SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
โครงงานคอมพวเตอรประเภทการพฒนาโปรแกรมประยกต
                       ิ             ั             ุ
คอมพิวเตอรกราฟกกับการประยุกตใชในงานดานตางๆ
1. คอมพิวเตอรกราฟกกับการออกแบบ
          คอมพิวเตอรกราฟกไดถูกนํามาใชในการออกแบบมาเปนเวลานาน เราคงจะเคยไดยินคําวา CAD
(Computer - Aided Design) ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับชวยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหลานี้จะ
ชวยใหผูออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานตางๆ ไดสะดวกขึ้น กลาวคือ ผูออกแบบสามารถเขียนเปนแบบ
ลายเสนแลวลงสี แสงเงา เพื่อใหดูคลายกับของจริงได นอกจากนี้แลวเมื่อผูออกแบบกําหนดขนาดของวัตถุลง
ในระบบ CAD แลว ผูออกแบบยังสามารถยอหรือขยายภาพนั้น หรือตองการหมุนภาพไปในมุมตางๆ ไดดวย
การแกไขแบบก็ทําไดงายและสะดวกกวาการออกแบบบนกระดาษ
          ทางดานวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการออกแบบวงจรตางๆ
ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใชสัญลักษณตางๆ ที่ระบบจัดเตรียมไวใหแลวมาประกอบกันเปน
วงจรที่ตองการ ผูออกแบบสามารถแกไข ตัดตอ เพิ่มเติมวงจรไดโดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสําหรับ
ออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการใหแผนปรินตมีขนาดที่จะวางอุปกรณทาง
อิเล็กทรอนิกสไดเหมาะสมที่สุด
          การออกแบบพาหนะตางๆ เชน รถยนต เครื่องบิน หรือเครื่องจักรตางๆ ในปจจุบันก็ใช
ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะออกแบบสวนยอยๆ แตละสวนกอน แลวนํามาประกอบกันเปนสวนใหญ
ขึ้นจนเปนเครื่องจักรเครื่องยนตที่ตองการได นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบแบบจําลองที่
ออกแบบไวไดดวย เชน อาจจะออกแบบรถยนตแลวนําโครงสรางของรถที่ออกแบบนั้นมาจําลองการวิ่ง โดยให
วิ่งที่ความเร็วตางๆ กันแลวตรวจดูผลที่ได ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทําไดในระบบคอมพิวเตอรและจะ
ประหยัดกวาการสรางรถจริงๆ แลวนําออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง
          การออกแบบโครงสราง เชน ตึก บาน สะพาน หรือโครงสรางใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ
สถาปตยกรรม ก็สามารถทําไดโดยใช CAD ชวยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสรางใน
แบบ 2 มิติเสร็จแลว ระบบ CAD สามารถจัดการใหเปนภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองตางๆ
กันไดตามที่ผูออกแบบตองการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพใหปรากฏตอผูออกแบบราวกับวา
ผูออกแบบสามารถเดินเขาไปภายในอาคารที่ออกแบบไดดวย
2. กราฟและแผนภาพ
          คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของขอมูลไดเปนอยางดี โปรแกรม
ทางกราฟกทั่วไปในทองตลาดจะเปนโปรแกรมที่ใชในการสรางภาพกราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหลานี้ยัง
สามารถสรางกราฟไดหลายแบบ เชน กราฟเสน กราฟแทง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพ
กราฟไดทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทําใหภาพกราฟที่ไดดูดีและนาสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ
เชน กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และขอมูลทางเศรษฐกิจ จะเปนประโยชนตอผูบริหารหรือผูจัดการ
กิจการมาก เนื่องจากสามารถทําความเขาใจกับขอมูลไดงายและรวดเร็วกวาเดิม ในงานวิจัยตางๆ เชน
การศึกษาทางฟสิกส กราฟและแผนภาพมีสวนชวยใหนักวิจัยทําความเขาใจกับขอมูลไดงายขึ้นเมื่อขอมูลที่ตอง
วิเคราะหมีจํานวนมาก
ระบบขอมูลทางภูมิศาสตร หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เปนรูปแบบหนึ่งของ
การแสดงขอมูลในทํานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ขอมูลทางภูมิศาสตรจะถูกเก็บลงในระบบคอมพิวเตอร
แลวใหระบบคอมพิวเตอรกราฟกจัดการแสดงขอมูลเหลานั้นออกมาทางจอภาพในรูปของแผนที่ทางภูมิศาสตร
3. ภาพศิลปโดยคอมพิวเตอรกราฟก
         การวาดภาพในปจจุบันนี้ใครๆ ก็สามารถวาดไดแลวโดยไมตองใชพูกันกับจานสี แตจะใชคอมพิวเตอร
กราฟกแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอรกราฟกนี้เราสามารถกําหนดสี แสงเงา รูปแบบลายเสนที่ตองการ
ไดโดยงาย ภาพโฆษณาทางโทรทัศนหลายชิ้นก็เปนงานจากการใชคอมพิวเตอรกราฟก ขอดีของการใช
คอมพิวเตอรวาดภาพก็คือ เราสามารถแกไขเพิ่มเติมสวนที่ตองการไดงาย นอกจากนี้เรายังสามารถนําภาพ
ตางๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอรไดโดยใชเครื่องสแกนเนอร (Scanner) แลวนําภาพเหลานั้นมาแกไข
4. ภาพเคลอนไหวโดยใชคอมพวเตอร
            ่ื                ิ
         ภาพยนตรการตูนและภาพยนตประเภทนิยายวิทยาศาสตรหรือภาพยนตรที่ใชเทคนิคพิเศษตางๆ ใน
ปจจุบันมีการนําคอมพิวเตอรกราฟกเขามาชวยในการออกแบบและสรางภาพเคลื่อนไหว (Computer
Animation) มากขึ้น เนื่องจากเปนวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และงายกวาวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ไดยังดูสมจริง
มากขึ้น เชน ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตรประเภทนิยายวิทยาศาสตร เปนตน การใชคอมพิวเตอร
กราฟกชวยใหภาพที่อยูในจินตนาการของมนุษยสามารถนําออกมาทําใหปรากฏเปนจริงได ภาพเคลื่อนไหวมี
ประโยชนมากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัย และการจําลองการทํางาน เชน จําลองการขับรถ การ
ขับเครื่องบิน เปนตน เกมสคอมพิวเตอรหรือวิดีโอเกมสก็ใชหลักการทําภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอรกราฟก
เชนกัน
5. อิเมจโปรเซสซิงก
          คําวาอิเมจโปรเซสซิงก (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการถายรูปหรือจาก
การสแกนภาพใหปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงกจะตางกับวิธีการของ
คอมพิวเตอรกราฟก กลาวคือ ในระบบคอมพิวเตอรกราฟก ตัวคอมพิวเตอรเองจะเปนตัวที่สรางภาพ แตเทค
นิกทางอิเมจโปรเซสซิงกนั้นใชคอมพิวเตอรสําหรับการจัดรูปแบบของสีและแสงเงาที่มีอยูแลวในภาพใหเปน
ขอมูลทางดิจิตอล แลวอาจจะมีวิธีการทําใหภาพที่รับเขามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นกอน จากนั้นก็จัดการกับ
ขอมูลดิจิตอลนี้ใหเปนภาพสงออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอรอีกที วิธีการนี้มีประโยชนในการแสดงภาพของ
วัตถุที่เราไมสามารถจะเห็นไดโดยตรง เชน ภาพถายดาวเทียม ภาพจากทีวีสแกนของหุนยนตอุตสาหกรรม เปน
ตน




          เมื่อภาพถายถูกทําใหเปนขอมูลดิจิตอลแลว เราก็สามารถจะจัดการแกไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นไดโดย
จัดการกับขอมูลดิจิตอลของภาพนั่นเอง ซึ่งเราก็จะใชหลักการของคอมพิวเตอรกราฟกมาใชกับขอมูลเหลานี้ได
เชน ในภาพสําหรับการโฆษณา เราสามารถทําใหภาพที่เห็นเหมือภาพถายนั้นแปลกออกไปจากเดิมไดโดยมี
ภาพบางอยางเพิ่มเขาไปหรือบางสวนของภาพนั้นหายไป ทําใหเกิดภาพที่ไมนาจะเปนจริงแตดูเหมือนกับ
เกิดขึ้นจริงได เปนตน
          เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงกสามารถประยุกตใชกับการแพทยได เชน เครื่องเอกซเรย โทโมกราฟ (X-
ray Tomography)ซึ่งใชสําหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบรางกายมนุษย เปนตน
จากที่กลาวมาแลว เราจะเห็นไดวาคอมพิวเตอรกราฟกนั้นนับวันยิ่งมีความสําคัญในสาขาวิชาตางๆ มากขึ้น
ดังนั้นจึงเปนการดีที่เราควรจะมีความรูความเขาใจในหลักการและทคนิคเบื้องตนตางๆ ที่ใชในคอมพิวเตอร
กราฟก
ที่มา
http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g21m2fri/apply.htm
http://www.mc.ac.th/learning/chaiwbi/project/p111.html
      1. น.ส.กุลธิดา สมนาม ชั้นม.6/8 เลขที่ 11
      2. น.ส.พิมวรีย คําจันทรา ชั้น ม.6/8 เลขที่ 20
      3. น.ส.อัญมณี คันธะวงศ ชั้นม.6/ 8 เลขที่ 26
ใบงานที่ 8

More Related Content

Viewers also liked

ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2
ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2
ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2Anyamanee Kantawong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์sirirat28
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Natcha Audnoon
 

Viewers also liked (10)

ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 77
ใบงานที่ 77ใบงานที่ 77
ใบงานที่ 77
 
ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2
ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2
ขอบข ายและประเภทของโครงงาน2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Kanyarat606
Kanyarat606Kanyarat606
Kanyarat606
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
Math152
Math152Math152
Math152
 
Thai51
Thai51Thai51
Thai51
 

Similar to ใบงานที่ 8

ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1jibbie23
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกjumjim2012
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกวาสนา ใจสุยะ
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicjumjim2012
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7juice1414
 
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1Sodaam AC
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11Panit Jaijareun
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์วาสนา ใจสุยะ
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection MappingJump' Kmutt
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์watnawong
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานmacnetic
 

Similar to ใบงานที่ 8 (20)

ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
ใบงาน7
ใบงาน7ใบงาน7
ใบงาน7
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิกใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
ใบความรู้ที่ 4โปรแกรมสำหรับงานกราฟิก
 
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphicใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
ใบความรู้ หน่วยที่ 1 com graphic
 
ใบงานที่7
ใบงานที่7ใบงานที่7
ใบงานที่7
 
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
การใช้โปรแกรมกราฟิกส์.1
 
ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11ใบงานที่ 6 -11
ใบงานที่ 6 -11
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
ใบความรู้ที่ 1ความหมายของซอฟต์แวร์
 
3D Projection Mapping
3D Projection Mapping3D Projection Mapping
3D Projection Mapping
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Gis
GisGis
Gis
 
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
งาน3
งาน3งาน3
งาน3
 
08
0808
08
 
Mapping
MappingMapping
Mapping
 

More from Anyamanee Kantawong (20)

608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
K17
K17K17
K17
 
K16
K16K16
K16
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
9be68fd865574bbbc9ae2d12d08fe6e8
9be68fd865574bbbc9ae2d12d08fe6e89be68fd865574bbbc9ae2d12d08fe6e8
9be68fd865574bbbc9ae2d12d08fe6e8
 
Gat1
Gat1Gat1
Gat1
 
Brand s+summer+camp+2011_biology
Brand  s+summer+camp+2011_biologyBrand  s+summer+camp+2011_biology
Brand s+summer+camp+2011_biology
 
Vocab krusomsri
Vocab krusomsriVocab krusomsri
Vocab krusomsri
 
Vocabulary
VocabularyVocabulary
Vocabulary
 
Pat2
Pat2Pat2
Pat2
 
Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com Calculus www.clipvidva.com
Calculus www.clipvidva.com
 
1
11
1
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 

ใบงานที่ 8

  • 1. โครงงานคอมพวเตอรประเภทการพฒนาโปรแกรมประยกต ิ  ั ุ คอมพิวเตอรกราฟกกับการประยุกตใชในงานดานตางๆ 1. คอมพิวเตอรกราฟกกับการออกแบบ คอมพิวเตอรกราฟกไดถูกนํามาใชในการออกแบบมาเปนเวลานาน เราคงจะเคยไดยินคําวา CAD (Computer - Aided Design) ซึ่งเปนโปรแกรมสําหรับชวยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหลานี้จะ ชวยใหผูออกแบบหรือวิศวกรออกแบบงานตางๆ ไดสะดวกขึ้น กลาวคือ ผูออกแบบสามารถเขียนเปนแบบ ลายเสนแลวลงสี แสงเงา เพื่อใหดูคลายกับของจริงได นอกจากนี้แลวเมื่อผูออกแบบกําหนดขนาดของวัตถุลง ในระบบ CAD แลว ผูออกแบบยังสามารถยอหรือขยายภาพนั้น หรือตองการหมุนภาพไปในมุมตางๆ ไดดวย การแกไขแบบก็ทําไดงายและสะดวกกวาการออกแบบบนกระดาษ ทางดานวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการออกแบบวงจรตางๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพโดยใชสัญลักษณตางๆ ที่ระบบจัดเตรียมไวใหแลวมาประกอบกันเปน วงจรที่ตองการ ผูออกแบบสามารถแกไข ตัดตอ เพิ่มเติมวงจรไดโดยสะดวก นอกจากนี้ยังมีโปรแกรมสําหรับ ออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมีความสามารถจัดการใหแผนปรินตมีขนาดที่จะวางอุปกรณทาง อิเล็กทรอนิกสไดเหมาะสมที่สุด การออกแบบพาหนะตางๆ เชน รถยนต เครื่องบิน หรือเครื่องจักรตางๆ ในปจจุบันก็ใช ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะออกแบบสวนยอยๆ แตละสวนกอน แลวนํามาประกอบกันเปนสวนใหญ ขึ้นจนเปนเครื่องจักรเครื่องยนตที่ตองการได นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบแบบจําลองที่ ออกแบบไวไดดวย เชน อาจจะออกแบบรถยนตแลวนําโครงสรางของรถที่ออกแบบนั้นมาจําลองการวิ่ง โดยให วิ่งที่ความเร็วตางๆ กันแลวตรวจดูผลที่ได ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทําไดในระบบคอมพิวเตอรและจะ ประหยัดกวาการสรางรถจริงๆ แลวนําออกมาศึกษาทดสอบการวิ่ง การออกแบบโครงสราง เชน ตึก บาน สะพาน หรือโครงสรางใดๆ ทางวิศวกรรมโยธาและ สถาปตยกรรม ก็สามารถทําไดโดยใช CAD ชวยในการออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสรางใน แบบ 2 มิติเสร็จแลว ระบบ CAD สามารถจัดการใหเปนภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่มุมมองตางๆ กันไดตามที่ผูออกแบบตองการ นอกจากนี้ในบางระบบสามารถแสดงภาพใหปรากฏตอผูออกแบบราวกับวา ผูออกแบบสามารถเดินเขาไปภายในอาคารที่ออกแบบไดดวย 2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอรกราฟกถูกนํามาใชในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของขอมูลไดเปนอยางดี โปรแกรม ทางกราฟกทั่วไปในทองตลาดจะเปนโปรแกรมที่ใชในการสรางภาพกราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหลานี้ยัง สามารถสรางกราฟไดหลายแบบ เชน กราฟเสน กราฟแทง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยังสามารถแสดงภาพ กราฟไดทั้งในรูปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทําใหภาพกราฟที่ไดดูดีและนาสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เชน กราฟหรือแผนภาพแสดงการเงิน สถิติ และขอมูลทางเศรษฐกิจ จะเปนประโยชนตอผูบริหารหรือผูจัดการ กิจการมาก เนื่องจากสามารถทําความเขาใจกับขอมูลไดงายและรวดเร็วกวาเดิม ในงานวิจัยตางๆ เชน การศึกษาทางฟสิกส กราฟและแผนภาพมีสวนชวยใหนักวิจัยทําความเขาใจกับขอมูลไดงายขึ้นเมื่อขอมูลที่ตอง วิเคราะหมีจํานวนมาก
  • 2. ระบบขอมูลทางภูมิศาสตร หรือ GIS (Geographical Information System) ก็เปนรูปแบบหนึ่งของ การแสดงขอมูลในทํานองเดียวกับกราฟและแผนภาพ ขอมูลทางภูมิศาสตรจะถูกเก็บลงในระบบคอมพิวเตอร แลวใหระบบคอมพิวเตอรกราฟกจัดการแสดงขอมูลเหลานั้นออกมาทางจอภาพในรูปของแผนที่ทางภูมิศาสตร 3. ภาพศิลปโดยคอมพิวเตอรกราฟก การวาดภาพในปจจุบันนี้ใครๆ ก็สามารถวาดไดแลวโดยไมตองใชพูกันกับจานสี แตจะใชคอมพิวเตอร กราฟกแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอรกราฟกนี้เราสามารถกําหนดสี แสงเงา รูปแบบลายเสนที่ตองการ ไดโดยงาย ภาพโฆษณาทางโทรทัศนหลายชิ้นก็เปนงานจากการใชคอมพิวเตอรกราฟก ขอดีของการใช คอมพิวเตอรวาดภาพก็คือ เราสามารถแกไขเพิ่มเติมสวนที่ตองการไดงาย นอกจากนี้เรายังสามารถนําภาพ ตางๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอรไดโดยใชเครื่องสแกนเนอร (Scanner) แลวนําภาพเหลานั้นมาแกไข 4. ภาพเคลอนไหวโดยใชคอมพวเตอร ่ื  ิ ภาพยนตรการตูนและภาพยนตประเภทนิยายวิทยาศาสตรหรือภาพยนตรที่ใชเทคนิคพิเศษตางๆ ใน ปจจุบันมีการนําคอมพิวเตอรกราฟกเขามาชวยในการออกแบบและสรางภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเปนวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และงายกวาวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ไดยังดูสมจริง มากขึ้น เชน ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตรประเภทนิยายวิทยาศาสตร เปนตน การใชคอมพิวเตอร กราฟกชวยใหภาพที่อยูในจินตนาการของมนุษยสามารถนําออกมาทําใหปรากฏเปนจริงได ภาพเคลื่อนไหวมี ประโยชนมากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจัย และการจําลองการทํางาน เชน จําลองการขับรถ การ ขับเครื่องบิน เปนตน เกมสคอมพิวเตอรหรือวิดีโอเกมสก็ใชหลักการทําภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอรกราฟก เชนกัน
  • 3. 5. อิเมจโปรเซสซิงก คําวาอิเมจโปรเซสซิงก (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิดจากการถายรูปหรือจาก การสแกนภาพใหปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงกจะตางกับวิธีการของ คอมพิวเตอรกราฟก กลาวคือ ในระบบคอมพิวเตอรกราฟก ตัวคอมพิวเตอรเองจะเปนตัวที่สรางภาพ แตเทค นิกทางอิเมจโปรเซสซิงกนั้นใชคอมพิวเตอรสําหรับการจัดรูปแบบของสีและแสงเงาที่มีอยูแลวในภาพใหเปน ขอมูลทางดิจิตอล แลวอาจจะมีวิธีการทําใหภาพที่รับเขามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นกอน จากนั้นก็จัดการกับ ขอมูลดิจิตอลนี้ใหเปนภาพสงออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอรอีกที วิธีการนี้มีประโยชนในการแสดงภาพของ วัตถุที่เราไมสามารถจะเห็นไดโดยตรง เชน ภาพถายดาวเทียม ภาพจากทีวีสแกนของหุนยนตอุตสาหกรรม เปน ตน เมื่อภาพถายถูกทําใหเปนขอมูลดิจิตอลแลว เราก็สามารถจะจัดการแกไขเปลี่ยนแปลงภาพนั้นไดโดย จัดการกับขอมูลดิจิตอลของภาพนั่นเอง ซึ่งเราก็จะใชหลักการของคอมพิวเตอรกราฟกมาใชกับขอมูลเหลานี้ได เชน ในภาพสําหรับการโฆษณา เราสามารถทําใหภาพที่เห็นเหมือภาพถายนั้นแปลกออกไปจากเดิมไดโดยมี ภาพบางอยางเพิ่มเขาไปหรือบางสวนของภาพนั้นหายไป ทําใหเกิดภาพที่ไมนาจะเปนจริงแตดูเหมือนกับ เกิดขึ้นจริงได เปนตน เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงกสามารถประยุกตใชกับการแพทยได เชน เครื่องเอกซเรย โทโมกราฟ (X- ray Tomography)ซึ่งใชสําหรับแสดงภาพตัดขวางของระบบรางกายมนุษย เปนตน จากที่กลาวมาแลว เราจะเห็นไดวาคอมพิวเตอรกราฟกนั้นนับวันยิ่งมีความสําคัญในสาขาวิชาตางๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเปนการดีที่เราควรจะมีความรูความเขาใจในหลักการและทคนิคเบื้องตนตางๆ ที่ใชในคอมพิวเตอร กราฟก ที่มา http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g21m2fri/apply.htm http://www.mc.ac.th/learning/chaiwbi/project/p111.html 1. น.ส.กุลธิดา สมนาม ชั้นม.6/8 เลขที่ 11 2. น.ส.พิมวรีย คําจันทรา ชั้น ม.6/8 เลขที่ 20 3. น.ส.อัญมณี คันธะวงศ ชั้นม.6/ 8 เลขที่ 26