกำรฝึกทำงด้ำนกำรออกเสียง หรือมีโอกำสได้ใช้ภำษำอังกฤษกับเจ้ำของภำษำบ่อย ๆ) หรือถ้ำพูดถึง ภำษำอังกฤษในระดับคำำ เรำทุกคนก็ทรำบดีว่ำระบบ คำำนำำหน้ำนำม (articles) ในภำษำอังกฤษนั้นมันช่ำงท้ำทำยคนไทยอย่ำงเรำ ๆ มำกเหลือ เกิน ไม่ว่ำจะเรียนกันมำมำกมำยขนำดไหน หรืออุตส่ำห์ไปชุบตัวถึงเมือง นอก ก็อำจจะตกม้ำตำยกับเรื่อง (a an the) ได้ง่ำย ๆ ระบบและกำรใช้ คำำนำำหน้ำนำมนี้ดูเหมือนจะไม่สำมำรถสอนกันได้ตรง ๆ อย่ำงในชั้นเรียน ได้สำำเร็จตลอดรอดฝั่ง แต่กลับต้องใช้วิธีอ่ำนหรือฟังภำษำอังกฤษที่ถูกต้อง เยอะๆ เท่ำนั้น แล้วทีนี้ถ้ำนักเรียน นักศึกษำไทยที่อยำกเก่งภำษำอังกฤษ แต่ก็ไม่ได้ลงมืออ่ำนหรือฟังภำษำอังกฤษที่ถูกต้องมำก ๆ จะไปเก่งได้ อย่ำงไร ในแง่นี้ ผู้เขียนขออ้ำงอิงข้อควำมที่ศำสตรำจำรย์ นำยแพทย์ ประเวศ วะสี ได้กล่ำวไว้ในหนังสือ “บนเส้นทำงชีวิต” พิมพ์โดยสำำนักพิมพ์ หมอชำวบ้ำน พ.ศ. 2554 หน้ำ 96 ซึ่งเกี่ยวกับวิธีกำรพัฒนำภำษำอังกฤษ ของท่ำน ดังนี้ “ระหว่ำงปิดเทอมปลำยเตรียมอุดมศึกษำปีที่ 1 ที่ผมกลับไป บ้ำนริมภูเขำที่กองผสมสัตว์ที่กำญจนบุรีนั้น เนื่องจำกรู้ตัวว่ำยังอ่อนภำษำ อังกฤษอยู่ ผมนำำหนังสือรวบรวม essays ของโรงเรียนสวนกุหลำบไป ด้วยเล่มหนึ่ง จะได้มำจำกไหนจำำไม่ได้แน่ ดูเหมือนจะซื้อมำจำกเวิ้งนคร
  • 4. เกษม เป็นหนังสือเก่ำแต่รวบรวมควำมเรียงภำษำอังกฤษที่ดี ๆ ของ โรงเรียนสวนกุหลำบเอำไว้ ผมอ่ำนตะลุยทุกวัน เปิดดิกชันนำรีศัพท์ทุกตัว ที่ไม่รู้ กำรตะลุยเรียนด้วยตนเองอยู่ที่บ้ำนริมเขำเช่นนั้นทำำให้เกิดควำม เปลี่ยนแปลงเป็นอันมำก เพรำะเมื่อเรียนเตรียมอุดมศึกษำปีที่ 2 นั้น ผม กลำยเป็นได้คะแนนภำษำอังกฤษสูงสุดในห้องซึ่งเป็นห้องคิงไปได้” กำรอ่ำนตะลุยทุกวันที่ท่ำนกล่ำวมำนี้ไม่ได้เป็นเคล็ดลับอะไร เพรำะคนไทย หลำยคนที่ภำษำอังกฤษดีมำก ล้วนแต่ต้องผ่ำนกำรอ่ำนอย่ำงมหำศำลด้วย กันทั้งนั้น ต่ำงกันแต่ว่ำใครจะเลือกอ่ำนสิ่งใดมำกกว่ำกัน ควำมคิดที่ได้จำก ข้อควำมของคุณหมอประเวศ ก็คือ เรื่องภำษำนั้นไม่จำำเป็นต้องพึ่งพำ เทคโนโลยีขั้นสูงอะไรมำกมำย เทคโนโลยีกระดำษสิ่งพิมพ์ที่มีมำนำนก็ สำมำรถที่จะ “สร้ำงตัว” ทำงภำษำได้ เพรำะสิ่งสำำคัญ คือ กำรตะลุยอ่ำน และตะลุยคิดถึงสิ่งที่อ่ำนต่ำงหำก ควำมสำำคัญของภำษำอังกฤษภำษำอังกฤษได้เข้ำมำมีบทบำทในชีวิตของ คนไทย และคนทั่วโลกไปแล้ว มนุษยชำติทุกวันนี้สื่อสำรกันด้วยภำษำ อังกฤษ ไม่ว่ำจะเป็นกำรติดต่อสื่อสำรกันโดยตรง กำรใช้อินเตอร์เน็ต กำร ดูทีวี กำรดูภำพยนตร์ กำรเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หนังสือคู่มือทำง ด้ำนวิชำกำรต่ำงๆ ฯลฯ บัณฑิตที่สำำเร็จกำรศึกษำออกมำในปัจจุบัน ถ้ำมี ควำมรู้ภำษำอังกฤษทั้งพูดและเขียนเสริมเข้ำไปด้วยอีก โอกำสที่จะหำงำน ก็จะไม่จำำกัดแค่ในประเทศไทย เท่ำนั้น ถ้ำท่ำนเป็นคนหนึ่งที่สำมำรถพูด ภำษำอังกฤษได้ ท่ำนคงจะไม่ปฏิเสธได้ถึงสิทธิพิเศษที่ท่ำนมีเหนือคนอื่นที่ ไม่สำมำรถสื่อสำรภำษำอังกฤษได้ ด้วยเทคโนโลยีด้ำนคอมพิวเตอร์และ อินเตอร์เน็ต ทำำให้โลกของเรำแคบลงไปถนัดตำ ทุกวันนี้ท่ำนสำมำรถรับรู้ ข่ำวสำร หรือติดต่อกับเพื่อนต่ำงชำติได้ภำยในเสี้ยววินำที ท่ำนจะไม่เข้ำ ถึงสิทธิพิเศษเหล่ำนี้เลย ถ้ำท่ำนไม่รู้ภำษำอังกฤษ ระบบกำรเรียนกำรสอน ภำษำอังกฤษในโรงเรียนของไทยหลำยท่ำนอำจจะบอกว่ำ ประเทศไทยเรำ ก็ให้ควำมสำำคัญกับกำรเรียนภำษำอังกฤษมำตั้งนำนแล้ว แต่ทำำไมคนไทย ถึงพูดภำษำอังกฤษสู้คนฟิลิปปินส์ไม่ได้เลย นั่นก็เพรำะว่ำหลักสูตรภำษำ
  • 5. อังกฤษของกระทรวงศึกษำธิกำรของเรำยังไม่ได้เน้นกำรพูดภำษำอังกฤษ จะเน้นแต่หลักไวยำกรณ์ คำำแปล และกำรอ่ำนเพื่อควำมเข้ำใจและให้สอบ เข้ำมหำวิทยำลัยได้เป็นส่วนใหญ่ สิ่งที่จะต้องปรับปรุงอย่ำงมำกในระบบ กำรเรียนภำษำอังกฤษของไทยเรำคือ กำรเน้นกำรพูดออกเสียง ไม่ว่ำจะ เป็นกำรออกเสียงพยัญชนะแต่ละตัว กำรเน้นเสียงหนักเบำ ซึ่งจะต้องมีสื่อ ช่วยสอนที่เป็นมัลติมีเดีย คือ มีทั้งภำพ เสียง และตัวหนังสือ ให้ด้วย แทน ระบบเก่ำที่มีแต่ตัวหนังสือเท่ำนั้น ทำำให้กำรออกเสียงตำมคำำอ่ำนที่เขียนใน ตำำรำหรือพจนำนุกรมที่ผิดๆ เช่นคำำว่ำ cat ในพจนำนุกรมอังกฤษไทยจะ เขียนคำำอ่ำนเป็น แค้ท ซึ่งแปลมำจำกคำำอ่ำนพจนำนุกรมอังกฤษเป็น อังกฤษ ทำำให้คนไทยเข้ำใจว่ำ ไม่ต้องออกเสียงตัว t ที่อยู่ตอนท้ำยด้วย น่ำจะเขียนคำำอ่ำนเป็น แค่ท-ถึ (ออกเสียง ถึ เบำๆ) แต่ถ้ำเรำจัดทำำสื่อกำร เรียนกำรสอนแบบมัลติมีเดีย เด็กก็จะได้ยินทั้งเสียงที่ถูกต้อง ได้เห็นภำพ และตัวหนังสือด้วย ซึ่งทำำได้ไม่ยำก และต้นทุนก็ไม่มำก กำรเรียนของเด็ก ก็จะมีประสิทธิภำพยิ่งขึ้น ในภำวะปัจจุบันที่อิทธิพลของโลกำภิวัฒน์ยังคงมีอยู่อย่ำงต่อเนื่อง และยัง จะเพิ่มมำกขึ้นเรื่อยๆ นั้นกำรเรียนรู้ภำษำของประเทศอื่นย่อมได้เปรียบใน กำรทำำกิจกำรต่ำงๆ เพรำะคงไม่มีใครจะติดต่อสื่อสำรและรู้เรื่องได้ดีเท่ำกับ กำรพูดภำษำเดียวกัน เคยมีเรื่องเล่ำกันเล่นว่ำประเทศไทยที่ค้ำขำย สิงคโปร์ มำเลย์ ฮ่องกง ใต้หวัน ไม่ได้ก็เพรำะว่ำมำติดต่อกับประเทศไทย แล้วสื่อสำรกันยังไม่ชัดเจนจึงต้องผ่ำนตัวแทนที่รู้ภำษำดีกว่ำเช่นสิงค์โป มำเลย์ ฮ่องกง ใต้หวัน หรือแม้แต่ฟิลิบปินก็ตำม ซึ่งเรำจะเห็นว่ำประเทศ เหล่ำนั้นล้วนแล้วแต่ให้ควำมสำำคัญกับกำรเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศ โดย เฉพำะอย่ำงยิ่งภำษำอังกฤษซึ่งเป็นภำษำที่อำจคิดได้ว่ำเป็นภำษำสำกล หลำยประเทศประกำศให้เป็นภำษำรำชกำรอีกภำษำหนึ่ง นอกจำกภำษำ ของตัวเอง
  • 6. แน่นอนว่ำประเทศที่ให้ควำมสำำคัญกับกำรเรียนรู้ภำษำอังกฤษนั้นย่อม ทรำบดีว่ำ คนจะเรียนรู้ภำษำให้ซำบซึ้งสำมำรถใช้ภำษำเข้ำสู่สังคมและ วัฒนธรรม สำมำรถใช้ภำษำได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสมกับสังคมวัฒนธรรม ตำมสถำนะกำรณ์ได้ในทุกทักษะของภำษำ และโดยเฉพำะอย่ำงยิ่งผู้ที่ สำมำรถใช้ภำษำอังกฤษในกำรสื่อสำรได้ดีจะมีโอกำสในกำรจ้ำงงำน และ ได้รับกำรสนับสนุนส่งเสริมในงำนในหน้ำที่ให้ยิ่งขึ้นไป มำกกว่ำผู้ที่ไม่มี ทักษะทำงภำษำเลย ดังตัวอย่ำงที่หน่วยงำนห้ำงร้ำนบริษัท ที่ประกำศรับ พนังงำน แต่แนบท้ำยด้วยคำำว่ำมีควำมสำมำรถทำงภำษำที่สำมำรถติดต่อ สื่อสำรได้ นั่นก็คือต้องมีทักษะกำรฟังและกำรพูดเป็นอย่ำงน้อย อันเนื่องจำกภำษำอังกฤษมีกำรใช้กันทั่วโลกมำกกว่ำภำษำอื่นๆ มีกำรเรียน กำรสอนกันทั่วโลกมำกกว่ำภำษำอื่นจึงคิดให้เป็นภำษำสำกลที่ติดต่อ สื่อสำรได้ทั่วโลก กำรเรียนกำรสอนภำษำอังกฤษประกำรแรกน่ำจะใช้ใน กำรติดต่อสื่อสำรระหว่ำงกันอย่ำงเหมำะสมตำมสถำนะกำรณ์ เช่นเดียวกับ กำรที่เรำเรียนรู้ภำษำแรกจำกพ่อแม่ พี่เลี้ยง เป็นกำรเรียนรู้แบบธรรมชำติ ไม่จำำเป็นต้องท่องศัพท์ แปล หรือ รู้หลักไวยำกรณ์ ดังนั้นกำรเรียนกำร สอนในระดับเริ่มเรียนรู้ภำษำนั้น คงต้องเน้นกำรมีส่วนร่วมทำงภำษำให้ มำกที่สุด คือผู้เรียนต้องเรียนรู้จำกกำรฟังและพูดอย่ำงเป็นธรรมชำติจน เกิดทักษะ เริ่มจำกกำรพูดในชีวิตประจำำวันในครอบครัว แล้วค่อยขยำย ออกไปสู่โลกภำยนอกมำกขึ้น เพื่อเป็นพื้นฐำนในกำรเรียนรู้ในกำรศึกษำ ขั้นสูงขึ้น กำรสอนทักษะกำรพูดและกำรฟังจึงเป็นสิ่งสำำคัญยิ่ง และผู้สอนอันเป็นต้น แบบจะต้องพัฒนำควำมรู้ทำงภำษำให้ใกล้เคียงกับเจ้ำของภำษำให้มำก ที่สุด มิฉะนั้นแล้วจะเข้ำลักษณะแม่ปูสอนลูกให้เดินให้ตรง ในเรื่องนี้ ปัจจุบันแม้จะแก้ได้บ้ำงโดยอำศัยเทคโนโลยี ที่บันทึกเสียงกำรพูดคุย กำร ออกเสียงที่ถูกต้องไว้ แล้วก็ตำม แต่กำรแสดงควำมรู้สึก แสดงอำรมณ์ที่
  • 7. เกี่ยวข้องนั้นก็ยังต้องใช้เจ้ำของภำษำมำเป็นผู้สอนถึงจะทำำให้เกิดกำร เรียนรู้ทำงภำษำได้เร็ว กำรสื่อสำรในสถำนะกำรณ์ต่ำงๆ จะสื่อสำรกันได้อย่ำงน้อยที่สุดก็ต้องฟังรู้ เรื่องก่อนแล้วจึงจะทำำให้สำมำรถพูดโต้ตอบได้ หรือพูดได้ พูดเป็น หรือใช้ เป็น และเป็นประโยชน์ นอกจำกกำรโต้ตอบแลกเปลี่ยนข้อมูลสำรสนเทศ กันก็คงรวมไปถึงกำรเล่ำเรื่อง บรรยำย แสดงควำมคิด ควำมเห็น ควำม รู้สึก วิพำกษ์วิจำรณ์ ซึงก็ต้องมีกำรประเมินงที่ได้ยินได้ฟังมำ จำกกำร วิเครำะห์สังเครำะห์อีกทีหนึ่ง จึงถือว่ำสุดยอดในกำรเรียนรู้ทำงภำษำและ จำกที่ประเทศเรำกำำลังประสบกับภำวะวิกฤติทำงเศรษฐกิจ ตำกเศรษฐกิจ กระแสโลก และวิกฤติกำรเมือง กำเรียนรู้ภำษำให้แตกฉำนก็เป็นกำรช่วย บรรเทำภำวะทำงเศรษฐกิจในขณะนี้ได้ อันเนื่องมำจำกที่รัฐบำลประกำศ ให้กำรท่องเที่ยวเป็นวำระแห่งชำติ กำรเข้ำใจเรียนรู้ภำษำต่ำงประเทศจะ ทำำให้กำรติดต่อสื่อสำรกับชำวต่ำงประเทศที่จะเข้ำมำท่องเที่ยว ประเทศไทยดีขึ้น เป็นส่วนหนึ่งในกำรตัดสินใจให้เข้ำมำเที่ยวประเทศไทย มำกขึ้น สถำบันกำรศึกษำที่มีศักยภำพ น่ำจะมีส่วนส่งเสริม ช่วยเหลือ ประเทศในแง่นี้ได้ หลักกำรและเหตุผล ถ้ำเรำลองพิจำรณำในเรื่องวิธีกำรสอนบ้ำง ว่ำมันเป็นอุปสรรคหรือส่งเสริม เรื่องควำมรู้ ควำมเก่งในกำรใช้ภำษำอังกฤษหรือไม่ ก็จะเห็นได้ว่ำวิธีกำร สอนนั้นมีอยู่หลำกหลำย วิธีเดิม ๆ นั้นก็คือวิธีไวยำกรณ์และแปล ซึ่งใน วงกำรศึกษำวิจัยเรื่องกำรสอนภำษำเดี๋ยวนี้ ยืนยันกันว่ำเป็นวิธีที่ไม่เหมำะ สม ทำำให้นักเรียนนักศึกษำเห็นภำษำอังกฤษเป็นเพียงวัตถุที่มำชำำแหละ และเมื่อเรียนด้วยวิธีนี้แล้ว ก็จะยังไม่สำมำรถสื่อสำรเป็นภำษำอังกฤษได้ หลำยต่อหลำยสำำนักควำมคิด ก็เลยเสนอว่ำให้สอนแบบเน้นกำรใช้ภำษำ อังกฤษเพื่อกำรสื่อสำร เพรำะผู้เรียนจะได้เห็นว่ำภำษำอังกฤษมีไว้เพื่อจะ
  • 8. สื่อสารจริง ๆ ไม่ใช่แค่เพื่อสอบสำาหรับการศึกษาต่อ หลังจากวิธีเน้นการ สื่อสารใช้มาได้สักราว ๆ สองทศวรรษเศษ มาตอนนี้ก็เริ่มเห็นว่าอาจจะไม่ ได้ผลเสียแล้ว เพราะเกิดปัญหาว่าเด็กอาจจะชินกับการพูดภาษาอังกฤษ มากขึ้น แต่ความถูกต้องในภาษาอังกฤษมีอยู่น้อยมาก เข้าทำานองพูดคล่อง แต่ผิดเยอะนั่นแหละครับ ยิ่งมาตอนหลังนี้ นักคิดเรื่องทฤษฎีการสอนก็ถึง กับเสนอว่า เรากำาลังอยู่ในยุค หลังการสอน (post-method pedagogy) ซึ่งหมายความว่าการสอนที่ดีควรจะเริ่มพิจารณาที่บริบทของการเรียนการ สอน ไม่ใช่เอาวิธีมาเป็นตัวตั้ง การสอนจะเป็นลักษณะการใช้กลยุทธ เพื่อ ช่วยให้ผู้เรียนสามารถใช้กลยุทธนั้น ๆ ในการพิชิตศัตรู ซึ่งก็คือเนื้อหาไม่ ว่าจะเป็นเรื่องไวยากรณ์ ความหมาย หรือทักษะอื่น ๆ ในการใช้ภาษา จากประเด็นต่าง ๆ ข้างต้นจะเห็นว่าวิธีการสอนนั้นก็เป็นไปตามความรู้ใหม่ ๆ ที่เกิดขึ้น และผู้รู้ก็เสนอให้ลองพิจารณา ผู้รู้ที่ว่านี้ส่วนมากก็จะเป็นพวก ทางตะวันตก ความรู้ความคิดที่อาจจะเป็นภูมิปัญญาชาวบ้านของไทยเอง ก็มีความเหมาะสมเช่นกันหรืออาจจะเหมาะสมยิ่งกว่า เช่น การสอนโดย การให้ตัวอย่างที่เป็นจริง และให้ผู้เรียนเห็นหน่วยความทั้งหมดว่าเรียงร้อย เข้าไว้ด้วยกันได้อย่างไร คือ อย่าเรียนเป็นเศษ เป็นเสี้ยว แต่ให้เรียนเป็น ภาพรวม อย่างนี้เป็นต้น ผู้เขียนเองเห็นว่า ทั้งครูและนักเรียนก็มีความสำาคัญพอ ๆ กัน คือ ครูก่อน อื่น ก็ต้องมีความรู้ในเนื้อหาที่แม่นยำา และมีความเข้าใจเรื่องวิธีการสอน ที่ สำาคัญครูก็ต้องแสดงความกระตือรือร้นที่จะสอน เพราะถ้าครูแสดงว่าตั้งใจ จะสอน ก็อาจจะทำาให้ผู้เรียนจำานวนหนึ่งหันมาสนใจภาษาอังกฤษได้ ใน ขณะเดียวกัน ผู้เรียนเองก็ต้องมีความต้องการจะเรียนด้วย เพราะถ้าผู้เรียน ยังไม่เห็นประโยชน์หรือยังไม่ได้สนใจจริงจัง ทุกอย่างไม่ว่าจะเป็น หลักสูตร ครูที่เนื้อหาดีและเทคนิคการสอนดี อุปกรณ์การสอนก็เอื้ออำานวย ทั้งหมดนี้ก็จะพังทลายลงไป ถ้าผู้เรียนไม่เอาด้วย พูดง่าย ๆ ก็คือ ทั้งครู และนักเรียนก็ต้อง “พร้อมใจ” กัน ที่จะทำาให้เกิดขึ้น
  • 9. กล่าวโดยสรุป ภาษาอังกฤษที่อ่อนของเด็กไทย นั้นก็เป็นวิกฤติที่ต้องการ การเยียวยาอย่างจริงจัง เพราะว่าส่วนใหญ่ก็อ่อนจริง ๆ เข้าทำานองว่า ไวยากรณ์ก็ไม่มี สื่อสารก็ไม่ได้ ผู้ที่เกี่ยวข้องก็ต้องร่วมมือร่วมใจกัน ไม่ว่า จะเป็นตัวเด็กเอง ครูอาจารย์ หลักสูตร กระทรวงศึกษาธิการ หน่วยงานที่ เกี่ยวข้องโดยตรง เช่น สมาคมครูสอนภาษาอังกฤษแห่งประเทศไทย ก็คง ต้องมีภาระหนักขึ้น ในยามที่ สกอ กำาหนดว่าครูอาจารย์ต้องทำาวิจัยกัน อย่างจริงจัง ซึ่งจะช่วยต่อยอดความเข้าใจในเรื่องปัญหาการเรียนการสอน ในขณะเดียวกันการสอนในชั้นเรียนก็ไม่อาจละเลยได้ วิจัยเก่งและสอนดี ต้องควบคู่กันไป 5 เหตุผลที่เด็กไทย ภาษาอังกฤษรั้งท้ายในอาเซียน แม้ว่าเด็กไทยจะเรียนหนัก แต่นั้นก็ไม่ได้ช่วยให้ภาษาอังหฤษของคนไทย ดีขึ้น เพราะระดับภาษาอังกฤษของคนไทยถูกจัดอยู่ในระดับตำ่ามาก และ เหตุผลที่ทำาให้เด็กไทยมีระดับความรู้ด้านภาษาอังกฤษอยู่ในเกณฑ์น่าห่วง มีด้วยกัน 5 ข้อสำาคัญคือ 1. ระบบการศึกษาไทยเน้นท่องจำา โดยมีอาจารย์เป็นศูนย์กลาง เขียนศัพท์ และแกรมม่าบนกระดานดำา และให้นักเรียนอ่านและจำา ไม่มีการวิเคราะห์ พูดคุย หรือตั้งคำาถาม-คำาตอบเกี่ยวกับสิ่งที่เรียน เพราะกลัวถูกกล่าวหาว่า โง่ 2. ไม่มีการสอนคิดแบบวิเคราะห์ ระบบการสอนของไทยสอนแบบให้รับรู้ ไม่ต้องคิดและไม่ต้องถามว่าสิ่งที่เรียนนั้นถูกต้องแล้วหรือยัง สิ่งที่ถูกคือ ต้องหัดคิดวิเคราะห์เพื่อแยกเยอะโครงสร้างซับซ้อนของภาษา จึงทำาให้ เกิดความเข้าใจผิด หลงเชื่อข่าวปลอม หรือข่าวลวง โดยไม่มีการคิด วิเคราะห์อยู่บ่อยๆ จนทำาให้คนไทยไม่กล้าพูดภาษาอังกฤษ กลายเป็น ปัญหาใหญ่ตามมาไม่รู้จักจบ
  • 10. 3. ครูไทยไร้คุณภาพ การเรียนการสอนที่ดีควรเริ่มจากครูผู้สอนก่อน เริ่ม จากครูไทยต้องมีความสามารถด้านภาษาที่ได้มาตรฐาน ใช้ภาษาอังกฤษ ได้อย่างดีเยี่ยม 4. ครูต่างชาติไม่ได้มาตรฐาน นอกจากครูไทยแล้ว โรงเรียนบางแห่งมี แนวคิดจ้างครูต่างชาติ แต่เนื่องจากไม่สามารถจ่ายเงินเดือนสูงมาก ทำาให้ บางครั้งก็ได้ครูที่ไม่มีมาตรฐาน บางครั้งครูที่จ้างมาจบปริญญาแต่ไม่ได้ เรียนด้านการสอน ไม่มีวุฒิปริญญา หรือร้ายแรงที่สุดคือใช้ปริญญาปลอม มาสมัครเป็นครู 5. กระทรวงศึกษาธิการ ควรปรับเปลี่ยนนโยบายที่จะช่วยพัฒนาการ ศึกษาไทยให้ได้มาตรฐาน และสามารถดึงดูดคนที่มีความสามารถมา ทำางานเป็นครู พอได้รู้แบบนี้แล้วก็ทำาให้เราต้องตะหนักถึงการเรียนภาษาอังกฤษของเด็ก ไทยให้มากขึ้นเพื่อการสื่อสารกับชาติต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มอาเซียนที่จะ เข้ามาอีกไม่นานนี้ "เด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่ชั้นประถม แต่ทำาไมภาษาอังกฤษไม่แข็ง แรง" ...เป็นคำาถามที่ได้ยินได้ฟังเป็นประจำา กระทั่งกลายเป็นเหมือนเสียง รำาพึงไปในที่สุด 11 ปีเป็นเวลาไม่ใช่น้อย ถ้ารวมการศึกษาระดับอาชีวะ เข้าไปด้วย คิดสะระตะนับ 20 ปี แต่นักศึกษาจำานวนไม่น้อยใช้ภาษา อังกฤษได้แค่ระดับงูๆ ปลาๆ เด็กบางคนขยันมาก ถึงขนาดสามารถท่องดิก ชันนารีได้ทั้งเล่ม ภาษาอังกฤษคำาไหนแปลว่าอะไร ถามมา-ตอบได้หมด แต่พอให้พูดกลับตกม้าตาย พ่อแม่ยุคใหม่ที่มีสตางค์จึงตัดปัญหาด้วยการ ส่งลูกไปเรียนเมืองนอก และด้วยเหตุนี้ทำาให้ปัจจุบันมีโรงเรียนอินเตอร์ โรงเรียนสองภาษาเกิดขึ้นมากมาย เพื่อรองรับลูกค้ากลุ่มนี้ โดยไม่ต้องส่ง ลูกไปเรียนให้ไกลหูไกลตา แล้วกับเด็กด้อยโอกาส พ่อแม่ไม่มีเงินพอที่จะ ส่งเข้าโรงเรียนแพงๆ เล่า...
  • 11. ถ้าเข้าใจหลักการ การเรียนภาษาอังกฤษเพื่อให้พูดได้ ฟังเข้าใจ เหมือน เจ้าของภาษา ไม่ยากเลย ขอเพียงมีความตั้งใจ โดยเฉพาะในยุคปัจจุบันที่ มีเทคโนโลยีเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การเรียนภาษาอังกฤษทำาได้ง่ายขึ้น สามารถฝึกได้เองในทุกที่ทุกเวลา ธานินทร์ เอื้ออภิธร ประธานกรรมการ บริหาร เลิร์นบาลานซ์ กรุ๊ป ซึ่งดูแลทิศทางธุรกิจ การวิจัยพัฒนาและ การนำา "ไอที" เข้ามาช่วยในการเรียนภาษาอังกฤษให้กับ "เอ็นคอนเส็ปท์" โรงเรียนกวดวิชาแถวหน้าของเมืองไทย เล่าถึง ช่องโหว่ของระบบการ ศึกษาของไทยว่า ส่วนหนึ่งมาจากค่านิยมของสังคมที่ให้ความสำาคัญกับ เรื่องของ "สถานะ" มากกว่าความสามารถ ทำาให้เด็กไทยแข่งกันเรียนเพื่อ ให้ได้ใบปริญญา เป็นใบเบิกทางสู่การมีหน้ามีตา มีหน้าที่การงานที่ดี โซน ธาตุลมเช่นเดียวกับปัญหาของการเรียนภาษาอังกฤษของเด็กไทย นักเรียน/นักศึกษาส่วนใหญ่เรียนเพื่อจะสอบผ่าน ซึ่งเป็นกรอบความคิดที่ แคบ โลกสมัยใหม่เปลี่ยนไปแล้ว ไม่ใช่การแค่ "เรียนเพื่อสอบ" แต่ต้อง "เรียนเพื่อการเรียนรู้" เพราะหน้าที่ของภาษาคือ เพื่อการสื่อสาร นับแต่นี้ ไป ใครใช้ภาษาอังกฤษไม่ได้ คุณคือจุดอ่อน ยิ่งในห้วงเวลาเตรียมรับการ เปิดประชาคมอาเซียน ถ้าพูดอังกฤษไม่ได้ กลายเป็นจุดบอดในทันที แทนที่จะเรียนภาษาอังกฤษเพื่อให้รู้ภาษาอังกฤษ ธานินทร์แนะว่า ควรมี การตั้งเป้าหมายที่ไกลกว่านั้น เรียนเพื่อประโยชน์ในด้านอื่น โดยใช้ภาษา อังกฤษเป็นเครื่องมือ เหมือนกับการเรียนวิชาต่างๆ ด้วยภาษาอังกฤษทำาให้ ต้อง "เป็น" ภาษาอังกฤษ เพื่อจะเรียนวิชานั้นๆ เข้าใจ เช่นเดียวกับคนวัย ทำางานทั่วไป อาทิ คนที่มีอาชีพขับแท็กซี่เรียนภาษาอังกฤษ เพื่อการ รับรองผู้โดยสารชาวต่างประเทศ หรือ หมอนวดแผนโบราณเรียนเพื่อ สื่อสารกับลูกค้า ซึ่งเมื่อมีเป้าหมายที่ชัดเจนจะทำาให้มีกำาลังใจในการเรียน ทั้งนี้ จะให้ดีควรหาเพื่อนร่วมเรียน เพราะส่วนใหญ่เมื่อเรียนคนเดียวจะล้ม เลิกความตั้งใจโดยง่าย
  • 12. "จริงๆ แล้วการเรียนภาษาอังกฤษมีอยู่ 4 ด้าน ด้านแรก เรียกว่า Syntax หรือ "ไวยากรณ์" ด้านที่ 2 Semantics คือ "ความหมาย" คนไทยส่วน ใหญ่เรียนแค่ 2 ตัวนี้ คือ Vocabulary กับ Grammar แม้แต่เด็กที่เรียนก็ จะจำาแค่นี้ แต่จริงๆ หลายประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษได้ดี แทบไม่ได้เรียน 2 ตัวนี้เลย 2 ตัวนี้เป็นเพียงผลพลอยได้ แต่ 2 ตัวที่เป็นตัวหลัก คือ Phonology "การออกเสียงที่ถูกต้อง" กับ Pragmatics คือ "การใช้ จริง"สำาหรับคนที่พลังเยอะ มีห้องนี้ไว้รับมือ "ธาตุไฟ"ธานินทร์อธิบายเพิ่ม เติมว่า "สองตัวแรกไวยากรณ์และความหมาย ใช้สมองซีกซ้ายในการ เรียน ต้องใช้ตรรกะในการเรียน ต้องใช้ความจำาเยอะมาก แต่เรื่องการ ออกเสียงเป็นสมองซีกขวา เป็นเรื่องของทักษะ ออกเสียงถูกหรือไม่ถูก ส่วน Pragmatics บางคนคิดว่าคือ การเดินเข้าไปหาฝรั่งแล้วเซย์ ฮัลโหล ฮาว อาร์ ยู แต่...ไม่ใช่ ที่จริงเป็นความเข้าใจในวัฒนธรรม และการใช้ ภาษาได้ถูกต้องในทางวัฒนธรรม "คนไทยไม่เรียนเรื่องวัฒนธรรมต่างชาติ จึงไม่เข้าใจบริบทของวัฒนธรรม ทางภาษา แม้ประโยคถูกแต่บริบทผิดความหมายก็ผิด ยกตัวอย่างคำา ทักทายของคนไทยจะทักว่า "กินข้าวหรือยัง" นี่คือบริบทของคนอินโดไช น่า แต่ถ้าไปทักแบบนี้กับฝรั่ง มันเป็นบริบททางวัฒนธรรมที่แปลก เขาอาจ จะคิดว่ามายุ่งเรื่องของฉันทำาไม" แล้วเรียนภาษาอังกฤษอย่างไร จึงสามารถใช้ได้เหมือนเจ้าของภาษา? สิ่ง สำาคัญอยู่ที่เรื่องของ "เสียง" คนไทยจำาเสียงผิด เนื่องจากขาดต้นแบบที่ถูก ต้อง แม้จะเขียนถูกแต่ออกเสียงผิดฝรั่งก็ไม่เข้าใจ ซึ่งตรงนี้เทคโนโลยีช่วย ได้ ไม่ว่าจะเป็นการดูภาพยนตร์พากย์ภาษาอังกฤษ หรือโหลดแอพพลิ เคชั่น สอนภาษาอังกฤษได้ทั้งนั้นหัวใจสำาคัญคือ ถ้าเป็นหนังให้ปิดซับไต เติ้ลฟังเสียงอย่างเดียว โดยหยุด (pause) เป็นระยะๆ และออกเสียงตาม ซึ่งควรทำาซำ้าๆ กระทั่งสามารถออกเสียงได้เหมือนกับต้นแบบ "เพราะเมื่อ ใดก็ตามที่เราออกเสียงได้ถูกต้อง เราจะฟังได้ทันที" ธานินทร์ยืนยัน พร้อม กับอธิบายถึงกระบวนการรับรู้ในสมองว่า สมองคนเราแบ่งเป็นชั้นๆ ส่วนที่
  • 13. เกี่ยวข้องกับกระบวนการรับรู้ข้อมูลใหม่ เรียกว่า "เวิร์กกิ้ง เมมโมรี่" (Working Memory) จะจำาได้ 7 ตัว ซึ่งการรับรู้ตรงนี้ของแต่ละคนจะ ต่างกัน บางคนจำาได้ 12 บางคนจำาได้แค่ 5 แต่ส่วนใหญ่จะจำาได้ 7 ฉะนั้นเวลาที่เราฟังชาวต่างชาติพูดแล้วฟังไม่ทัน เพราะนั่นเป็นข้อมูลใหม่ ที่เรายังไม่เคยรับรู้มาก่อน ถ้าเรารับรู้ข้อมูลนั้นมาแล้ว ระบบการทำางาน ของสมองจะใช้อีกส่วนซึ่งอยู่ด้านใต้ เรียกว่า "ลอง เทอม เวิร์กกี้ง เมมโมรี" (Long Term Working Memory) เป็นส่วนที่เกิดขึ้นโดยอัตโนมัติ ฉะนั้นการฝึกทักษะจึงเป็นสิ่งจำาเป็น การเรียนภาษาอังกฤษผ่านการดูภาพยนตร์ โดยปิดซับไตเติ้ล ฟังซำ้า หลายๆ ครั้ง จำาทั้งประโยคไปเลย นอกจากจะได้เสียงที่ถูกต้องแล้ว ผลพลอยได้คือ จะได้ทั้งทักษะ ไวยากรณ์ รูปประโยค และความหมายโดย อัตโนมัติยิ่งกระแสของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ยิ่งทำาให้เรื่องของการ ฝึกทักษะเป็นสิ่งจำาเป็น ธานินทร์สะท้อนถึงแนวโน้มของโรงเรียนกวดวิชา ภาษาอังกฤษในปัจจุบันในฐานะผู้ครำ่าหวอดในแวดวงว่า โรงเรียนกวด วิชาภาษาอังกฤษมี 2 แบบ คือ 1. เรียนวิชาการ (Academic) และ การ เรียนทักษะ (Skill) สองตลาดนี้อยู่แยกกันโดยสิ้นเชิง เมื่อก่อนคนที่เรียน ทักษะจะเป็นผู้ใหญ่วัยต้นๆ จนทำางาน ปัจจุบันคนสนใจมากขึ้นในทุกระดับ เพราะกระแสของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ทำาให้เรื่องของทักษะเป็นสิ่ง จำาเป็น รวมทั้งในเด็กเล็กด้วย จากเดิมที่เริ่มเรียนกันตอน ม.5-6 ปัจจุบัน ม.1 เริ่มกวดวิชาแล้ว เพราะ "การจำา" เริ่มจาก "การทำา" ซึ่งคนส่วนใหญ่ ไม่รู้ การเอาตัวเองเข้าไปสัมพันธ์จึงเกิดการเรียนรู้ เกิดการจำาขึ้นในสมอง ความล้มเหลวของการเรียนการสอนภาษาอังกฤษนั้น มีสาเหตุมาจาก ประสิทธิภาพของครูซึ่งไม่ได้รักษาอย่างถ่องแท้มากพอที่จะพูดในเรื่องราว อื่น และครูไทยบางคนนอกจากพูดเป็นประโยคไม่ได้ ฟังไม่ออกแล้ว ยัง มีปัญหาเรื่องการออกเสียงผิดอีก ซึ่งทำาให้การสื่อสารไม่สามารถบรรลุผล ได้ ข้อเสนอแนะที่ให้ไว้คือ ครูผู้สอนภาษาอังกฤษควรใช้ภาษาอังกฤษ
  • 14. กับเด็กนักเรียนตลอดเวลา เพื่อให้เกิดทักษะการใช้ภาษา ทั้งทักษะการ พูดเพื่อให้เกิดทักษะการใช้ภาษา และการฟัง และจะสนทนานอกเรื่องกับ นักเรียนไปด้วยเพื่อให้สามารถใช้ภาษาได้จริงในชีวิตประจำาวัน ซึ่งจุดนี้ผู้ เขียนเข้าใจว่า เป็นการใช้ภาษาอังกฤษกับผู้เรียนในสถานการณ์อื่น ๆ นอกห้องเรียนด้วยนั่นเอง ในประเด็นประสิทธิภาพของครูผู้สอน ผู้สอน ภาษาอังกฤษในเมืองไทยเราควรจะมีคุณสมบัติหลัก ๆ 2 ประการ คือ ประการที่หนึ่ง เป็นผู้มีความสามารถในการใช้ภาษาทั้ง ฟัง พูด อ่าน เขียน ได้ในระดับดีถึงดีมาก เพื่อเป็นแบบอย่างที่ถูกต้องทางภาษาแก่ นักเรียน คุณสมบัติเช่นนี้พึงพบได้ในบัณฑิตซึ่งจบทางด้านมนุษยศาสตร์ หรืออักษรศาสตร์ ในวิชาภาษาอังกฤษ ประการที่สอง เป็นผู้มีความเข้าใจในจิตวิทยาการเรียนรู้ของผู้เรียนในวัย ต่าง ๆ เป็นผู้รู้ถึงเทคนิควิธีรวมถึงการใช้โสตอุปกรณ์ในการที่จะทำาให้การ เรียนการสอนเป็นไปอย่างสนุกสนานราบรื่น และบรรลุวัตถุประสงค์ของ บทเรียนได้คุณสมบัติเช่นนี้พึงพบได้ในบัณฑิตซึ่งจบในสายศึกษาศาสตร์ หรือครูศาสตร์ ซึ่งส่วนมากเตรียมตัวเตรียมใจเพื่อเป็นครูอยู่แล้ว ครูซึ่งมี คุณสมบัติทั้งสองประการนี้ในคนคนเดียวกันนับได้ว่าเป็นผู้สอนภาษา อังกฤษในอุดมคติทีเดียวแต่ในความเป็นจริงแล้วหาครูที่มีคุณสมบัติทั้งสอง ประการดังกล่าวได้ยากทีเดียว จากประสบการณ์ของผู้เขียนในด้านการ สอนภาษาอังกฤษและการได้สัมผัสกับผู้สอนภาษาอังกฤษจากการอาสา สมัครเข้าช่วยโรงเรียนของลูกในสาขาวิชาที่ผู้เขียนใช้ประกอบอาชีพอยู่ ทุกเมื่อเชื่อวัน ผู้เขียนใคร่ขอโอกาสเสนอแนะแนวทางบางประการอัน เกี่ยวกับการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในโรงเรียน ดังต่อไปนี้ 1. วิธีแก้ปัญหาเรื่องการออกเสียงที่ผิดของครูผู้สอนภาษาอังกฤษ วิธีนี้ เป็นวิธีที่ได้รับ การบอกเล่ากันมานาน และเป็นสิ่งที่ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ
  • 15. พึงปฏิบัติอยู่แล้ว แต่บางครั้งสิ่งนี้ก็ถูกละเลยทั้งอย่างไม่ตั้งใจหรือถูกมอง ข้างความสำาคัญไปเลยนั่นก็คือ เมื่อใดก็ตามที่จะสอนศัพท์ตัวใหม่ ผู้สอน ควรจะเตรียมการออกเสียงให้ถูกต้อง โดยใช้ความรู้ในวิชา Phonetics ซึ่งมีบรรจุในหลักสูตรทั้งทางศึกษาศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เข้าช่วยให้ ออกเสียงได้อย่างถูกต้อง โดยตรวจสอบจากพจนานุกรม ซึ่งพจนานุกรม ที่ดีจะบอกทั้งการลงเสียง (stressing) การให้ความหมายที่หลากหลาย ในแต่ละบริบท ตัวอย่างการใช้คำา รวมทั้งบอกให้ทราบด้วยว่า คำา คำานั้น ทำาหน้าที่อะไรในประโยคด้วย เช่น เป็นคำาคุณศัพท์ หรือคำานาม เป็นต้น หรือหากมีเพื่อนร่วมงานซึ่งเป็นเจ้าของภาษาก็สามารถตรวจสอบ การออกเสียงจากเจ้าของภาษาก็สามารถตรวจสอบการออกเสียงจาก เจ้าของภาษาได้โดยตรง ไม่ควรรู้สึกเสียหน้าใด ๆในการทำาเช่นนี้ และ หากสามารถจดบันทึกไว้ได้ก็จะยิ่งเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ตัวผู้สอนเอง และ ประหยัดเวลาหากต้องใช้ตำาราเล่มเติมนั้นในการสอนครั้งต่อไป 2. การสร้างโอกาสให้นักเรียนได้ผลแบบอย่าง (Model) ทางภาษาที่ถูก ต้องจากเจ้าของภาษาหรือที่ใกล้เคียงกับเจ้าของภาษามากที่สุด นอก เหนือจากภาษาที่สอนในห้องเรียน การขอความช่วยเหลือจากผู้จากผู้ ปกครองของนักเรียนที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่หนึ่ง หรือภาษาที่สอง (หากว่ามี) หรือแม้แต่ผู้ปกครองไทยที่มีความสามารถในการใช้ภาษา อังกฤษ ก็เป็นไปได้ โดยผู้สอนเป็นผู้คิดกิจกรรมที่นักเรียนมีโอกาสได้ใช้ ทักษะทางภาษาอย่างแท้จริง ควรจะใช้ภาษาอังกฤษในทักษะทั้งสองนี้ได้ ตัวอย่างกิจกรรมสำาหรับเด็กโต อาจเป็นการสัมภาษณ์ซักถามเกี่ยวกับ อาชีพและในเด็กเล็กอาจเป็นการอ่านนิทานให้ฟังซึ่งในขณะที่เล่าก็อาจ แทรกการพูดคุยกับเด็กไปด้วยได้ ซึ่งมั่นใจว่าการเตรียมการและความ ตั้งใจที่ดีของครูจะได้ความร่วมมือจากผู้ปกครองอย่างแน่นอน 3. การใช้ภาษาอังกฤษของผู้สอนกับนักเรียนในสถานการณ์หรือบริบท อื่น ๆ ในโรงเรียน ซึ่งนอกเหนือจากในบทเรียนสามารถเกิดขึ้นได้ แม้จะ
  • 16. ไม่ง่ายนัก สิ่งที่ผู้เขียนจะเสนอแนะก็คือการระดมสมองของกลุ่มครูผู้สอน ภาษาอังกฤษทุกคนในโรงเรียน โดยครูทุกคนช่วยกันคิดหัวข้อ สถานการณ์ที่ครูจะใช้ภาษาอังกฤษกับนักเรียน เช่น เมื่อเจอกันที่บันได ภาษาที่ใช้ก็อาจจะเป็นเตือน (Warning) ให้เดินดี ๆ อย่าเล่นกันเวลาขึ้น บันได หรือถ้าตอนทางอาหารก็อาจจะเป็นการห้าม(Prohibition) บอกไม่ ให้คุยระหว่างที่มีอาหารอยู่ในปาก ฯลฯ แล้วรวบรวมเขียนขึ้นมาเป็น เหมือนคู่มือของผู้สอนภาษาอังกฤษที่จะใช้พูดกับนักเรียนในสถานการณ์ ต่าง ๆ กัน แล้วฝึกการใช้ภาษาเหล่านั้นสำาหรับความถูกต้องของภาษาก็ สามารถตรวจสอบได้โดยการขอความช่วยเหลือจากแหล่งอื่น เช่น สถาบันอุดมศึกษาภายในท้องถิ่น หรือแม้แต่จากกเจ้าของภาษาที่ยินดี ช่วยเหลือ 4. การยอมรับ Asian English (การใช้ภาษาอังกฤษโดยกลุ่มคนใน เอเชีย) เป็นการยากหรือเรียนได้ว่า เป็นไปไม่ได้เลยที่ผู้เรียนภาษา อังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ(English as a Foreign language) โดยเฉพาะเมื่อเรียนอยู่แต่ในประเทศของตนเอง แม้จะเรียนจากเจ้าของ ภาษาโดยตรงก็ตาม ที่จะสามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่างไม่ผิดเพียน เพราะลักษณะทางภาษาของทั้งสองภาษาแตกต่างกันอย่างเดินชัด นอกจากความยากลำาบากนี้แล้ว คนไทยด้วยกันเองก็มีแนวโน้มในการ ดูถูกหรือคอยจับผอดคนอื่นในการใช้ภาษาอังกฤษด้วยเช่น ลองคิดดูว่า หากท่านเป็นผู้สอนภาษาอังกฤษที่ถูกจับจ้องอยู่แต่เรื่องของความถูกต้อง ของภาษา (Accuracy) มากกว่าการสื่อสาร (Communication) ทุก ครั้งที่ท่านพูด ท่านจะกล้าเปิดปากพูดอีกหรือไม่ แล้วจะมีใครกล้าพูดกับ นักเรียนอุปสรรคเช่นนี้ไม่ได้เกิดขึ้นแต่ในประเทศไทยเท่านั้น แต่เกิดขึ้น ในเกือบทุกประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ ประเทศญี่ปุ่น เล็งเห็นปัญหานี้ และได้ทำาการศึกษา และเริ่มปรับเปลี่ยนทัศนคตินี้โดย เริ่มในโรงเรียนมัยยมของเขาแล้ว หากคนไทยเราสามารถเปิดใจให้การ ยอมรับว่าภาษาอังกฤษแบบไทย ๆ ก็สามารถใช้สื่อสารได้อย่างมี
  • 17. ประสิทธิภาพแล้ว สถานการณ์การเรียนการสอนภาษาอังกฤษใน ประเทศไทยก็คงจะง่ายขึ้นบ้างสำาหรับครูผู้สอนภาษาอังกฤษ ครูไทยของเราทำางานหนัก และได้ผลตอบแทนเพียงแค่พออยู่พอกิน ถ้า หากพบเห็นปัญหาแล้วมีข้อเสนอแนะเพื่อช่วยกันแก้ปัญหาและเพื่อเป็น กำาลังใจให้ครูทุกท่านมีกำาลังใจ และเห็นแนวทางที่จะปรับปรุงการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นต่อไป ความสำาคัญ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาที่สำาคัญมากในสมัยนี้ และจะยิ่งสำาคัญมากๆ ใน อนาคต เรียกได้ว่าใครไม่ได้ภาษาอังกฤษ เวลาหางานคงลำาบากละ แต่ skill ของเด็กไทยกลับสวนทางกันอย่างเห็นได้ชัด ซึ่งคนที่เรียนภาษาเก่ง ก็เก่งถึงขั้นได้ไปแลกเปลี่ยนกันสนุกสนาน แต่คนที่เรียนอ่อนภาษาอังกฤษ ก็สอบตกกันเป็นงานอดิเรกเลยทีเดียว จึงทำาการวิเคราะห์สาเหตุที่เด็กไทย อ่อนภาษาอังกฤษ ได้ดังนี้ 1) ภาษาอังกฤษไม่ใช่ภาษาแม่ของไทย เป็นเรื่องที่ดีที่ชาติไทยไม่เคยตก เป็นเมืองขึ้นของใคร แต่มันก็มีจุดอ่อน ทำาให้เราไม่สันทัดในภาษาอังกฤษ และเรายังมีภาษาไทยเป็นภาษาประจำาชาติอีกด้วย พูด ฟัง อ่าน เขียน เป็น ภาษาไทย แต่ละวันเลยแทบจะไม่ได้ใช้ภาษาอื่นเลย ภาษาอังกฤษที่เรียน มา พอไม่ได้ใช้ก็กลายเป็นใช้กันไม่เป็นไปซะดื้อๆ 2) เด็กไทยไม่รู้คำาศัพท์ เป็นสาเหตุที่ส่งผลร้ายแรงที่สุด ตราบใดที่ไม่รู้คำา ศัพท์ก็อย่าหวังว่าจะพูดได้ เพราะในเมื่อคลังคำาศัพท์เรามีน้อยเหลือเกินเรา ก็ไม่สามารถจะคิดประโยคที่ใช้ในการสื่อสารได้ ไม่ใช่แค่เฉพาะการพูด หรือเขียนนะ ฟังกับอ่านก็ไม่ได้ด้วย รู้ว่าเป็นคำาเป็นตัวอักษร แต่มันแปลว่า อะไรอะ แอ๊ก!! อันนี้มักจะเห็นผลชัดเจนเวลาทำาข้อสอบพาร์ทบทความ ยาวๆ
  • 18. 3) ยึดตามหนังสือเรียนเกินไป จริงอยู่ที่เวลาเรียนก็จะต้องมีหนังสือเรียน เพื่อให้รู้ว่าประโยคแต่ละประโยคเรียงยังไง ใช้ยังไง แต่หารู้ไม่ว่าในชีวิต จริงการพูดของฝรั่งก็ไม่ได้ตรงตามแกรมม่าหรอกนะ ก็เหมือนภาษาไทย นั่นแหละ ภาษาพูดภาษาเขียนที่ใช้กันจริงๆ ไม่ค่อยมีใครมานั่งนึกว่าถูก ไวยากรณ์ไหม เอาแค่สื่อสารรู้เรื่องก็พอแล้ว ภาษาอังกฤษก็เป็นเช่นนั้น เหมือนกัน ดังนั้นถ้าคิดจะหัดพูด ลองพูดๆ ไป อย่าไปยึดแกรมม่ามากจน เกินไป เพราะจะทำาให้พะวงจนไม่กล้าใช้ภาษาอังกฤษ แต่ถ้ากล้าที่จะพูด หรือคุยไปเรื่อยๆ เราจะเรียนรู้แกรมม่า รู้วิธีการสื่อสารโดยอัตโนมัติ แบบนี้ สิเค้าเรียกว่าเรียนจา d ประสบการณ์ จะชำานาญขึ้นมาเอง ดังนั้นจึงไม่แปลกใจเลยว่า เด็กไทยเรียนภาษาอังกฤษกันมา 10 ปี 15 ปี แต่คนที่ใช้ได้คล่องก็เป็นแค่คนกลุ่มเล็กๆ เท่านั้น 4) ไม่มีโอกาสได้ใช้ แม้ว่าโรงเรียนสมัยนี้จะจ้างอาจารย์ฝรั่งมาสอนกัน เต็มไปหมด แต่อาทิตย์นึงก็อาจจะมีเวลาพูดคุยกับฝรั่งจริงๆ ก็แค่อาทิตย์ละ 2-3 ชั่วโมง ซึ่งมันก็แค่นั้นจริงๆ ไม่มีใครที่จะใช้ภาษาอังกฤษในชีวิต ประจำาวัน (ยกเว้นโรงเรียนที่เค้าบังคับ) ดังนั้นเมื่อไม่มีช่องทาง เราก็จะไม่ ใช้กันเลย จริงไหม แล้วมารอคุยกับอาจารย์ฝรั่งอีกทีคาบหน้า ถึงแม้เราจะ ไม่ได้เป็นคนพูด แต่แค่ได้ฟัง หรืออ่าน ก็ได้ฝึกทักษะแล้ว 5) อาย แค่ไม่มีโอกาสได้ใช้ก็ว่าหนักแล้ว ยังจะอายอีก ความอายทำาให้ เราสูญเสียโอกาสหลายๆ อย่างในชีวิตนะคะ โอกาสอันดีของเราที่จะได้คุย กับเจ้าของภาษา ลองสัมภาษณ์ลองเอาความรู้ทั้งหมดที่เรียนมา ใช้ออกไป ให้เต็มที่ ถ้าอยากจะอาย ควรอายในเรื่องที่ไม่ดีแทนดีกว่า ผลสำารวจจากสภาเศรษฐกิจโลก (World Economic Forum) ชี้ทักษะ ภาษาอังกฤษของคนไทยอยู่ในอันดับที่ 8 จาก 10 ประเทศในเอาเซียน ดี กว่าลาว และกัมพูชาเท่านั้น ส่วนคะแนนโทเฟลอยู่อันดับ 6 ในกลุ่ม อาเซียน* โดยเวียดนามแซงหน้าแล้ว หากไม่เร่งปรับทัศนคติ และพัฒนา
  • 19. ทักษะภาษาอังกฤษของตนให้ทัดเทียมประเทศเพื่อนบ้าน อีกสามปีข้างหน้า สถานการณ์แรงงานไทยจะ เสียเปรียบในเวที AEC ทำาให้ไม่สามารถ แข่งขันกับแรงงานประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนได้ ถึงแม้ว่าจะมีประสบการณ์ ในสายงานนั้น ๆ หรือมีทักษะในด้านอื่น ๆ ก็ตามแรงงานไทยเจอศึกหนัก หากไม่รู้ภาษาอังกฤษ ปี 2558 ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่เมื่อเข้าสู่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ภูมิภาคอาเซียนจะกลายเป็นกลุ่มเศรษฐกิจ ขนาดใหญ่ มีตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน ส่งผลให้แรงงาน สินค้าและ บริการเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีภายในภูมิภาค นับเป็นเรื่องท้าทายสำาหรับแรงงานไทย เพราะจะมีการแข่งขันสูงในตลาด แรงงาน เพราะจะมีอาชีพ 8 อาชีพที่แรงงานสามารถทำางานได้ทั่วภูมิภาค อาเซียน ได้แก่ วิศวกร พยาบาล สถาปนิก การสำารวจ นักบัญชี ทันตแพทย์ แพทย์ การบริการ/การท่องเที่ยว บริษัทต่าง ๆ จะเริ่มคัดเลือก พนักงานในระดับภูมิภาคแทนการหาแรงงานในประเทศเพียงอย่างเดียว วุฒิการศึกษาเท่ากัน เกรดเท่ากัน แต่จุดที่จะตัดสินว่าใครจะได้งาน คือ ความสามารถทางภาษา อริสรา ธนาปกิจ หรือครูแนน ผู้พลิกวงการภาษาอังกฤษด้วยเสียงเพลง และผู้ร่วมก่อตั้งสถาบันพัฒนาภาษา Enconcept E- Academy เบื้อง หลังความสำาเร็จของเด็ก ๆ จำานวนมาก ให้ข้อคิดเห็นในงาน "Think Beyond : คิดข้ามช็อต" ว่า "การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษของคนไทย ให้ทัดเทียมกับนานาชาติเป็นเรื่องจำาเป็นอย่างยิ่ง ถ้าภาษาอังกฤษดี คน ไทยจะได้เปรียบ ภาษาอังกฤษไม่ได้สำาคัญแค่เรื่องการติดต่อสื่อสาร แต่ยัง เป็นเหมือนประตูบานใหญ่ในการหาองค์ความรู้ใหม่ ๆ เพราะต้นทางความ
  • 20. รู้ส่วนใหญ่ เช่น วารสารทางการแพทย์ หรือ การค้นคว้าวิจัยต่าง ๆ ใน อินเทอร์เน็ต มักจะเป็นภาษาอังกฤษ" ทีมงานผู้เชี่ยวชาญจาก Enconcept E- Academy ให้ข้อมูลเพิ่มเติมถึง ความสำาคัญของภาษาอังกฤษ โดยยกตัวอย่างบริษัทผลิตนำ้ามันยักษ์ใหญ่ แห่งหนึ่งของโลก ซึ่งเป็นที่ใฝ่ฝันของผู้ที่จบทางด้านวิศวกรรมที่อยาก ทำางานที่แท่นขุดเจาะ เพราะรายได้เริ่มต้นสูงถึงหนึ่งแสนบาทต่อเดือน บริษัทดังกล่าวใช้วิธคัดเลือกพนักงานด้วยการให้พนักงานโทรข้ามประเทศ ไปยังโรงเรียนสอนภาษาที่ประเทศอังกฤษ เพื่อวัดทักษะการใช้ภาษา อังกฤษของผู้เข้าสมัครท่องเที่ยวและโลจิสติกส์มาแรงหลังเปิด AEC หลังเปิด AEC โครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมระหว่างประเทศจะพัฒนา มากขึ้น เช่น จะมีโครงการรถไฟความเร็วสูงจากประเทศจีนมายังสิงคโปร์ ซึ่งเส้นทางส่วนใหญ่ผ่านประเทศไทย เป็นผลดีต่อการท่องเที่ยว แนวโน้ม การท่องเที่ยวของไทยจะขยายตัวสูงมาก มีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้ามาใน ไทยกว่า 20 ล้านคน นับว่าเป็นโอกาสทองของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ของไทย เพราะเราเชี่ยวชาญเรื่องการบริการและการท่องเที่ยวอยู่แล้ว อย่างไรก็ตามการรู้ภาษาอังกฤษและภาษาที่สามอื่น ๆ จะช่วยเพิ่มโอกาส ของแรงงานไทยในการหางานในอุตสาหกรรมนี้ได้ "อาชีพที่มาแรงอย่าง อาชีพบริการและการท่องเที่ยว ก็เป็นอาชีพที่น่าสนใจสำาหรับเด็กสายศิลป์ เพราะต้องใช้ความสามารถทางด้านภาษาอย่างมาก เด็ก ๆ ควรมีความ แข็งแกร่งทางด้านภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาที่สามที่แนะนำาคือ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และภาษาอาหรับ เพราะในแต่ละปี มีนักท่องเที่ยวจากกลุ่ม ประเทศเหล่านี้เดินทางมายังประเทศไทยเป็นจำานวนมาก" ครูพี่แนนชี้ นอกจากนี้ไทยจะได้ประโยชน์จากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน คมนาคมในด้านการขนส่ง หรือ โลจิสติกส์ หากวิเคราะห์ถึงที่ตั้งของ
  • 21. ประเทศไทยแล้ว ถือว่าเป็นจุดยุทธศาสตร์หรือเรียกว่า HUB กล่าวคือ ด้าน บนเป็นจีน ฝั่งหนึ่งเป็นอินเดีย อีกฝั่งหนึ่งเป็นญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ส่วนด้านล่าง เป็นออสเตรเลีย จะมีการพัฒนาโครงการต่าง ๆ เช่น โครงการท่าเรือนำ้าลึก ทวาย ซึ่งเปรียบเสมือนสะพานเชื่อมโยงทะเลอันดามันกับอ่าวไทย ดังนั้น อีก 1 อาชีพที่น่าสนใจคือโลจิสติกส์ หรือการขนส่ง ซึ่งเป็นเรื่องของการ จัดการด้านการขนส่งสินค้าจากคลังไปยังผู้บริโภค ซึ่งไทยยังขาดแคลน ทรัพยากรบุคคลด้าน โลจิสติกส์ อยู่มาก จะเห็นได้ว่าประเทศไทย ไม่ว่าจะขยับตัวไปทางไหน สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เลยคือความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษ ถึงเวลาแล้วที่คนไทยจะต้อง "กำาจัดจุดอ่อน" เริ่มต้นเรียนรู้และฝึกฝนภาษาอังกฤษเสียแต่เนิ่น ๆ เพื่อจะ ได้ก้าวสู่ AEC ได้อย่างมั่นใจและมั่นคง คุณ คิดว่าคุณเก่งภาษาอังกฤษหรือไม่?” ถ้าคำาตอบคือคิดว่า “(ยัง)ไม่เก่ง” ขอถามต่อว่าแล้วทำาไมหรือเพราะสาเหตุใดทำาให้คุณไม่เก่งภาษาอังกฤษ หล่ะครับ? จากการคลุกคลีอยู่กับคนไทยที่อยากเก่งภาษาอังกฤษมานับร้อย จึงอยากเล่าประสบการณ์ผ่านอัคนีฉบับนี้พร้อมกับวิเคราะห์ให้ท่านผู้อ่าน เก็บ ไปคิดเป็นการบ้าน ต่อไปนี้คือตัวอย่างของเหตุผล (หรือข้ออ้างกัน แน่?!?) ยอดฮิตที่คนไทยมักจะอ้างว่าทำาให้เราไม่เก่งภาษาอังกฤษ เหตุผลที่ 1 “รู้คำาศัพท์น้อย” นี่เป็นเหตุผลสุดฮิต เรียกได้ว่าติด TOP 5 มาโดยตลอด คุณเริ่มท่องศัพท์ ภาษาอังกฤษมาตั้งแต่อายุกี่ขวบหรือครับ? แล้วในชีวิตของคุณท่องศัพท์มา แล้วกี่ปีหรือกี่คำา? แล้วคุณคิดว่าคุณต้องรู้คำาศัพท์สักกี่คำาที่จะทำาให้คุณ สนทนากับฝรั่งได้? ในระบบการศึกษาของไทยสมัยก่อน ผมเริ่มเรียนภาษา อังกฤษตอน ป.5 แล้วโดนจับท่องคำาศัพท์มาโดยตลอด ผมคิดว่าจบมัธยม
  • 22. ปลายนักเรียนไทยน่าจะรู้คำาศัพท์เป็นพันคำา เด็กสมัยนี้จะโชคดีกว่าสมัยผม ตรงที่ส่วนใหญ่จะเรียนภาษาอังกฤษตั้งแต่เด็ก บางคนเรียนตั้งแต่อนุบาล ยังมีเลย เพราะฉะนั้นเด็กรุ่นใหม่น่าจะรู้คำาศัพท์มากกว่าคนรุ่นก่อนด้วยซำ้า อย่างไรก็ตามผมอยากให้คุณเปรียบเทียบตัวคุณซึ่งรู้คำาศัพท์เป็นพันคำากับ เด็ก ฝรั่งอายุสักประมาณ 6 – 7 ขวบ คุณคิดว่าใครจะรู้คำาศัพท์มากกว่า กัน? อย่าบอกนะครับว่าเด็กที่เพิ่งพูดได้ไม่กี่ปีจะรู้คำาศัพท์มากกว่าคุณ นี่คือ ตัวอย่างว่าเด็กฝรั่งซึ่งรู้คำาศัพท์เพียงไม่กี่ร้อยคำาก็พูดภาษาอังกฤษ ได้แล้ว ดังนั้นการรู้คำาศัพท์น้อยอาจจะไม่ใช่อุปสรรคที่สำาคัญที่สุดที่จะทำาให้คุณ พูด ภาษาอังกฤษไม่ได้หรอก ลองคิดอีกแง่หนึ่งสำาหรับคนไทย ทำาไมคน ไทยจึงพูดภาษาไทยได้คล่องทั้งที่ตอนเด็กๆ เราไม่เห็นต้องท่องคำาศัพท์ ภาษาไทยวันละ 5 คำาเป็นนกแก้วนกขุนทองเหมือนการฝึกภาษาอังกฤษ เลย แล้วทำาไมเราท่องคำาศัพท์ภาษาอังกฤษกันตั้งมากมายกลับยังพูด สนทนากับฝรั่งไม่ รู้เรื่องสักทีหล่ะครับ? เรื่องนี้ต้องอธิบายยาวเนื้อที่แค่นี้ไม่ พอแน่ครับ เอาไว้จะแนะนำาในฉบับต่อๆ ไปถึงวิธีการท่องคำาศัพท์ที่จะ ทำาให้คุณนำาไปใช้งานได้จริงๆ เหตุผลที่ 2 “ไม่ค่อยได้ใช้” เหตุผลหรือข้ออ้างข้อนี้ก็พอฟังขึ้นอยู่นะครับ อะไรก็ตามที่คุณเรียนรู้แล้ว ไม่ได้นำาไปใช้ก็จะลืมไปในที่สุด แต่ในเมื่อคุณรู้ว่าคุณไม่ค่อยมีโอกาสใช้ ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำาวัน แล้วทำาไมไม่แสวงหาภาษาอังกฤษให้เข้า มาในชีวิตคุณล่ะครับ? จะได้เก่งซักที สมัยนี้ยังโชคดีตรงที่คุณสามารถ หาความรู้ทางภาษาอังกฤษได้ง่ายดายกว่าสมัย ก่อนเยอะมาก ไม่ว่าจะ เป็นการใช้อินเตอร์เน็ต, การ chat กับเพื่อนต่างชาติ, การเขียนจดหมา ยอิเล็คโทรนิค ฯลฯ ขนาดรายการโทรทัศน์ของไทยเองยังมีภาษาอังกฤษ ให้ดูมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นข่าวภาคภาษาอังกฤษที่มีให้เห็นแทบทุกวัน หนังสือพิมพ์ นิตยสารนอก ก็มีให้อ่านมากขึ้น ภาพยนตร์ต่างประเทศก็ได้ รับความนิยมมานมนาน คุณเห็นหรือยังครับว่าช่องทางในการเสาะหา ภาษาอังกฤษนั้นง่ายดายมาก ดังนั้นคนสมัยนี้น่าจะเก่งภาษาอังกฤษกว่า
  • 23. คนรุ่นก่อนด้วยซำ้า ขอเพียงคุณเปิดใจรับภาษาอังกฤษเข้ามาเป็นส่วนหนึ่ง ในชีวิตประจำาวัน รับรองคุณจะเก่งขึ้นอย่างแน่นอนและจะได้เลิกอ้างว่า “ฉันไม่เก่งภาษาอังกฤษเพราะไม่ค่อยได้ใช้” ซักที นอกจากนั้น อีกสาเหตุ ที่ทำาให้คนไทยไม่ค่อยได้ใช้ภาษาอังกฤษคือ ไม่กล้าพูดออกไป กลัวผิด และกลัวโดนจับผิด (โดยเฉพาะคนไทยด้วยกันเอง) เดี๋ยวขายหน้า ขอร้อง เถอะครับ ถ้าอยากเก่งภาษาอังกฤษคุณต้องใจกล้าหน้า...พอสมควร ผม เองเคยหน้าแตกต่อหน้าฝรั่งมานับครั้งไม่ถ้วนจนแกร่งแล้วครับ ไม่เห็นมี ใครมาทำาโทษเวลาผมพูดผิดเลย แถมการหน้าแตกนี่หล่ะจะทำาให้เราจดจำา ไปนานแสนนานเลย และทำาให้เราใช้ภาษาอังกฤษได้อย่างถูกต้องไม่ผิด แบบเดิมอีก คุ้มจะตายไป ฉะนั้นกล้าๆ พูดไปเถอะครับ และโดยธรรมชาติ ถ้าฝรั่งฟังเราพูดผิดเค้าก็มักจะแก้ให้เรา เราก็จำาสิ่งที่ถูกต้องไปใช้ ได้เรียน รู้อีกด้วย ถ้าไม่พูดออกไปก็ไม่รู้หรอกว่าที่คิดเอาไว้น่ะจะผิดหรือถูกกันแน่ เหตุผลที่ 3 “ไม่เคยไปต่างประเทศ” อันนี้ขึ้นกับแต่ละบุคคลครับ ผมเคยเห็นคนที่ใช้ชีวิตอยู่ต่างประเทศที่ใช้ ภาษาอังกฤษ แต่กลับพูดภาษาอังกฤษได้ไม่ดีเท่ากับคนไทยที่ไม่เคยไป ต่างประเทศก็มี [การไปใช้ชีวิตที่ต่างประเทศไม่มีอะไรรับประกันว่าจะ ทำาให้สำาเนียงคุณเป็น ฝรั่งได้หรอก แต่ผมก็ปฏิเสธไม่ได้ว่า คนที่ไปใช้ ชีวิตในต่างประเทศมีโอกาสประสบความสำาเร็จในการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ ได้มากกว่าคนที่อยู่ในประเทศไทย เพราะสิ่งแวดล้อมรอบตัวเค้าเป็นภาษา อังกฤษหมด มันจึงบังคับให้เค้าต้องใช้ภาษาอังกฤษตลอด ผมยังไม่เคย ได้ยินข่าวคนไทยในต่างแดนอดตายเพราะพูดภาษาอังกฤษไม่ได้เลย แต่ คนที่อยู่ในประเทศไทยก็ไม่ต้องน้อยใจ อย่างที่บอกว่าสมัยนี้คุณหาภาษา อังกฤษในชีวิตประจำาวันง่ายจะตายไป ดังนั้นก็พยายามดูหนังฝรั่งแทนการ ดูละครไทย, ฟังเพลงฝรั่งแทนเพลงไทย, อ่านหนังสือพิมพ์หรือนิตยสาร ภาษาอังกฤษ, คุยกับฝรั่งบ่อยๆ(ถ้ามีโอกาส) แค่นี้คุณก็ไม่ต่างอะไรกับคนที่ อยู่เมืองนอกแล้วหล่ะ