SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
สถาบัน พัฒ นาเยาวชนสืบ สานภูม ิป ญ ญา
ั
ประวัต ิอ งค์ก ร

สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา เกิดจาก
กลุ่มเครือข่ายเยาวชนในภาคอีสาน ภายใต้เครือข่าย
เยาวชนสืบสานภูมิปัญญา 4 ภาค ก่อตั้งเมื่อ เดือน มี.ค.
2548 เริ่มแรกภายใต้การดูแลและให้คำาปรึกษาของ
วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.) โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อ สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและครูภูมิปัญญา
ในชุมชน ด้วยกระบวนการสืบสานภูมิปัญญา อันเป็น
รากฐานการสร้างสุขภาวะทางปัญญาในท้องถิ่น โดยทำาให้
เยาวชนคนรุ่นใหม่สามารถเข้าถึงภูมิปัญญา และสามารถ
ปรับประยุกต์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดการดำารงชีวิต
ได้อย่างมีคุณภาพ และสอดคล้องกับสถานการณ์สังคม
ปัจจุบัน ตลอดจนสามารถส่งต่อความรู้ภูมิปัญญาได้โดย
เยาวชนจากรุ่น ต่อรุ่น ต่อมาเดือนมิถุนายน 2551 ได้
เปลี่ยนองค์กรดูแลและให้คำาปรึกษามาเป็น มูลนิธอาสาสมัคร
ิ
เพื่อสังคม (มอส.)
ในวันที่ 7 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2553 เครือข่าย
เยาวชนสืบสานภูมิปัญญา ได้มีมติจากคณะกรรมการบริหาร
กลุ่มให้ยกระดับเป็น “สถาบัน พัฒ นาเยาวชนสืบ สาน
ภูม ิป ัญ ญา ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถาบันในการ
พัฒนาศักยภาพเยาวชน เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม โดยใช้
กระบวนการเรียนรู้ชุมชนเป็นหลัก

วัต ถุป ระสงค์ข ององค์ก ร ดัง นี้

๑. เป็นองค์กรพัฒนาเด็กและเยาวชนในทุกมิติรอบ
ด้าน ทั้งกาย จิต ปัญญาและสังคมให้มีภูมิคุ้มกันจากบริโภค
นิยม วัตถุนิยม และจัดกระบวนการเรียนรู้นำาไปสู่สุขภาวะ
ของเด็กและเยาวชนในชุมชน
๒. เพื่อเป็นองค์กรเชื่อมโยงเครือข่ายครูภูมิปัญญาและ
เครือข่ายเยาวชน ในการพัฒนาองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ให้
รับใช้ชุมชนและสังคมปัจจุบัน
๓. เชื่อมประสานองค์กรภาคีท้องถิ่นในการสร้าง
ต้นแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน
๔. เป็นองค์กรจัดการศึกษาทางเลือกในการพัฒนาเด็ก
และเยาวชนผ่านกระบวนการเรียนรู้ชุมชน โดยใช้พลังทุน
ทางสังคมเป็นหลัก
๕. ร่วมกับองค์กร หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน
อื่นๆเพื่อสาธารณะประโยชน์ ทั้งในระดับชุมชน ระดับ
จังหวัด และระดับประเทศ
๖. ไม่ดำาเนินการเกี่ยวข้องกับการเมืองแต่ประการใด

คณะกรรมการบริห ารองค์ก ร

1.นายคิด
แก้วคำาชาติ
ประธานกรรมการ
2. นายวสันต์ ลำาแพน
กรรมการฝ่าย
ประสานงาน
3. นายอมร
ศรีอนันต์ กรรมการประชาสัมพันธ์
และสื่อ
4.นายอัฐพล
ดำาหริ
กรรมการฝ่าย
วิชาการ
5. นางสาวจุรีย์พร โสภาจันทร์ กรรมการฝ่าย
กิจกรรม
6. นายทินกร บัวหลาย กรรมการฝ่ายอาคาร
สถานที่
7. นายปฐวีกาญจน์ ส่งเสริม
กรรมการฝ่าย
วางแผนและพัฒนา
7.นางสาวดวงเดือน ใจตรง
กรรมการฝ่ายการ
เงินและบัญชี
ที่ป รึก ษาองค์ก ร
1. นางสาวสดใส
ที่ปรึกษา
2. อาจารย์ละไม
3. นายสุชัย
4. อาจารย์ฟ้ารุ่ง
ปรึกษา
5. นายกมล
6. อาจารย์อัมรา
7. นายคำาพวง
8. นายทองจันทร์

สร่างโศรก

ประธาน

โพธิ์ศรี
เจริญมุขยนันท
บรรเรืองทอง
หอมกลิ่น
วีสเพ็ญ
ทัดเทียม
นาคำามูล

ที่ปรึกษา
ที่ปรึกษา
ที่

ที่ปรึกษา
ที่ปรึกษา
ที่ปรึกษา
ที่ปรึกษา
หลัก สูต รและกระบวนการ

สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา แบ่งหลักสูตร
กระบวนการเรียนการสอนออกเป็น ๓ ส่วน คือ “เรีย นรู้
รากเหง้า เท่า ทัน ตนเอง และเท่า ทัน สัง คม ” ซึ่งมีราย
ละเอียดดังนี้
๑. หลัก สูต รเรีย นรู้ร ากเหง้า โดยจัดกระบวนการ
ให้เยาวชนได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชนของตนเองผ่าน
กิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น สำารวจและ สืบค้น
ประวัติศาสตร์ชุมชน เก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน ผู้รู้ ครู
ภูมิปัญญา จัดทำาแผนที่ทรัพยากร ทำาเส้นทางฐานการเรียน
รู้ชุมชน ตลอดจนเข้าไปเรียนรู้ศึกษาเฉพาะด้านในองค์
ความรู้ที่เยาวชนแต่ละคนสนใจ เช่น การเป่าแคน การลำา
กลอน การทำานา และการละเล่นต่างๆ เป็นต้น
๒. หลัก สูต รเท่า ทัน ตนเอง โดยสร้างกระบวนการ
ให้เยาวชนได้คิด วิเคราะห์และเข้าใจตนเองถึงจุดแข็ง จุด
อ่อน ความรู้ความสามารถ เพื่อนำาไปสู่การพัฒนาปรับปรุง
ให้มีศักยภาพ เพิ่มทักษะภาวะความเป็นผู้นำาและการ
แสดงออกในทางสร้างสรรค์ ผ่านกระบวนการเรียนรู้การ
ทำางานเป็นทีม กิจกรรมสันทนาการ เกม เพลงสร้างสรรค์
ตลอดจนสอดแทรกกระบวนการทางจิตวิทยาเพื่อให้รู้คุณค่า
ของความเป็นคน เช่น กิจกรรมพันธะสัญญาเพื่อการ
เปลี่ยนแปลง กิจกรรมจุดเทียนอุดมการณ์ กิจกรรมรับขวัญ
น้อง เป็นต้น
๓. หลัก สูต รเท่า ทัน สัง คม โดยจัดกระบวนการให้
เยาวชนได้คิดวิเคราะห์ เจาะลึกถึงการเปลี่ยนแปลงและผลก
ระทบของกระแสสังคม โลกาภิวัตน์ และเทคโนโลยีการ
สื่อสาร ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมวิเคราะห์การ
เปลี่ยนแปลงจากอดีต ถึงปัจจุบัน กิจกรรมวิเคราะห์ผลกระ
ทบของเทคโนโลยีการสื่อสาร กิจกรรมวิเคราะห์สื่อ
กิจกรรมวิเคราะห์การศึกษา เป็นต้น แล้วเชื่อมโยงทางออก
กับการกำาหนดวิถีทางเลือกของตนเองเพื่อให้อยู่ในสังคมได้
อย่างเท่าทันและมีความสุข
แต่ละหลักสูตรจะไม่ตายตัวสามารถเปลี่ยนแปลงและ
ปรับปรุงได้ตามความเหมาะสม ขึนอยู่กับบริบทพื้นที่ของ
้
ชุมชน เพราะฉะนั้น การจัดการศึกษาของ สถาบันพัฒนา
เยาวชนสืบสานภูมิปัญญา จึงเป็น “การศึก ษาเรีย นรู้ผ ่า น
กิจ กรรมการปฏิบ ัต ิจ ริง พึ่ง พิง วิถ ีภ ูม ิป ัญ ญา เพื่อ
พัฒ นาตนเองและสัง คม ” อย่างแท้จริง เยาวชนที่ผ่าน
กระบวนการเรียนรู้สามารถเข้าใจตนเอง เข้าใจสังคม อยู่ใน
สังคมได้อย่างเท่าทันและมีความสุข

ห้อ งเรีย นที่จ ัด กระบวนการ

1. ห้ อ ง เ รี ย น ชุ ม ช น เรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ค่ า
ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น ชุ ม ช น เ ช่ น
ประวัติ ศ าสตร์ ชุ ม ชน ผู้ รู้ ประเพณี วั ฒนธรรม ความ
เชื่อ สภาพเศรษฐกิ จ สั งคม การเมื อ ง ในชุ ม ชน เพื่ อ
เชื่อมโยงกับการเรียนรู้กระแสหลัก
2. ห้ อ ง เ รี ย น ช า ว น า เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ
กระบวนการ ทำา นาอินทรีย์เชิงวิจัย จากการคัดเมล็ด
พันธุ์ ถึงการ เก็บเกี่ยว พร้อมกับเรียนรู้การทำาปุ๋ยอินทรี
และปุ๋ยชีวภาพ สูตรต่างๆ
3. ห้อ งเรีย นชีว ิต
เรียนรู้เกี่ยวกับความ
หลากหลาย เกื้อกูลและความผูกพันระหว่างผู้คนกับ
ทรัพยากร ดิน นำ้า ป่า ปลา คน เช่น สู่แนวทางการ
รักษา ทรัพยากรบนฐานภูมิปัญญาชาวบ้าน อย่าง
ยั่งยืน
4. ห้ อ ง เ รี ย น เ ท่ า ทั น สื่ อ เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ
กระบวนการ คิด วิเคราะห์ เจาะลึกเกี่ยวกับสื่อ เพื่อการ
รับรู้ และเข้า ใจสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เหมาะ
สม
5. ห้ อ ง เ รี ย น ผู้ น ำา เรี ย นรู้ เพื่ อ ฝึ ก ทั ก ษะภาวะ
ผู้ นำา การคิ ด การตั ด สิ น ใจ การแสดงออก สู่ นั ก จั ด
กระบวนการเพื่อสังคม ตามทฤษฎี พัฒนาตนเอง เพื่อ
พัฒนา สังคม

เครื่อ งมือ เทคนิค การจัด กระบวนการ

นิทาน เล่นเกม

- ผ่านกระบวนการค่าย Camping ๓ วัน ๒ คืน
- การเดินสำารวจการเปลี่ยนแปลงและเก็บข้อมูล
- ผ่านรูปแบบสนุกสนาน เช่น ร้องเพลง เล่า
-

management

สันทนาการ กลุ่มสัมพันธ์
ผ่านงานศิลปะ เช่น วาดรูป บทกวี สิ่งประดิษฐ์
ผ่านวงคุยธรรมชาติ สุนทรียะสนทนา
ผ่านกิจกรรมฐาน “Walk Rally”
ผ่านกิจกรรมกลุ่ม “Work Shop”
ผ่านการจัดการความรู้ knowledge

- ผ่านเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
- ผ่านการเรียนรู้ ดูงาน

จุด เด่น ของการเรีย นรู้
ของชุมชน
กัน

กัน

- จัดกระบวนการตามบริบทและสอดคล้องกับปัญหา
- กำาหนดเป้าหมายและออกแบบการเรียนการสอนร่วม
-

เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง พึ่งพิงภูมิปัญญา
พัฒนาทั้งทักษะชีวิต และจิตวิญญาณ
รูปแบบการเรียนรู้สนุกสนาน และมีสาระ
ผู้เรียนและผู้สอนมีความผูกพันและเอาใจใส่กันและ

- มีหลักสูตรที่ยืดหยุ่นได้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตาม
ความเหมาะสม
- เป็นการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิถีและชีวิตจริงสามารถ
ใช้ได้ในชีวิตประจำาวัน
- เรียนรู้ตามความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล
- ไม่มีการแข่งขัน ทุกคนเท่าเทียมกัน
- เข้าใจตนเอง เข้าใจสังคม และสามารถปรับตัวเข้า
กับการเปลี่ยนแปลงได้
เรียนรู้

- ใช้วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เป็นเครื่องมือออกแบบการ
เป้า หมายสูง สุด
เป็นสถาบันการเรียนรู้ทางเลือกที่จัดกระบวนการ
เรียนรู้บนฐานชุมชนโดยเชื่อมโยงทุนทางสังคมเข้ามา
มีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาศักยภาพชีวิตเยาวชน ชุมชน ให้
มีคุณภาพและมีทักษะในการดำาเนินชีวิต สามารถรู้เท่า
ทันตนเอง เท่าทันสังคม สามารถกำาหนดวิถีตนเองและ
ชุมชนได้อย่างเหมาะสม ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง
ของกระแสสังคม....
............................................................
....
เรียนรู้

- ใช้วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เป็นเครื่องมือออกแบบการ
เป้า หมายสูง สุด
เป็นสถาบันการเรียนรู้ทางเลือกที่จัดกระบวนการ
เรียนรู้บนฐานชุมชนโดยเชื่อมโยงทุนทางสังคมเข้ามา
มีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาศักยภาพชีวิตเยาวชน ชุมชน ให้
มีคุณภาพและมีทักษะในการดำาเนินชีวิต สามารถรู้เท่า
ทันตนเอง เท่าทันสังคม สามารถกำาหนดวิถีตนเองและ
ชุมชนได้อย่างเหมาะสม ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง
ของกระแสสังคม....
............................................................
....

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้nitirot
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3tassanee chaicharoen
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษาการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 

What's hot (7)

แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพแผ่นพับโครงงานสุขภาพ
แผ่นพับโครงงานสุขภาพ
 
หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้
 
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
วิเคราะห์หลักสูตรลงสู่หน่วยการเรียนรู้เพศศึกษา
 
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
การวิเคราะห์หลักสูตรวิชาสุขศึกษาชั้นม.3
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษาการออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
การออกแบบการเรียนรู้แบบย้อนกลับ เพศศึกษา
 

Viewers also liked

GEPIL Profile by Roar Studios
GEPIL Profile by Roar StudiosGEPIL Profile by Roar Studios
GEPIL Profile by Roar StudiosRohan Nanavati
 
Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]
Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]
Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]Ysbelia Diaz Correa
 
Tugas t.i.k saprik
Tugas t.i.k   saprikTugas t.i.k   saprik
Tugas t.i.k saprikdodyhasri
 
Rypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ Dinner
Rypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ DinnerRypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ Dinner
Rypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ DinnerMichael Quiel
 
Field Based Project - Introduction to Professional Nursing
Field Based Project - Introduction to Professional NursingField Based Project - Introduction to Professional Nursing
Field Based Project - Introduction to Professional NursingDorea Hardy
 
4to grado bloque 2 (2013-2014)
4to grado   bloque 2 (2013-2014)4to grado   bloque 2 (2013-2014)
4to grado bloque 2 (2013-2014)ALEX Vilchis
 
швидка угода
швидка угодашвидка угода
швидка угодаMY-TRANScom
 
River vs Boca
River vs BocaRiver vs Boca
River vs Bocajoni10
 
Brian kearney presentation october 12th 2
Brian kearney presentation october 12th 2Brian kearney presentation october 12th 2
Brian kearney presentation october 12th 2Anne Brady
 
Prudential Media List
Prudential Media ListPrudential Media List
Prudential Media ListValeria Piras
 
26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrollo
26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrollo26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrollo
26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrolloOrganización política
 
26 fat-tire-bike
26 fat-tire-bike26 fat-tire-bike
26 fat-tire-bikesumonsc
 

Viewers also liked (20)

GEPIL Profile by Roar Studios
GEPIL Profile by Roar StudiosGEPIL Profile by Roar Studios
GEPIL Profile by Roar Studios
 
Ada 1 omct
Ada 1 omctAda 1 omct
Ada 1 omct
 
9 república velha i
9  república velha i9  república velha i
9 república velha i
 
Steve jobs
Steve jobsSteve jobs
Steve jobs
 
Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]
Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]
Filosofia e historia del trabajo [modo de compatibilidad]
 
Tugas t.i.k saprik
Tugas t.i.k   saprikTugas t.i.k   saprik
Tugas t.i.k saprik
 
Informatica
InformaticaInformatica
Informatica
 
Rypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ Dinner
Rypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ DinnerRypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ Dinner
Rypien Foundation Hosts Annual Winemakers’ Dinner
 
Field Based Project - Introduction to Professional Nursing
Field Based Project - Introduction to Professional NursingField Based Project - Introduction to Professional Nursing
Field Based Project - Introduction to Professional Nursing
 
Historia 1
Historia 1Historia 1
Historia 1
 
4to grado bloque 2 (2013-2014)
4to grado   bloque 2 (2013-2014)4to grado   bloque 2 (2013-2014)
4to grado bloque 2 (2013-2014)
 
Ada 1 omct
Ada 1 omctAda 1 omct
Ada 1 omct
 
Carta pela Legalidade
Carta pela LegalidadeCarta pela Legalidade
Carta pela Legalidade
 
швидка угода
швидка угодашвидка угода
швидка угода
 
River vs Boca
River vs BocaRiver vs Boca
River vs Boca
 
Brian kearney presentation october 12th 2
Brian kearney presentation october 12th 2Brian kearney presentation october 12th 2
Brian kearney presentation october 12th 2
 
Mihai eminescu
Mihai eminescuMihai eminescu
Mihai eminescu
 
Prudential Media List
Prudential Media ListPrudential Media List
Prudential Media List
 
26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrollo
26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrollo26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrollo
26 08 2012 Los veracruzanos, comprometidos con nuestro desarrollo
 
26 fat-tire-bike
26 fat-tire-bike26 fat-tire-bike
26 fat-tire-bike
 

Similar to สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7wanneemayss
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 

Similar to สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน (20)

มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
กรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาลกรอบนโยบายรัฐบาล
กรอบนโยบายรัฐบาล
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 

สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญาอีสาน

  • 1. สถาบัน พัฒ นาเยาวชนสืบ สานภูม ิป ญ ญา ั ประวัต ิอ งค์ก ร สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา เกิดจาก กลุ่มเครือข่ายเยาวชนในภาคอีสาน ภายใต้เครือข่าย เยาวชนสืบสานภูมิปัญญา 4 ภาค ก่อตั้งเมื่อ เดือน มี.ค. 2548 เริ่มแรกภายใต้การดูแลและให้คำาปรึกษาของ วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (วจส.) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อ สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับเยาวชนและครูภูมิปัญญา ในชุมชน ด้วยกระบวนการสืบสานภูมิปัญญา อันเป็น รากฐานการสร้างสุขภาวะทางปัญญาในท้องถิ่น โดยทำาให้ เยาวชนคนรุ่นใหม่สามารถเข้าถึงภูมิปัญญา และสามารถ ปรับประยุกต์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เกิดการดำารงชีวิต ได้อย่างมีคุณภาพ และสอดคล้องกับสถานการณ์สังคม ปัจจุบัน ตลอดจนสามารถส่งต่อความรู้ภูมิปัญญาได้โดย เยาวชนจากรุ่น ต่อรุ่น ต่อมาเดือนมิถุนายน 2551 ได้ เปลี่ยนองค์กรดูแลและให้คำาปรึกษามาเป็น มูลนิธอาสาสมัคร ิ เพื่อสังคม (มอส.) ในวันที่ 7 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2553 เครือข่าย เยาวชนสืบสานภูมิปัญญา ได้มีมติจากคณะกรรมการบริหาร กลุ่มให้ยกระดับเป็น “สถาบัน พัฒ นาเยาวชนสืบ สาน ภูม ิป ัญ ญา ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นสถาบันในการ พัฒนาศักยภาพเยาวชน เพื่อพัฒนาชุมชนและสังคม โดยใช้ กระบวนการเรียนรู้ชุมชนเป็นหลัก วัต ถุป ระสงค์ข ององค์ก ร ดัง นี้ ๑. เป็นองค์กรพัฒนาเด็กและเยาวชนในทุกมิติรอบ ด้าน ทั้งกาย จิต ปัญญาและสังคมให้มีภูมิคุ้มกันจากบริโภค นิยม วัตถุนิยม และจัดกระบวนการเรียนรู้นำาไปสู่สุขภาวะ ของเด็กและเยาวชนในชุมชน ๒. เพื่อเป็นองค์กรเชื่อมโยงเครือข่ายครูภูมิปัญญาและ เครือข่ายเยาวชน ในการพัฒนาองค์ความรู้ ภูมิปัญญา ให้ รับใช้ชุมชนและสังคมปัจจุบัน ๓. เชื่อมประสานองค์กรภาคีท้องถิ่นในการสร้าง ต้นแบบการเรียนรู้เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชน ๔. เป็นองค์กรจัดการศึกษาทางเลือกในการพัฒนาเด็ก และเยาวชนผ่านกระบวนการเรียนรู้ชุมชน โดยใช้พลังทุน ทางสังคมเป็นหลัก
  • 2. ๕. ร่วมกับองค์กร หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชน อื่นๆเพื่อสาธารณะประโยชน์ ทั้งในระดับชุมชน ระดับ จังหวัด และระดับประเทศ ๖. ไม่ดำาเนินการเกี่ยวข้องกับการเมืองแต่ประการใด คณะกรรมการบริห ารองค์ก ร 1.นายคิด แก้วคำาชาติ ประธานกรรมการ 2. นายวสันต์ ลำาแพน กรรมการฝ่าย ประสานงาน 3. นายอมร ศรีอนันต์ กรรมการประชาสัมพันธ์ และสื่อ 4.นายอัฐพล ดำาหริ กรรมการฝ่าย วิชาการ 5. นางสาวจุรีย์พร โสภาจันทร์ กรรมการฝ่าย กิจกรรม 6. นายทินกร บัวหลาย กรรมการฝ่ายอาคาร สถานที่ 7. นายปฐวีกาญจน์ ส่งเสริม กรรมการฝ่าย วางแผนและพัฒนา 7.นางสาวดวงเดือน ใจตรง กรรมการฝ่ายการ เงินและบัญชี ที่ป รึก ษาองค์ก ร 1. นางสาวสดใส ที่ปรึกษา 2. อาจารย์ละไม 3. นายสุชัย 4. อาจารย์ฟ้ารุ่ง ปรึกษา 5. นายกมล 6. อาจารย์อัมรา 7. นายคำาพวง 8. นายทองจันทร์ สร่างโศรก ประธาน โพธิ์ศรี เจริญมุขยนันท บรรเรืองทอง หอมกลิ่น วีสเพ็ญ ทัดเทียม นาคำามูล ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา
  • 3. หลัก สูต รและกระบวนการ สถาบันพัฒนาเยาวชนสืบสานภูมิปัญญา แบ่งหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอนออกเป็น ๓ ส่วน คือ “เรีย นรู้ รากเหง้า เท่า ทัน ตนเอง และเท่า ทัน สัง คม ” ซึ่งมีราย ละเอียดดังนี้ ๑. หลัก สูต รเรีย นรู้ร ากเหง้า โดยจัดกระบวนการ ให้เยาวชนได้เรียนรู้และเข้าใจชุมชนของตนเองผ่าน กิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น สำารวจและ สืบค้น ประวัติศาสตร์ชุมชน เก็บข้อมูลปราชญ์ชาวบ้าน ผู้รู้ ครู ภูมิปัญญา จัดทำาแผนที่ทรัพยากร ทำาเส้นทางฐานการเรียน รู้ชุมชน ตลอดจนเข้าไปเรียนรู้ศึกษาเฉพาะด้านในองค์ ความรู้ที่เยาวชนแต่ละคนสนใจ เช่น การเป่าแคน การลำา กลอน การทำานา และการละเล่นต่างๆ เป็นต้น ๒. หลัก สูต รเท่า ทัน ตนเอง โดยสร้างกระบวนการ ให้เยาวชนได้คิด วิเคราะห์และเข้าใจตนเองถึงจุดแข็ง จุด อ่อน ความรู้ความสามารถ เพื่อนำาไปสู่การพัฒนาปรับปรุง ให้มีศักยภาพ เพิ่มทักษะภาวะความเป็นผู้นำาและการ แสดงออกในทางสร้างสรรค์ ผ่านกระบวนการเรียนรู้การ ทำางานเป็นทีม กิจกรรมสันทนาการ เกม เพลงสร้างสรรค์ ตลอดจนสอดแทรกกระบวนการทางจิตวิทยาเพื่อให้รู้คุณค่า ของความเป็นคน เช่น กิจกรรมพันธะสัญญาเพื่อการ เปลี่ยนแปลง กิจกรรมจุดเทียนอุดมการณ์ กิจกรรมรับขวัญ น้อง เป็นต้น ๓. หลัก สูต รเท่า ทัน สัง คม โดยจัดกระบวนการให้ เยาวชนได้คิดวิเคราะห์ เจาะลึกถึงการเปลี่ยนแปลงและผลก ระทบของกระแสสังคม โลกาภิวัตน์ และเทคโนโลยีการ สื่อสาร ผ่านกิจกรรมต่างๆ เช่น กิจกรรมวิเคราะห์การ เปลี่ยนแปลงจากอดีต ถึงปัจจุบัน กิจกรรมวิเคราะห์ผลกระ ทบของเทคโนโลยีการสื่อสาร กิจกรรมวิเคราะห์สื่อ
  • 4. กิจกรรมวิเคราะห์การศึกษา เป็นต้น แล้วเชื่อมโยงทางออก กับการกำาหนดวิถีทางเลือกของตนเองเพื่อให้อยู่ในสังคมได้ อย่างเท่าทันและมีความสุข แต่ละหลักสูตรจะไม่ตายตัวสามารถเปลี่ยนแปลงและ ปรับปรุงได้ตามความเหมาะสม ขึนอยู่กับบริบทพื้นที่ของ ้ ชุมชน เพราะฉะนั้น การจัดการศึกษาของ สถาบันพัฒนา เยาวชนสืบสานภูมิปัญญา จึงเป็น “การศึก ษาเรีย นรู้ผ ่า น กิจ กรรมการปฏิบ ัต ิจ ริง พึ่ง พิง วิถ ีภ ูม ิป ัญ ญา เพื่อ พัฒ นาตนเองและสัง คม ” อย่างแท้จริง เยาวชนที่ผ่าน กระบวนการเรียนรู้สามารถเข้าใจตนเอง เข้าใจสังคม อยู่ใน สังคมได้อย่างเท่าทันและมีความสุข ห้อ งเรีย นที่จ ัด กระบวนการ 1. ห้ อ ง เ รี ย น ชุ ม ช น เรี ย นรู้ เ กี่ ย วกั บ คุ ณ ค่ า ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ใ น ชุ ม ช น เ ช่ น ประวัติ ศ าสตร์ ชุ ม ชน ผู้ รู้ ประเพณี วั ฒนธรรม ความ เชื่อ สภาพเศรษฐกิ จ สั งคม การเมื อ ง ในชุ ม ชน เพื่ อ เชื่อมโยงกับการเรียนรู้กระแสหลัก 2. ห้ อ ง เ รี ย น ช า ว น า เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ กระบวนการ ทำา นาอินทรีย์เชิงวิจัย จากการคัดเมล็ด พันธุ์ ถึงการ เก็บเกี่ยว พร้อมกับเรียนรู้การทำาปุ๋ยอินทรี และปุ๋ยชีวภาพ สูตรต่างๆ 3. ห้อ งเรีย นชีว ิต เรียนรู้เกี่ยวกับความ หลากหลาย เกื้อกูลและความผูกพันระหว่างผู้คนกับ ทรัพยากร ดิน นำ้า ป่า ปลา คน เช่น สู่แนวทางการ รักษา ทรัพยากรบนฐานภูมิปัญญาชาวบ้าน อย่าง ยั่งยืน 4. ห้ อ ง เ รี ย น เ ท่ า ทั น สื่ อ เ รี ย น รู้ เ กี่ ย ว กั บ กระบวนการ คิด วิเคราะห์ เจาะลึกเกี่ยวกับสื่อ เพื่อการ รับรู้ และเข้า ใจสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เหมาะ สม 5. ห้ อ ง เ รี ย น ผู้ น ำา เรี ย นรู้ เพื่ อ ฝึ ก ทั ก ษะภาวะ ผู้ นำา การคิ ด การตั ด สิ น ใจ การแสดงออก สู่ นั ก จั ด กระบวนการเพื่อสังคม ตามทฤษฎี พัฒนาตนเอง เพื่อ
  • 5. พัฒนา สังคม เครื่อ งมือ เทคนิค การจัด กระบวนการ นิทาน เล่นเกม - ผ่านกระบวนการค่าย Camping ๓ วัน ๒ คืน - การเดินสำารวจการเปลี่ยนแปลงและเก็บข้อมูล - ผ่านรูปแบบสนุกสนาน เช่น ร้องเพลง เล่า - management สันทนาการ กลุ่มสัมพันธ์ ผ่านงานศิลปะ เช่น วาดรูป บทกวี สิ่งประดิษฐ์ ผ่านวงคุยธรรมชาติ สุนทรียะสนทนา ผ่านกิจกรรมฐาน “Walk Rally” ผ่านกิจกรรมกลุ่ม “Work Shop” ผ่านการจัดการความรู้ knowledge - ผ่านเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - ผ่านการเรียนรู้ ดูงาน จุด เด่น ของการเรีย นรู้ ของชุมชน กัน กัน - จัดกระบวนการตามบริบทและสอดคล้องกับปัญหา - กำาหนดเป้าหมายและออกแบบการเรียนการสอนร่วม - เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง พึ่งพิงภูมิปัญญา พัฒนาทั้งทักษะชีวิต และจิตวิญญาณ รูปแบบการเรียนรู้สนุกสนาน และมีสาระ ผู้เรียนและผู้สอนมีความผูกพันและเอาใจใส่กันและ - มีหลักสูตรที่ยืดหยุ่นได้ สามารถเปลี่ยนแปลงได้ตาม ความเหมาะสม - เป็นการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับวิถีและชีวิตจริงสามารถ ใช้ได้ในชีวิตประจำาวัน - เรียนรู้ตามความถนัดและความสนใจของแต่ละบุคคล - ไม่มีการแข่งขัน ทุกคนเท่าเทียมกัน - เข้าใจตนเอง เข้าใจสังคม และสามารถปรับตัวเข้า กับการเปลี่ยนแปลงได้
  • 6. เรียนรู้ - ใช้วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เป็นเครื่องมือออกแบบการ เป้า หมายสูง สุด เป็นสถาบันการเรียนรู้ทางเลือกที่จัดกระบวนการ เรียนรู้บนฐานชุมชนโดยเชื่อมโยงทุนทางสังคมเข้ามา มีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาศักยภาพชีวิตเยาวชน ชุมชน ให้ มีคุณภาพและมีทักษะในการดำาเนินชีวิต สามารถรู้เท่า ทันตนเอง เท่าทันสังคม สามารถกำาหนดวิถีตนเองและ ชุมชนได้อย่างเหมาะสม ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ของกระแสสังคม.... ............................................................ ....
  • 7. เรียนรู้ - ใช้วัฒนธรรม ภูมิปัญญา เป็นเครื่องมือออกแบบการ เป้า หมายสูง สุด เป็นสถาบันการเรียนรู้ทางเลือกที่จัดกระบวนการ เรียนรู้บนฐานชุมชนโดยเชื่อมโยงทุนทางสังคมเข้ามา มีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาศักยภาพชีวิตเยาวชน ชุมชน ให้ มีคุณภาพและมีทักษะในการดำาเนินชีวิต สามารถรู้เท่า ทันตนเอง เท่าทันสังคม สามารถกำาหนดวิถีตนเองและ ชุมชนได้อย่างเหมาะสม ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลง ของกระแสสังคม.... ............................................................ ....