SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
ศูนย์ การสงครามทางอากาศกองบัญชาการยุทธทางอากาศ

การพัฒนาหลักการรบในอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย
Russian Air Force: The Development of the Principles of Air Combat

AVIATSIYALI I KOSMONAVTIKA
By
Lt Col Yu Kislyakov and Col V. Babich

แปลและเรียบเรียงจากต้ นฉบับภาษาอังกฤษ
โดย
นาวาอากาศเอก วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
นายทหารหลักนิยม
ศูนย์การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
๒

คานา
กองทัพอากาศได้ ให้ ความสาคัญในการพัฒนาขีดความสามารถด้ านกาลังทางอากาศ โดยมี
แผนการจัดหาอากาศยานและระบบอาวุธ ที่ทนสมัย มาทดแทนอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีอยู่ และกาลังจะ
ั
หมดอายุลง นอกจากนี ้ยังได้ ปรับปรุงสมรรถนะของอากาศยานที่ประจาการอยูอย่างต่อเนื่อง อย่างไร
่
ก็ตาม การศึกษาในเรื่ องหลักนิยมและหลักการรบในอากาศ จะทาให้ นบ .เข้ าใจถึงหัวใจของการใช้
กาลังทางอากาศและสามารถนาเอาขีดความสามารถของอากาศยานและอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีอยูไป
่
ใช้ ได้ อย่างถูกต้ องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
ในด้ านการให้ ความรู้แก่บคลากร ปั จจุบน ทอ .มุ่งเน้ นการศึกษาด้ านเทคโนโลยีและยุทธวิธี
ุ
ั
ตามแนวทางของสหรัฐอเมริกาเป็ นหลัก ส่วนการศึกษายุทธวิธีและแนวนิยมของฝ่ ายรัสเซียนันยังมี
้
น้ อยมาก สาเหตุประการหนึงเนื่องมาจากการขาดแคลนข้ อมูลในทางลึกของฝ่ ายรัสเซีย ดังนัน
่
้
การศึกษาถึงขีดความสามารถและหลักการรบทางอากาศของฝ่ ายรัสเซียซึงมีความแตกต่างจาก
่
แนวทางของสหรัฐ ฯ จึงน่าจะเป็ นประโยชน์อย่างยิงต่อการนามาศึกษาเพื่อพัฒนาแนวความคิดด้ าน
่
การใช้ กาลังทางอากาศของ ทอ.
การรวบรวมข้ อมูลหลักการรบทางอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย นี ้ จะใช้ ข้อมูลทุติยภูมิ
(Secondary Sources) ตามแนวทางการศึกษาของ USAF Air University, the Finish Society of
Military Sciences and the Royal Swedish Academy of War Science, Lockheed Fort Worth
Company, Tactical Research Center of Finland และ Scramble Dutch Aviation Society เป็ น
หลัก เนื่องจากข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) ต้ นฉบับเป็ นภาษารัสเซียทังหมด
้
กระผมหวังว่าบทความเรื่ อง “การพัฒนา หลักการรบ ในอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย
Russian Air Force: The Development of the Principles of Air Combat” นี ้ จะเป็ นประโยชน์ ใน
การที่จะช่วย การกระตุ้นความคิดสร้ างสรรค์ของนักบินรบ ทอ. ให้ สรรสร้ างนวัตกรรมทาง
แนวความคิดที่จะแสวงหายุทธวิธีการบินรบในอากาศที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของตน และได้ ค้นพบ
“ความเป็ นตัวเอง” ดังเช่นกองทัพอากาศสากลต่าง ๆ ที่ได้ คิด บันทึก ถ่ายทอดและปฏิบติสืบต่อมา
ั
นาวาอากาศเอก วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
นายทหารหลักนิยม
ศูนย์การสงครามทางอากาศ
กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
๓

การพัฒนาหลักการรบในอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย
Russian Air Force: The Development of the Principles of Air Combat

-----------------------------------------------------------๑. การพัฒนาหลักนิยมทางอากาศของโซเวียต
ในช่วงต้ นปี คริสตศักราช ๑๙๔๗ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการวิเคราะห์ยทธวิธีแบบอเมริกนชาวโซ
ุ
ั
เวียต ชื่อ Polkovnik Babich ได้ ทาการวิเคราะห์ภารกิจและการประยุกต์ใช้ กาลังทางอากาศใน
สงครามสมัยใหม่ ซึงจุดประกายให้ เกิดคาถามและการโต้ แย้ งในเรื่ องของยุทธวิธีการรบทางอากาศให้
่
เกิดชัยชนะเป็ นอย่างสูง Babich ใช้ เวลาวิเคราะห์ถึงยุทธวิธีที่เหมาะสมต่าง ๆ อยู่ ๓ ปี การวิเคราะห์
ของเขาเสร็จสิ ้นลงในปี ๑๙๗๗ โดยได้นายุทธวิ ธีเหล่านีขึ้นทาการบิ นทดสอบ ด้ วย ความสาเร็จจาก
้
การวิเคราะห์ในครังนัน ทาให้ การพัฒนากาลังทางอากาศในยุคต่อมาของโซเวียตยึดถือเอานวัตกรรม
้ ้
ทางด้ านยุทธวิธีและหลักนิยมเป็ นหลักในการพัฒนา ต่อมาในปี ๑๙๗๘ เกิดการชักนาให้ มีการ
ดาเนินการเปลี่ยนแปลงนโยบายยุทธศ่าสตร์ การปองกันของโซเวียต โดยเชื่อว่าถึงเวลาแล้ วที่โซเวียต
้
จะต้ องปรับเปลี่ยนหลักนิยมและยุทธวิธีในทุกระดับ ตังแต่ระบบการจัดอากาศยาน ฝูงบิน ไปจนถึง
้
กาลังพล ก่อให้ เกิดการปรับปรุงอากาศยานครังใหญ่รวมไปถึง การพัฒนายุทธวิธีการรบทาง
้
อากาศตามหลักนิยมด้ วยการฝึ กฝน การทดลองบินและการประเมินผล Mashal Sokolovskiy
เอกสารอ้ างอิง
Lt Gen Heikki Nikunen, The Current State of The Russian Air Force, USAF Air University, update 28 Nov 2001
Lt Gen Heikki Nikunen, Air Defence in Northern Europe, the Finish Society of Military Sciences and the Royal Swedish Academy
of War Science
Dick Pawloski, Changes in Threat Air Combat Doctrine and Air Force Structure for the Air Forces of the America, Lockheed
Fort Worth Company
Scramble Dutch Aviation Society, Russian Air Arms, www.scramble.nl/mil/2/russia/main.htm, 8/11/2547
บทความนี ้อ้ างอิงถึงเอกสารต้ นฉบับประกอบปี ค.ศ.๑๙๔๗ ซึงในขณะนันรัสเซียดารงสถานะเป็ นสหภาพโดยใช้ คาเรี ยกแทนโดยรวมว่า “โซเวียต” มาจากThe Union of
่
้
Soviet Socialist Republics (USSR)
๔

กล่าวว่า “ในอนาคตข้างหน้า นักบิ นรบจะเป็ นผูเ้ ล่นบทบาทชี ้ขาดในการป้ องกันทางอากาศแก่
ดิ นแดนบ้านเกิดของเรา ” ส่วน Gen-Maj Levitskiy กล่าวเช่นกันว่า “นักบิ นรบมิ ใช่จะเพียงบิ น
ลาดตระเวนในพืนทีอย่างไร้เป้ าหมาย แต่ต้องค้นหาข้าศึกอย่างกระเหียนกระหือ เข้าโจมตี และยิง
้ ่
้
ข้าศึกให้ร่วง ทุกคนจะต้องดิ้ นรนเพือริ เริ่ มในการไล่ให้ข้าศึกต้องป้ องกันตัวเอง และทีสาคัญทีสดคื อ
่
่
่ ุ
จะต้องยิงข้าศึกให้ได้ใน pass แรก” นอกจากนี ้ Marshal of Aviation Skorikov เสริมว่า “ในปั จจุบน
ั
การให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่งการครองอากาศจะเป็ นสภาวะการณ์เด็ดขาดในการเอาชนะทังในการสูรบ
้
้
และการสงครามในภาพรวม”
๒. การปฏิวัติแนวความคิดและนวัตกรรมของ Babich
๒.๑ การรบทางอากาศจะไม่เป็ นเพียงกิจกรรมในการปองกันอีกต่อไป ในทางตรงกันข้ าม การ
้
รบทางอากาศจะเป็ นส่วนสาคัญที่สานในระบบการผนึกกาลังร่วมเพื่อการรุกอย่างสมบูรณ์ ทังนี ้รวม
้
ไปถึงการทะลวงเจาะพื ้นที่ การดาเนินความคืบหน้ าในการรบ ไปจนถึงการกาหนดยุทธวิธีในการรบ
โดยมีปัจจัยประกอบคือ
๒.๑.๑ พื ้นที่การรบในอากาศจะขยายขอบเขตจากพื ้นที่ฝ่ายเดียวกันลึกเข้ าไปใน
ดินแดนของข้ าศึก ในขณะเดียวกัน จะต้ องรักษาพื ้นที่กนชนและพื ้นที่ฝ่ายเราที่อยูในระยะโจมตีทาง
ั
่
อากาศจากฝ่ ายข้ าศึกด้ วย
๒.๑.๒ นักบินรบของโซเวียตจะต้ องคาดหมายพื ้นที่การรบทางอากาศที่ข้าศึกจะเข้ ามา
ณ ตาแหน่งและเวลาอันถูกต้ อง รวมทังจะต้ องสร้ างความกร้ าวแกร่งที่จะต้ องต่อสู้และขับไล่ข้าศึกแม้
้
อยูในสภาวการณ์ที่ไม่สมบูรณ์พร้ อม
่
๒.๒ การรบในอากาศจะมิใช่หน้ าที่ของนักบินขับไล่สกัดกันแต่เพียงฝ่ ายเดียว แต่จะเป็ น
้
บทบาทรองสาหรับนักบินขับไล่ทิ ้งระเบิดที่จะต้ องมีขีดความสามารถในการต่อกรกับเครื่ องบินสกัดกัน
้
จากฝ่ ายตรงข้ ามไม่ว่าจะเกิดสถานการณ์นนหรื อไม่ก็ตาม
ั้
๒.๓ สมรรถนะของอากาศยานจะต้ องมีขีดความสามารถสูงสุดโดยเฉพาะอย่างยิงที่ระดับ
่
ความสูงต่า ตลอด ๓๐ ปี ของการพัฒนาอากาศยานเพื่อให้ บรรลุถึงความเร็วสูงสุด ณ ระยะสูง
ปฏิบติการ ไม่เพียงพอต่อความจริงในการปฏิบติการรบทางอากาศที่ระยะสูงต่าซึงต้ องการขีด
ั
ั
่
ความสามารถในการบังคับเครื่ องบินอย่างต่อเนื่อง
ข้ อคิดเห็นทางด้ านสมรรถนะอากาศยานประกอบไปด้ วย
๒.๓.๑ คุณภาพด้ านการมองเห็นและการควบคุมอากาศยานของนักบินถือเป็ นสิ่ง
สาคัญประการแรก
๕

๒.๓.๒ ความเร็วสูงสุดมิ ใช่กญแจแห่งชัยชนะ การที่จะต้ องบินเพื่อให้ ได้ ระยะสูง
ุ
เหมาะสมสูงสุดต่อการบังคับเครื่ องบินจะมิใช่จดสุดท้ ายที่ต้องการอีกต่อไป แต่คณภาพในการบินรบ
ุ
ุ
ที่ระยะสูงต่าจะเป็ นกุญแจในการสร้ างความฉงน (Surprise) และการเอาตัวรอด (Survivability) มุม
ขวาบนสุดของ Energy Maneuverability Diagrams คือจุดสาคัญที่จะให้ ความเป็ นความตายแก่
นักบิน
๒.๓.๓ ประเด็นสาคัญท้ ายสุดสาหรับนักบินที่ต้องพิจารณานอกเหนือจากสภาวะ
แวดล้ อมด้ านการบัญชาการและควบคุม คือ การปฏิบติการในรูปแบบของ Countermeasures, การ
ั
ขยายความลึกของการรบเข้ าไปในดินแดนของข้ าศึก รวมไปถึงยุทธวิธีการรบของข้ าศึก ทังยุทธวิธีที่
้
ฝ่ ายเราคาดหมายเอาไว้ และรูปแบบที่อาจเกิดขึ ้นโดยเรามิได้ เตรี ยมการวางแผนไว้
๓. การพัฒนาหลักการรบทางอากาศ
Lt Col Yu Kislyakov และ Col V. Babich ได้ เขียนไว้ ในหนังสือชุดชื่อ AVIATSIYALI I
KOSMONAVTIKA กล่าวถึงหลักการรบทางอากาศของโซเวียต ๔ ประการ คือ
๑. หลักความกร้ าวแกร่ง (Aggressiveness)
๒. หลักการจู่โจม (Surprise)
๓. หลักอานาจการยิงและหลักการดาเนินกลยุทธ (Firepower and Maneuver)
๔. หลักความสมบูรณ์ในการปฏิบติยทธวิธี (Perfection in the Execution of Tactics)
ั ุ

Soviet Air Combat Doctrine must put these all together.
๖

หลักความกร้ าวแกร่ ง (Aggressiveness)
หลักความกร้ าวแกร่งหรื อ หลักความมุ่งมันในการรบ (Combat Assertiveness) นี ้ มุ่งเน้ นให้
่
นักบินรบมีความมุ่งมันที่จะต้ องเอาชนะศึกอย่างทะลวงไปข้ างหน้ าด้ วยอานาจการยิงด้ านหน้ า จาก
่
ความเชื่อที่ว่าการเป็ นฝ่ ายรับที่ดีที่สดคือการบินตรงเข้ าหาข้ าศึกและจู่โจมอย่างไม่ถอยหนี ไม่มีการ
ุ
ยอมแพ้ ยกธงขาว สิ่งโน้ มน้ าวสาหรับผลของการเป็ นนักบินที่มีความกร้ าวแกร่งก็คือ การได้ รับ
มอบหมายให้ ได้ ขึ ้นสู่ตาแหน่งหน้ าที่สาคัญด้ านการรบในกองทัพ
หลักการจู่โจม (Surprise)
หลักการจู่โจมที่อธิบายไว้ ใน AVIATSIYALI I KOSMONAVTIKA นี ้ จะแตกต่างจากหลักการ
จู่โจมที่อธิบายไว้ ในโลกตะวันตกที่ให้ ความหมายไว้ ว่า “การจู่โจมคื อ การใช้กาลังทางอากาศเข้าโจมตี
อย่างมิ ให้ฝ่ายข้าศึกตังตัว “ AVIATSIYALI I KOSMONAVTIKA ได้ อธิบายถึงวิธีการพื ้น ๆ จาก
้
ประสบการณ์ที่ประสบความสาเร็จและความเป็ นจริงแก่นกบินรบเพียงเท่านัน ยุทธวิธีจ่โจมสาหรับ
ั
้
ู
การรบทางอากาศที่สร้ างความสับสน ฉงนสนเท่ห์ให้ แก่ข้าศึกมีหลักการที่อธิบายง่าย ๆ ดังนี ้ คือ “จง
อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์กบข้าศึก ” “ยามย่ารุ่งและย่าค่าให้แอบอยู่ในเงาพืนและเงาเมฆ ” “อย่าอยู่ใน
ั
้
หมอกและหมอกแดด เพราะจะไม่เห็นข้าศึก ” “อย่ามุ่งค้นหาข้าศึกทีอยู่ใกล้ทีสด เพราะอันตรายที ่
่
่ ุ
แท้จริ งมาจากทีไกล” “อ่านความคิ ดของผมแล้วผมจะคาดหมายความคิ ดของคุณ และบอกผมเท่าที ่
่
จาเป็ นยิ่งยวดเท่านัน” “จงใช้กลยุทธการลวง การโจมตี สลับข้าง การสร้างกับดักจากการประสานหมู่
้
บิ น การรบกวนการติ ดต่อสือสาร การหลอกด้วยเรดาร์ Terrain Masking”
่
หลักอานาจการยิงและหลักการดาเนินกลยุทธ (Firepower and Maneuver)
หลักอานาจการยิงและหลักการดาเนินกลยุทธ เป็ นหลักการที่ผนวกเอาการวิเคราะห์และ
ความเชื่อเข้ าด้ วยกันอย่างลงตัว ความเห็นของหลักการนี ้ประกอบด้ วย
๑. การบินรบพัวพันอย่างใกล้ ชิดย่อมมีกฎเกณฑ์ในตัวของมันเอง
๒. จะมีความสมดุลย์ระหว่างการดาเนินกลยุทธและอานาจการยิงอยูจดหนึงที่นกบินสามารถ
ุ่ ่ ั
เอื ้ออานวยยุทธวิธีการรบให้ แก่กนและกันได้
ั
๓. บีบบังคับให้ ข้าศึกสู้ในแนวทางที่ฝ่ายเราเป็ นผู้เลือก
๔. ประสานหมู่บินด้ วยเครื่ องบินรบหลากหลายรูปแบบ จัดรูปแบบและระยะของหมู่บินทัง้
แนวนอนและแนวดิ่ง เพื่อสร้ างความยุงยากแก่ข้าศึกที่จะเลือกรูปแบบเข้ าต่อสู้
่
๗

๕. การใช้ ประโยชน์จากการจัดรูปหมู่และกลยุทธในแนวดิ่งจะต้ องเริ่มตังแต่ขนตอนการเข้ าหา
้ ั้
(Approach Phase) ใช้ ดวงอาทิตย์เป็ นฉากและกลยุทธการลวงเรดาร์
๖. จาไว้ ว่า ๗๕ เปอร์ เซ็นต์ ของการถูกยิงตกมาจากการไม่ สามารถพิสูจน์ ทราบฝ่ าย
ตรงข้ ามได้ ก่อนล่ วงหน้ า และในการบินสู้รบแบบพัวพัน ๘๐ – ๘๕ เปอร์ เซ็นต์ ที่ถกยิงตกมา
ู
จากการต่ อสู้ด้วยท่ าทางตั้งและ Unobserved Shot จากเครื่ องที่มิได้ ส้ ูรบด้ วย
๗. การต่อสู้กบ Beyond Visual Range Missile จงระลึกไว้ ว่า
ั
๗.๑ ยังมีเครื่ องบินของข้ าศึกลาอื่น ๆ ที่กาลังเคลื่อนใกล้ เข้ ามา มิใช่มีเพียงเฉพาะ
เครื่ องบินข้ าศึกที่กาลัง Lock-on เปาหมายฝ่ ายเราอยู่
้
๗.๒ Time of Flight ของ BVR Missile จากเครื่ องบินข้ าศึกมายังเปาหมายฝ่ ายเรา
้
ยังคงเป็ นประโยชน์ต่อการดาเนินกลยุทธของฝ่ ายเรา หมู่บินใน Elements ต่าง ๆ ยังสามารถตอบโต้
ฝ่ ายตรงข้ ามได้ โดยไม่ต้องหยุดชะงักหรื อรังรอ นอกจากนี ้กระบวนการในการเลือกกลุ่มเปาหมายยัง
้
้
ก่อให้ เกิดการหน่วงของเวลาจนทาให้ ทกฝ่ ายสามารถเข้ าสู่ระยะยิงของตนได้
ุ
๗.๓ ยังมีข้อจาเป็ นนานับประการในการใช้ อาวุธแบบ BVR เมื่อใดก็ตามที่นกบินไม่
ั
สามารถใช้ อาวุธ BVR ได้ นันหมายความว่าขันตอนของการ Dog Fight จะเกิดขึ ้นตามมา
่
้
๘. การเข้ าต่อสู้ในทิศทางเดียวต่อข้ าศึกที่เป็ นกลุ่มใหญ่เป็ นอันตรายและจากัดการวางแผน
กระบวนหมู่บินรบของฝ่ ายตนเอง
๙. การจัดกระบวนหมู่บินรบจากหลายทิศทางมีความจาเป็ น มีคาแนะนาให้ เข้ าโจมตีอย่าง
น้ อยไม่ต่ากว่า ๒ ทิศทาง
๑๐. หากข้ าศึกมีกาลังที่เหนือกว่ามาก มีคาแนะนาให้ โจมตีหมู่บินใดหมู่บินหนึงของข้ าศึก
่
อย่างต่อเนื่องเพียงหมู่เดียวในหลายทิศทาง
๑๑. การปองกันการรบกวนจาก Fighter Sweep ฝ่ ายข้ าศึก การจัดหมู่บินของเครื่ องบินขับไล่
้
สกัดกันฝ่ ายเราที่แบ่งพื ้นที่รับผิดชอบไว้ จะต้ องวางแผนให้ สามารถ Cover ซึงกันและกันด้ วย
้
่
หลักความสมบูรณ์ ในความสาเร็จของการใช้ ยุทธวิธี (Perfection in the Execution of Tactics)
การนาเอายุทธวิธีไปปฏิบติให้ ประสบผลสาเร็จถือเป็ นหลักของการรบทางอากาศที่ต้องนาไป
ั
ปฏิบติให้ เกิดเป็ นรูปธรรมมากที่สด นันคือการได้ รับชัยชนะต่อคู่ต่อสู้ แนวความคิดของหลักการนี ้
ั
ุ ่
ประกอบไปด้ วย
๑. ความต้ องการด้ านการฝึ กนักบินที่สมบูรณ์แบบและ “การพัฒนายุทธวิธีอย่ างตลอด
กาล (Perpetual Improvement of Tactics)” เพื่อปรับแปลงยุทธวิธีการบินรบทางอากาศให้ พฒนา
ั
ถึงขีดสุด เท่าทันต่ออาวุธยุทโธปกรณ์และรูปแบบของอากาศยานที่กาลังก้ าวหน้ าไป
๘

๒. การพัฒนายุทธวิธีให้ ทนต่อกาลสมัยมีความจาเป็ นอย่างยิงยวด การพัฒนาความคิดอัน
ั
่
ชาญฉลาด การมีความคิดริเริ่มและความคิดสร้ างสรรค์จะเป็ นตัวสร้ างกลยุทธใหม่ ๆ เพื่อการเอาชนะ
ขึ ้นมาได้ ยุทธวิธีที่คิดค้ นขึ ้นใหม่นี ้ เมื่อนามาทาการบินทดสอบให้ เห็นจุดสาเร็จและจุดบกพร่องแล้ ว
จะสามารถนาไปปรับปรุง แก้ ไข พัฒนา บันทึกไว้ เป็ นคู่มือ แล้ วนาไปปฏิบติใช้ ในการสู้รบจริง
ั
๓. นักบินรบทางอากาศที่ดีจะต้ องหมันศึกษาบทเรี ยนจากการรบทางอากาศในอดีตอย่าง
่
สม่าเสมอ การศึกษายุทธวิธีการรบทางอากาศไม่ว่าใหม่หรื อเก่า ย่อมทาให้ ผ้ ศึกษาค้ นคว้ าเกิดความ
ู
ชานาญและรู้เท่าทันกลยุทธที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความรู้ความชานาญเหล่านี ้จะออกมาในรูป
ของการตัดสินใจเพื่อปฏิบติในอากาศอย่างทันท่วงทีโดยอัตโนมัติ
ั
๔. ขณะบินรบในอากาศ นักบินจะต้ องหมันตรวจสอบ “สถานะ (Status)” ของตนเองอยูเ่ สมอ
่
เช่น ระดับแนวโน้ มของพลังงาน (Potential Energy) ที่ตนเองมีอยูก่อนทาการรบ (ความเร็ว , ระยะสูง ,
่
สมรรถนะของอากาศยาน) ระบบอาวุธและเทคนิคในการใช้ งาน นามันเชื ้อเพลิง เวลาสัมพัทธ์ระหว่าง
ความเร็วของเครื่ องบินข้ าศึกและฝ่ ายเรา เป็ นต้ น
๕. ระมัดระวังในการแผ่สญญาณต่าง ๆ ออกจากตัวเครื่ องบินรบฝ่ ายเรา อาจจาเป็ นถึงจากัด
ั
การใช้ อปกรณ์เรดาร์ ตรวจจับในอากาศในพื ้นที่ที่เราสามารถรักษาการจู่โจม (Surprise) ได้
ุ
นอกจากนี ้ ยังมีประเด็นที่จะต้ องนาไปพิจารณาเพื่อให้ การรบในอากาศประสบผลสาเร็จดังนี ้
๑. การใช้ การลวง การรักษาความปลอดภัยด้ านการติดต่อสื่อสารและการควบคุมการแผ่
สัญญาณต่าง ๆ ในอากาศคือความจาเป็ นอย่างยิงในการให้ ได้ มาซึงความสาเร็จ
่
่
๒. ข้ อมูลทางสถิติที่สาคัญซึงได้ มาจากบทเรี ยนการรบทางอากาศอันเป็ นสิ่งที่นกบินรบทุกคน
่
ั
ควรรู้และควรนาไปพิจารณาในการกาหนดยุทธวิธีในการบินรบ คือ
๒.๑ การถูกยิงโดยไม่ สังเกต (Unobserved Shots) จากข้ าศึก ๘๐ – ๘๕ เปอร์ เซ็น
เป็ นการถูกยิงในขณะที่นักบินอยู่ในระหว่ างการบินโดยใช้ ท่าทางตั้ง (Vertical Maneuvering)
๒.๒ มีเพียง ๑๐ – ๑๕ เปอร์ เซ็นเท่ านั้นที่ถูกยิงโดยไม่ สังเกตจากข้ าศึกในขณะที่
นักบินอยู่ในระหว่ างการบินท่ าทางระดับ (Horizontal Maneuvering)
๓. การใช้ ยทธวิธีการเข้ าโจมตีจากหลายทิศทางมีความสาคัญเป็ นอย่างมากที่จะทาให้ การรบ
ุ
ทางอากาศประสบผลสาเร็จ ทังนี ้จะต้ องพิจารณาถึงรูปแบบของกระบวนหมู่บินฝ่ ายข้ าศึกว่าจัดใน
้
รูปแบบใด ซึงอาจแบ่งได้ เป็ น ๒ แนวทางหลัก ๆ คือ การจัดรูปกระบวนหมู่บินในแนวลึกทางระดับ
่
(Extended in Depth) และการจัดรูปกระบวนหมู่บินในทางตัง (Covering Formation) การโจมตี
้
หลายทิศทางนี ้ อาจมิได้ มีความมุ่งหมายที่จะวางแผนเข้ าต่อตีในทุกหมู่บินของกระบวนหมู่บินฝ่ าย
๙

ข้ าศึก แต่อาจเป็ นการเลือกเข้ าโจมตีหมู่บินใดหมู่บินหนึงหรื อกลุ่มใดกลุ่มหนึงเพื่อให้ เกิดความ
่
่
ระส่าระสายของกระบวนหมู่บินใหญ่ก็ได้
๔. ทฤษฎีการบินรบทางอากาศของโซเวียต
หลักการบินรบทางอากาศของ Colonel Dubrov ในหนังสือ Aviatsiya I Kosmonavtika
ประกอบด้ วยแนวความคิดหลักดังนี ้
๑. กรอบของการสู้รบทางอากาศได้ เพิ่มขึ ้นอย่างกว้ างไกล ดังนันวิธีการในการควบคุมการรบ
้
ทางอากาศจึงถูกบีบบังคับให้ ต้องได้ รับการทบทวน
๒. การปรากฏของอาวุธจรวดนาวิถีสมรรถนะสูงสมัยใหม่ (Guided Missiles) ได้ ขยาย
ขอบเขตของศักยภาพในการโจมตี รวมไปถึงการผนวกเอาระบบและวิธีการในการยิงไปพัฒนาสู่การ
ดาเนินกลยุทธในการบินรบทางอากาศด้ วย
๓. ระบบเรดาร์ ตรวจจับอันทรงประสิทธิภาพทาให้ การทาลายข้ าศึกของฝ่ ายรุกสามารถ
กระทาได้ จากระยะเกินสายตา
(Beyond Visual Range) ดังนันมาตรการการต่อต้ าน
้
(Countermeasures) จึงต้ องพัฒนาตามมาและจะส่งผลโดยตรงต่อการดาเนินกลยุทธของฝ่ ายรับ
๔. เทคโนโลยีในการรบด้ วยการใช้ ศกยภาพของกาลังทางอากาศประสิทธิภาพสูงนี ้ ในที่สด
ั
ุ
จะลงมาถึงแม้ ในการรบทางอากาศขนาดย่อยซึงนักบินรบทุกคนไม่อาจปฏิเสธได้ ไม่ว่ารูปแบบของ
่
สงครามในท้ องถิ่นที่ตนเผชิญอยูจะเป็ นเช่นไรก็ตาม เทคโนโลยีใหม่ ๆ เหล่านี ้แสดงให้ เห็นว่าการรบ
่
ตามแบบธรรมเนียมเดิม ๆ ที่ใช้ อยูจาเป็ นต้ องได้ รับการทบทวนเปลี่ยนแปลง และที่สาคัญคือความ
่
ต้ องการนักบินรบที่มีความชานาญสูง
๕. “การค้นหา (Search)” จะเป็ นกุญแจสาคัญในขันตอนแรกของการสู้รบทางอากาศ มิใช่
้
“การเข้าใกล้ (Closing)” ในขันตอนของการค้ นหานี ้นักบินและเจ้ าหน้ าที่แจ้ งเตือนและควบคุมจะต้ อง
้
ประสานงานกันอย่างใกล้ ชิดมากขึ ้นกว่าเดิมทังในด้ านการตรวจจับและพิสจน์ฝ่าย นันหมายถึงการ
้
ู
่
ติดต่อสื่อสารจะเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะส่งผลให้ การบินรบเกิดความซับซ้ อนเพิ่มมากขึ ้น
๕. แนวความคิดใหม่ ทางด้ านยุทธวิธี (New Tactical Concepts)
Colonel Dubrov ได้ เขียนเรื่ อง “หัวข้ อ ๗ บท (Seven Articles)” ไว้ ในหนังสือ Aviatsiya I
Kosmonavtika ซึงได้ ทบทวนวิวฒนาการแนวความคิดทางด้ านยุทธวิธีไว้ ดงนี ้
่
ั
ั
๕.๑ การค้ นหา (Search - Poisk)
การค้ นหาทางยุทธวิธี
๕.๒ การเข้ าใกล้ (Closing - Sblizhenie)
การเปลี่ยนเข้ าสู่การสกัดกัน
้
๑๐

๕.๓ การเข้ าโจมตี (Attack - Ataka)
การบินเข้ าสู่กรอบการใช้ อาวุธ
๕.๔ การดาเนินกลยุทธ (Maneuver - Manevr)
การบินรบพัวพัน
๕.๕ การแยกตัวออกจากการรบ (Disengagement–Vykhod Iz Boya) การฉากตัวออกจากวงรบ
๕.๖ การประสานการโจมตี (Coordination - Vzaimodeistvie) การบินสนับสนุนซึงกันและกัน
่
๕.๗ การควบคุม (Control - Upravlenie)
การบริหารการสงคราม
การแบ่งกลไกในการสู้รบทางอากาศของรัสเซียจะเป็ นไปตามมุมมองของ Dubrov นี ้ โดยนักบิน
รบของรัสเซียจะใช้ ยดถือไว้ เป็ นหลักในการวางแผนยุทธวิธีการรบ หากจะเปรี ยบเทียบกับ ขันตอนของ
ึ
้
การบินรบในอากาศ (Phrases of Air Combat) ของสหรัฐ ฯ ซึงพิจารณาว่าระบบบัญชาการและ
่
ควบคุมเป็ นบทบาทหน้ าที่แฝงอยูในทุกขันตอนแล้ ว และกาหนดขันตอนไว้ ดงนี ้คือ
่
้
้
ั
๑. ช่วงการเข้ าใกล้ ของฝ่ ายข้ าศึก (Closing of Forces)
๒. การจัดกระบวนยุทธเพื่อให้ เกิดความได้ เปรี ยบตังแต่เริ่มต้ น (Maneuver to Attain Initial
้
Advantage)
๓. การเลี ้ยวเข้ าหาตาแหน่งได้ เปรี ยบต่อการใช้ อาวุธ(Conversion of Advantage to Kill)
๔. การใช้ อาวุธทาลายข้ าศึก (Achieving the Kill)
จะเห็นได้ ว่าใน ๓ หัวข้ อหลักของขันตอนการรบทางอากาศของโซเวียตจะเทียบได้ กบขันตอนแรก
้
ั ้
ของสหรัฐ ฯ คือ Closing of Forces ส่วนในหัวข้ อ Maneuver ของโซเวียตจะควบคุมทัง้ ๓ ขันตอน
้
สุดท้ ายของสหรัฐ ฯ ณ จุดนี ้มีข้อพิจารณาคือ การใช้ กาลังทางอากาศของสหรัฐ ฯ นันเป็ นการใช้ กาลัง
้
ทางอากาศในเชิงรุกเสมอ การยิงข้ าศึกในอากาศถือเป็ น “วิทยาการที่แน่ นอน (Precise Science)”
ด้ วยคาถามที่ว่าจะใช้ อาวุธอย่างไรและเมื่อใดเท่านัน ความเป็ นจ้ าวในการรบทางอากาศของสหรัฐ ฯ
้
จึงมุ่งไปยังการขยายขอบเขตการใช้ อาวุธที่พฒนาให้ กว้ างไกลยิงขึ ้นมากกว่า
ั
่
“วิธีอื่น ๆ ” ดังนัน
้
“สไตล์” ของโซเวียตจะสะท้ อนให้ เห็นถึงศิลปะและการใช้ สมรรถนะในแต่ละขันตอนของการรบทาง
้
อากาศมากกว่า
๕.๑ การค้ นหา (Search – Poisk), การค้ นหาทางยุทธวิธี
การกวาดจับและค้ นหา (Scanning and Searching)
ขันตอนของการกวาดจับและค้ นหาถือเป็ นก้ าวแรกในกระบวนการวางแผนยุทธวิธีการรบทาง
้
อากาศที่มีความสาคัญเป็ นอย่างยิง เป็ นขันตอนที่เครื่ องบินรบทุกเครื่ องในหมู่บินจะต้ องพยายาม
่
้
ตรวจจับเครื่ องบินของข้ าศึกให้ ได้ ก่อนดาเนินกลยุทธในขันต่อไป การแบ่งความรับผิดชอบในการ
้
ค้ นหาจะทาให้ สามารถตรวจจับเปาหมายฝ่ ายตรงข้ ามในพื ้นที่ระวังปองกันของฝ่ ายเราได้ อย่าง
้
้
ครอบคลุมทัวถึง หลักนิยมในการกวาดจับและค้ นหาประกอบไปด้ วยการใช้ ระบบเรดาร์ ในอากาศยาน
่
๑๑

ระบบควบคุมและแจ้ งเตือนจากภาคพื ้นหรื อในอากาศ ระบบเครื่ องรับแจ้ งเตือนสัญญาณเรดาร์
(Radar Warning Receiver) ในห้ องขับนักบิน ตลอดจนสายตาของนักบิน ซึงระบบและผู้เกี่ยวข้ อง
่
ทังหมดจะต้ องแบ่งส่วนรับผิดชอบกันตามหน้ าที่ ขีดความสามารถและขีดจากัด อย่างไรก็ตาม เป็ นไป
้
ได้ ว่าในบางสถานการณ์อาจมีเพียงหนึงหรื อสองวิธีการที่ได้ ผลการกวาดจับและค้ นหาได้ ดีที่สด แต่
่
ุ
หัวหน้ าหมู่หรื อผู้ควบคุมภารกิจ (Mission Commander) จะเป็ นผู้วางแผนตัดสินใจว่าใครหรื อ
อุปกรณ์ใดจะนามาใช้ เป็ นลาดับความสาคัญหลักตามสถานการณ์ของการรบนัน ๆ
้
รูปแบบของการค้ นหา (Search) จะมีทงการค้ นหาเชิงรับ (Defensive) คือ การเฝาตรวจจับ
ั้
้
การปรากฏของฝ่ ายรุกราน และการค้ นหาเชิงรุก (Offensive) คือ การตรวจจับเพื่อการเข้ าโจมตีและ
ทาลายเครื่ องบินฝ่ ายข้ าศึกในเวลาเดียวกัน ในการค้ นหาสามารถกระทาได้ ทงทางตรงและทางอ้ อม
ั้
ด้ วยเครื่ องมือตรวจจับดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว อย่างไรก็ตาม การวางระบบเพื่อตรวจจับก็มีความสาคัญที่
ผู้นาหมู่บินจะต้ องกาหนดรายการ วิธีการ แนวทางและอุปกรณ์ที่ใช้ ตรวจจับให้ เหมาะสมต่อ
สถานการณ์ เหตุการณ์ในขณะนัน เหตุผลประการหนึง เพื่อปองกันความไม่ประสานสอดคล้ องกัน
้
่
้
ของระบบตรวจจับอันอาจทาให้ เครื่ องบินฝ่ ายตรงข้ ามเล็ดลอดการตรวจจับและปองกันการแผ่
้
สัญญาณของฝ่ ายเราซึงฝ่ ายตรงข้ ามสามารถใช้ ประโยชน์ในการค้ นหาและตรวจจับฝ่ ายเราได้
่
เช่นเดียวกัน
การบินรบทางอากาศสมัยใหม่ในปั จจุบนมุ่งสู่การควบคุมและแจ้ งเตือนจากเครื่ องบินที่เป็ น
ั
สถานีควบคุมและบัญชาการในอากาศอันเป็ นที่ซงสภาพภูมิประเทศไม่เป็ นอุปสรรคต่อการตรวจจับ
ึ่
ด้ วยเรดาร์ อีกต่อไป ปั ญหาที่ต้องเผชิญจึงเป็ นเรื่ องของการลวง
(Deception) และการรบกวน
สัญญาณ (Jammimg) ที่นกบินจะต้ องเอาชนะเพื่อการให้ ได้ มาซึงข้ อมูลที่ถกต้ องเชื่อถือได้
ั
่
ู
เพื่อที่จะให้ นกบินสามารถใช้ ระบบอาวุธและการค้ นหาตรวจจับในอากาศได้ อย่างมี
ั
ประสิทธิภาพมากที่สดโดยมีปัจจัยพิจารณาจากความได้ เปรี ยบทางด้ านเทคโนโลยีและการฝึ กของ
ุ
ค่ายตะวันตก (สหรัฐ ฯ) กองทัพอากาศโซเวียตจึงได้ ทาการทดลองการจัดหมู่บินในหลาย ๆ รูปแบบ
ซึงส่งผลอย่างสูงต่อการรบกวนแนวทางการรบของฝ่ ายตรงข้ าม รูปแบบที่โซเวียตได้ ทาการทดลอง
่
ได้ แก่
๑. การบินเรี ยงหน้ ากระดาน ๒ – ๓ เครื่ อง
๒. หมู่บินที่ประกอบไปด้ วยอากาศยานต่างแบบกัน
๓. การใช้ เครื่ องจานวนมากบินสนับสนุนกันในแต่ละกลุ่ม จาก ๖ – ๘ เครื่ อง ไปจนถึง ๑๒ –
๒๔ เครื่ อง
๑๒

๔. การจัดหมู่บินหลายหมู่บินแยกระดับความสูงและวางทิศทางการบินสนับสนุนที่แตกต่าง
กัน
๕. การใช้ เทคนิคการทา HOOK และ SNAP ด้ วยเครื่ องบินทังแบบเดียวกันและต่างแบบกัน
้
๖. การพัฒนาเทคนิคการเข้ าสกัดกันให้ ผิดแนวทางปกติธรรมดามากยิงขึ ้น
้
่
๗. การใช้ ลิงล่อ (Monkey) หรื อ นกต่อ (Decoy) เพื่อเบี่ยงเบนความหรื อบังคับสนใจไปยัง
หมู่บินลวงเหล่านี ้
๘. ความพยายามในการสร้ างหนทางอันหลากหลายที่จะเข้ าจู่โจมเครื่ องบินฝ่ ายข้ าศึกและ
พัฒนาแนวทางการใช้ ระบบอาวุธแบบ BVR ให้ มีประสิทธิภาพมากยิงขึ ้น
่
๙. ผสานการใช้ ระบบการต่อต้ านทางอิเล็กทรอนิกส์ซงบรรทุกอยูบนเครื่ อง ทังระบบ Chaff/
ึ่
่
้
Flares / Jammer / Deception-Repeater
๑๐. การใช้ เทคนิค switch ความสูงเพื่อหลีกเลี่ยงจุดแข็งของเทคโนโลยีที่ทนสมัย
ั
๑๑. การพิจารณาจาแนกและแยกข้ าศึกตามลาดับความสาคัญโดยคานึงถึงความเสียงจาก
สมรรถนะ ขีดความสามารถและระบบอาวุธที่เครื่ องบินข้ าศึกมีอยู่
๑๒. การรวมแบบของอากาศยานต่าง ๆ เข้ าด้ วยกันและการผสานขีดความสามารถของ
SAM/AAA เข้ าในระบบการรบทางอากาศให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
การจัดหมู่บินรบตามแนวทางของโซเวียตจะพิจารณาจากแบบและขีดความสามารถของ
๑. อากาศยานและระบบอาวุธฝ่ ายตน
๒. อากาศยานและระบบอาวุธฝ่ ายข้ าศึก
๓. การเผชิญหน้ าและยุทธวิธีการใช้ อาวุธ
๔. ความเจนจัดเชี่ยวชาญของนักบิน
๕. สภาพอากาศ
๖. ผลพิสจน์จากหลักนิยมการรบทางอากาศและแนวความคิดในการปฏิบติภารกิจ
ู
ั
๗. การสังเกตและเข้ าใจในสภาพแวดล้ อมของข้ าศึก
๘. การใช้ นกต่อหรื อลิงล่อ
๑๓

๕.๒ การเข้ าใกล้ (Closing – Sblizhenie), การเปลี่ยนเข้ าสู้การสกัดกัน (Conversion to
้
Intercept)
การเปลี่ยนสู่ขนของการเข้ าสกัดกันเริ่มต้ นจากวินาทีแรกที่นกบินพิสจน์ทราบเปาหมายได้ แน่
ั้
้
ั
ู
้
ชัดว่าเป็ นเครื่ องบินของฝ่ ายข้ าศึกหรื อได้ รับการแจ้ งเตือนยืนยันว่าดเปาหมายในอากาศข้ างหน้ าคือ
้
ข้ าศึก จุดมุ่งหมายสาคัญที่สดของขันตอนนี ้คือการจัดเตรี ยมตาแหน่งของตนเพื่อให้ เป็ นฝ่ ายได้ เปรี ยบ
ุ
้
เพื่อการรุกตังแต่เริ่มต้ น ในขณะเดียวกันก็อาจเป็ นการเปลี่ยนขันตอนเข้ าสู่การโจมตีได้ ในกรณีที่
้
้
อากาศยานมีการบรรทุกระบบอาวุธแบบ BVR และเป็ นการก้ าวสู่ขนตอนการดาเนินกลยุทธและยิงใน
ั้
กรณีที่เป็ น Within Visual Range Engagement
เทคนิคของการเข้ าใกล้ อธิบายได้ ว่า “คือการดาเนินกลยุทธจาเพาะในระหว่ างที่กาลัง
ของทั้งสองฝ่ ายเคลื่อนที่เข้ าประชิดกันเพื่อให้ นักบินเข้ าสู่ตาแหน่ งที่เหมาะสมที่สุดในการใช้
อาวุธ” ในการปฏิบติการบินจริง สภาพอากาศและสภาพการบินกลางคืนจะเป็ นอุปสรรคสาคัญที่ทา
ั
ให้ ขนตอนนี ้มีความยุงยากซับซ้ อนมากที่สด
ั้
่
ุ
ในปั จจุบน การเข้ าใกล้ ที่มีประสิทธิภาพมากที่สดคือ “การบินที่ระยะสูงต่า ” เนื่องจากจะ
ั
ุ
ช่วยลดขีดความสามารถของเรดาร์ ฝ่ายข้ าศึก นอกจากนี ้การบินที่ระยะสูงต่า ทาให้ ฝ่ายตรงข้ ามที่ต้อง
ตอบโต้ ฝ่ายเรากระทาได้ ด้วยความยากลาบากและต้ องใช้ ความระมัดระวังเพิ่มมากขึ ้น
คาว่า “ระยะสูงต่า ” นี ้ นิยามได้ จาก “ระยะสูงซึ่งต่ากว่าขี ดความสามารถต่าง ๆ ของฝ่ าย
ข้าศึกทีมีอยู่ จะสามารถมองเห็นหรื อตรวจจับได้” การพรางตัว การตอบโต้ ทางอิเล็กทรอนิกส์ การลวง
่
และยุทธวิธีจะเป็ นสิ่งช่วยให้ นกบินเอาตัวรอดจากการบินที่ระยะสูงต่า ผลสาเร็จของขันตอนการ
ั
้
เข้ าใกล้ นีจะมาจากคุณภาพของการวางแผนล่ วงหน้ าโดยตรง การวางแผนล่วงหน้ าและการ
้
ฝึ กซ้ อมซ ้าแล้ วซ ้าอีกเป็ นกุญแจสาคัญในการให้ ได้ มาซึงความสาเร็จ ถึงแม้ ว่าสมรรถนะและขีด
่
ความสามารถของอากาศยานและระบบอาวุธจะเป็ นปั จจัยสาคัญของการได้ เปรี ยบ แต่การบริหาร
๑๔

จัดการเพื่อนาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ ให้ เกิดประสิทธิผลนันสาคัญยิงกว่า การจัดหมู่บินเพื่อให้ เกิด
้
่
ประโยชน์ในการเสาะหาและพร้ อมเข้ ารบสกัดกันเป็ นประเด็นสาคัญที่ต้องการการวางแผน การวาง
้
รูปหมู่กระบวนบินทังการแยกระยะสูง การจัดระยะห่าง การวางตาแหน่งหมู่บินที่สนับสนุนต่อกัน การ
้
ประสมอากาศยานต่างแบบในหมู่บินเดียวกัน เทคนิคการทา Hook Sprit, Drag, Stern etc. คือ
ยุทธวิธีที่ต้องฝึ กฝนและนาไปใช้
๕.๓ การเข้ าโจมตี (Attack – Ataka), การบินเข้ าสู่ขอบเขตการใช้ อาวุธ
ในรูปแบบการบินรบทางอากาศของโซเวียต ขันตอนการเข้ าโจมตีฝ่ายข้ าศึกจะต้ องรุนแรงและ
้
เด็ดขาด การเข้ าทาลายเครื่ องบินรบฝ่ ายข้ าศึกจะต้ องรวดเร็วเพื่อดารงการจู่โจมของฝ่ ายเราไว้ ให้ ได้
เปาหมายคือ ต้ องยิงเครื่ องบินข้ าศึกให้ ได้ ใน “ผ่าน” แรกหรื อโอกาสแรกที่สามารถกระทาได้ ในการบิน
้
เข้ าโจมตีใช้ อาวุธต่อเครื่ องบินข้ าศึกซึงแต่เดิมซึงใช้ อาวุธนาวิถีด้วย Infrared นัน ปั จจัยสาคัญตาม
่
่
้
แบบธรรมเนียมคือการสร้ างความฉงน (Surprise) แต่ในปั จจุบน การใช้ อาวุธนาวิถีแบบ Beyond
ั
Visual Range ด้ วยการยิงระยะไกลได้ ขยายขอบเขตแนวความคิดของขันตอน “การโจมตี ” ให้
้
กว้ างไกลออกไป ในทางปฏิบติ โอกาสของการยิงด้ วยอาวุธ BVR ทาให้ ขนตอนการโจมตีเปลี่ยนไปอยู่
ั
ั้
ณ ขันตอนการเข้ าใกล้ ดังนันการแบ่งขันตอนเพื่อการวางแผนการรบทางอากาศจะอยูที่การควบคุม
้
้
้
่
ระบบอาวุธและการตัดสินใจในห้ องขับนักบิน โดยทัวไป ธรรมชาติของการพิสจน์ฝ่ายจะยังคงเดิมไม่มี
่
ู
การเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะอยูในสถานการณ์ของ BVR หรื อ WVR คือมิได้ ขึ ้นอยูที่นกบินหรื อ
่
่ ั
Controller แต่จะอยูที่การยืนยันครังแรกว่าเปาหมายนันเป็ นเครื่ องบินของฝ่ ายข้ าศึก การโจมตีจึง
่
้
้
้
ขึ ้นกับความถูกต้ องแม่นยาในการเลือกสิทธิเข้ า Ingress ข้ าศึกเพื่อให้ ได้ ตาแหน่งใช้ อาวุธที่เหมาะสม
ที่สดติดตามด้ วยการปล่อยอาวุธอย่างจู่โจม รวดเร็วเพื่อให้ สามารถทาลายเครื่ องบินข้ าศึกให้ ได้ ใน
ุ
โอกาสแรก
จากการศึกษาของโซเวียต ความน่าจะเป็ นของการ Kill (Probability of Kill) ของแต่ละโอกาส
ซึงชี ้ชัดไว้ ในหลักนิยมทางยุทธวิธีได้ ให้ ค่าความสาเร็จไว้ ดงนี ้
่
ั
First Pass
70%
Second Pass
15%
Third Pass
10%
Fratricide
5%
จากสาเหตุที่ความน่าจะเป็ นของการ Kill ใน Pass แรกไม่สามารถให้ ความมันใจได้ 100% นี ้
่
เอง ทาให้ โซเวียตต้ องพัฒนาขันตอนของ “การแยกตัวจากวงรบ (Disengagement)” เพื่อกาหนด
้
ยุทธวิธีให้ นกบินวางแผนในการออกไปตังหลักเพื่อหาโอกาสเข้ าโจมตีใหม่อีกครังหนึง ด้ วย
ั
้
้ ่
๑๕

องค์ประกอบของวงรอบในการโจมตีเหล่านี ้ ทาให้ การประสานการโจมตี (Cooperative) เข้ ามามีส่วน
สาคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพของการโจมตีโดยที่ยงต้ องรักษาการจู่โจม (Surprise) ไว้ ให้ ได้ โดยมี
ั
ปั จจัยพิจารณา คือ
/ การใช้ อากาศยานจานวนมากย่อมก่อให้ เกิดความยากลาบากในการดูแล บินสนับสนุน
เครื่ องบินฝ่ ายเดียวกัน
/ ความแออัดของจานวนเครื่ องในอากาศจะถูกจากัดด้ วยกรอบของระบบควบคุมและสังการ
่
ที่สามารถสนันสนุนได้
/ การปฏิบติการแบบผสมของรัสเซียมีความหมายแตกต่างจากการผสมกาลังของซีกโลก
ั
ตะวันตก
รัสเซียเองเข้ าใจดีว่า ระบบอาวุธอากาศยานที่มีทนสมัยหรื อมีเทคโนโลยีที่สงกว่าย่อมนา
ั
ู
ความสาเร็จในการ “โจมตี” ได้ มากกว่า แต่เช่นเดียวกัน การปฏิเสธไม่เปิ ดโอกาสให้ ฝ่ายตรงข้ ามได้ ใช้
ความได้ เปรี ยบจากระบบเหล่านี ้ก็สามารถสร้ างผลสาเร็จให้ กบการรบได้ ดีเท่ากับการไม่มีเทคโนโลยี
ั
เหล่านันเป็ นของตนเอง
้
“การจู่โจม ” และ “การลวง” เป็ นหัวใจเป็ นหัวใจแห่งชัยชนะของขันตอนการเข้ าโจมตี การ
้
จัดรูปแบบของกระบวนหมู่บินรบได้ ถกพัฒนาขึ ้นเพื่อให้ สะดวกต่อการ “เห็น ” ข้ าศึกได้ ก่อน แต่ไม่
ู
จากัดเทคนิคการเข้ าต่อตีในขันตอนต่อไป โดยมีแนวความคิดในการจัดหมู่บินคือ
้
/ การจัดหมู่บิน ๒ ด้ วยเครื่ องบินรบต่างแบบ
/ การจัดหมู่บิน ๓ เพื่อการการบินแบบใช้ แผนพิเศษ (Specific Application)
/ การเสริมเครื่ องบินเดี่ยว หรื อหมู่ค่เู พื่อเพิ่มขีดความสามารถอื่น ๆ เช่น ขีดความสามารถของ
เรดาร์ จรวดนาวิถีหรื อคุณสมบัติพิเศษจากแบบเครื่ องบินรบที่ต้องการ
/ โลกตะวันตกอาจใช้ จรวดนาวิถีแบบ BVR เป็ นตัวกาหนดแบบในการเข้ าต่อสู้ แต่รัสเซียจะใช้
เทคนิคในการเป็ น “กระจก” สะท้ อนด้ วยการส่งเครื่ องบินบินรบที่จดความสาคัญน้ อย (ลิงล่อ ) ปฏิบติ
ั
ั
ภารกิจก่อกวนกระบวนแผนการรบของข้ าศึกจนกว่าโอกาสและจังหวะที่ถกต้ องมาถึง เมื่อนัน
ู
้
เครื่ องบินรบ “คุณภาพ ” จะผงาดเข้ าแทนที่ในช่วงเวลาอันน้ อยนิดขณะที่ข้าศึกกาลังสับสนและ
ปรับเปลี่ยนยุทธวิธีอยูทนที
่ ั
/ จากจุดยืนของการใช้ ยทธวิธีแบบ BVR ล้ วน ๆ ของโลกตะวันตก รัสเซียพยายามคิดค้ น
ุ
แนวความคิดในการ “เก็บซ่อน” เครื่ องบินรบคุณภาพออกจากเครื่ องบินฝ่ ายข้ าศึกด้ วยการดาเนินกล
ยุทธการบิน (Maneuver) เพื่อให้ การใช้ ยทธวิธีด้วยจวดนาวิถี BVR ของฝ่ ายตรงข้ ามเข้ าสู่กบดักของ
ุ
ั
จุดบอดในอากาศด้ วยการสร้ างจังหวะและหมู่บินที่ซบซ้ อน หลีกเลี่ยงเทคนิคการบินแบบ
ั
Pure
๑๖

Tactical Intercept และการผสมแบบของเครื่ องบินรบเข้ าด้ วยกันอันเป็ นสิ่งที่ฝ่ายตรงข้ ามไม่
ปรารถนา
๕.๔ การดาเนินกลยุทธ (Maneuver – Manevr), การบินรบพัวพัน
การดาเนินกลยุทธคือ “ส่ วนผสมของท่ าทางการบิน” ที่นกบินนามาใช้ เพื่อเปาประสงค์ที่จะ
ั
้
ให้ ได้ มาซึงความได้ เปรี ยบเหนือฝ่ ายตรงข้ าม ซึงก็คือ การเข้าตาแหน่งยิง การดาเนินกลยุทธนี ้มุ่งเน้ นที่
่
่
การบริหารการบินภายในระยะสายตา (WVR) เท่านัน General Tuzov ได้ ให้ ความเห็นเกี่ยวกับการ
้
ดาเนินกลยุทธและการยิงว่า “เป็ นองค์ประกอบสาคัญยิงยวดของการบินรบในอากาศในอนาคต”
่
ความสาเร็จของการดาเนินกลยุทธเกิดจากความได้ เปรี ยบต่าง ๆ รวมกัน เช่น เครื่ องบินมี
Wing Loading ต่า มี Thrust-to-Weight Ratio สูง มีแนวความคิดของ Basic Fighting Maneuver ที่
ชาญฉลาด มีประสิทธิภาพ รัศมีวงเลี ้ยว อัตราการเลี ้ยวของเครื่ องบินสัมพันธ์และสนับสนุนต่อระบบ
อาวุธ (จรวดนาวิถีหรื อปื นใหญ่อากาศ) ที่มี ซึงทังหมดนี ้นักบินจะต้ องเป็ นผู้นามาใช้ ให้ เหมาะสมต่อ
่ ้
สมรรถนะของอากาศยาน เช่นเดียวกับประเทศฝรั่งเศส รัสเซียได้ แผนแบบจรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศ
ตามหลักนิยมการบินรบทางอากาศของตน จรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศ APHID และ Magic ถูก
ออกแบบมาเพื่อใช้ ในการ Dogfight และมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อการใช้ ในสภาวะการบินแบบระยะ
ประชิด (WVR Close-In Environment) กล่าวโดยทัวไปแล้ วประสิทธิภาพหวังผลคือภายในระยะ ๑
่
ไมล์ซงการบินเพื่อดาเนินกลยุทธจะต้ องสัมพันธ์กบสมรรถนะของเครื่ องบินในเรื่ องของวงเลี ้ยวอย่าง
ึ่
ั
ถูกต้ องแม่นยา เมื่อการบินรบพัวพันเกิดขึ ้น การจัดรูปแบบหมู่บินโดยทัวไปจะกลับมาสู่การบินหมู่ ๒
่
ปกติ เป็ น Engage Fighter และ Free (Cover) Fighter หรื อจัดในรูปแบบของการใช้ เทคนิคการบิน
หมู่ ๓ ความพยายามในการบินทังหมดจะทุมเทให้ กบโอกาสในการใช้ อาวุธต่อฝ่ ายตรงข้ าม รัสเซีย
้
่
ั
ประเมินการใช้ จรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศแบบ BVR ของค่ายตะวันตกว่า “เป็ นการเพิ่มโอกาสการใช้
อาวุธให้ กว้ างขึ ้นเท่านัน”
้
จานวนของอาวุธที่บรรทุกบนอากาศยานก็มีความสาคัญเช่นกัน รัสเซียกาหนดให้ เครื่ องบิน
ขับไล่ต้องมีจรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศอย่างน้ อย ๔ นัด ติดตังปื นใหญ่อากาศหรื อกระเปาะปื นใหญ่
้
อากาศ (Gunpod) ในเครื่ องบินขับไล่ทกลา ที่สาคัญคือการจัดหมู่บินแบบพิเศษเพื่อให้ อาวุธที่บรรทุก
ุ
มาในแต่ละเครื่ องสามารถใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
เมื่อเทียบอดีตกับปั จจุบน ขันตอนการค้ นหากระทาได้ สะดวก รวดเร็วและแม่นยามากขึ ้นด้ วย
ั ้
ระบบเรดาร์ อนทันสมัย การสู้รบในระยะประชิด นักบินต้ องชิง “การริเริ่ม ” อย่างเฉลียวฉลาด นักบิน
ั
จะต้ องไม่ยดติดกับรูปแบบของขันตอนหรื อเทคนิคการบินที่ตายตัว ความปราศจากเหตุผล
ึ
้
๑๗

(Irrational) นวัตกรรมคิดค้ นและการดาเนินกลยุทธด้ วยสมรรถนะของอากาศยานที่สนับสนุนได้ จะทา
ให้ นกบินประสบชัยชนะ กลยุทธแบบปราศจากเหตุผลที่ประสบความสาเร็จเหล่านี ้นี่เอง ที่ต่อไปจะ
ั
ได้ รับการประทับตรารับรองให้ ถือใช้ เป็ นแนวทางในอนาคต มิใช่การบินในรูปแบบเดิมที่ซ ้าแล้ วซ ้าเล่า
สิ่งสาคัญที่สดของการบินรบแบบรัสเซียคือ “มิ ใช่การไหล (flow) ของกระแสการดาเนินกล
ุ
ยุทธสู่การดาเนินกลยุทธ แต่เป็ นการแยกวงรบย่อยสู่วงรบย่อยขึ้นไปอีก ” เมื่อผนวกกับ “การริเริ่ม ”
แล้ ว การรบในอากาศแบบรัสเซียจึงมีเมนู (Menu) ให้ เลือกใช้ หลายประการ

๕.๕ การแยกตัวออกจากการรบ (Disengagement – Vykhod Iz Boya), การฉากตัวออกจาก
วงรบ
ขันตอนนี ้เป็ นการแยกตัวของเครื่ องบินขับไล่โจมตี (Attacker) ออกจากวงคู่ต่อสู้ (ออกจาก
้
ขอบเขตการใช้ อาวุธ – Firing Envelope) ขันตอนของการแยกตัวมี ๒ ลักษณะ คือ
้
๕.๕.๑ FREE เป็ นจุดที่นกบินพิจารณาแยกตัวออกจากวงรบเนื่องจากสามารถสกัดกันข้ าศึก
ั
้
หรื อปล่อยอาวุธเข้ าใส่เครื่ องบินข้ าศึกได้ แล้ ว
๕.๕.๒ FORCE เป็ นจุดที่นกบินพิจารณาแยกตัวออกจากวงรบเนื่องจากเสียเปรี ยบฝ่ าย
ั
ข้ าศึก อากาศยานเสียหายหรื อเครื่ องบินข้ าศึกกลับมาได้ เปรี ยบ
การยิงให้ ได้ เร็ว (Quick Kill) เป็ นผลมาจากความสาเร็จต่อเนื่องนับแต่ขนตอนการเข้ าใกล้
ั้
(Approach) และการเข้ าโจมตี (Attack) ประโยชน์ของการดาเนินกลยุทธในระยะประชิดนอกจาก
เพื่อต้ องการให้ ได้ ตาแหน่งยิงแล้ ว ยังต้ องช่วยให้ นกบินปลอดภัยจากการถูกยิงและสามารถแยกตัว
ั
จากวงรบทังในลักษณะของ Free และ Force ได้ ด้วย อย่างไรก็ตามการแยกตัวจากวงรบนี ้อาจเกิด
้
จากการได้ รับคาสังจากผู้มีอานาจบัญชาการในการจัดวางแผนกระบวนการบินรบนัน ๆ ก็ได้ ในหลาย
่
้
กรณี อานาจสังการจากระบบควบคุมและสังการอาจมีความจาเป็ นเหนือการตัดสินใจของนักบิน ซึง
่
่
่
ในคาแนะนาการปฏิบติพิเศษจะต้ องระบุอานาจไว้ อย่างชัดเจนแล้ วแต่กรณี
ั
ความนิยมของการแยกตัวจากวงรบอาจกระทาได้ ด้วยการ Unloaded การ Dive ลงสู่ระยะสูง
ต่าสุดด้ วยความเร็วสูงสุดเท่าที่กระทาได้ การ Bugout แบบรัสเซียซึงประกอบด้ วยการผสมอากาศ
่
ยานหลายแบบในหมู่บินกระทาโดยการกาหนดจุดนัดพบอ้ างอิงภายนอกพื ้นที่การรบทางอากาศ จุด
นี ้จะเป็ นจุดที่เครื่ องบินรบสามารถกลับมารวมคณะกันใหม่ ส่วนการ Bugout ของสหรัฐ ฯ เป็ นการ
ดาเนินกลยุทธด้ วยการจัดหมู่ Mutual Support เพื่อช่วยกันดูแลในการเอาตัวรวดขณะ Bugout และ
ให้ เกิดความอ่อนตัวในการกลับเข้ าต่อสู่ใหม่อีกครัง
้
๑๘

๕.๖ การประสานการโจมตี (Coordination – Vzaimodeistvie), การบินสนับสนุนซึ่งกันและกัน
รัสเซียเชื่อมันว่าการใช้ เครื่ องบินรบหลายแบบในการบินรบทางอากาศจะไม่สามารถบรรลุผล
่
สาเร็จหรื อชัยชนะทังในเชิงรุกและเชิงรับได้ หากปราศจากการประสานการโจมตีทงจากหมู่บินรบ
้
ั้
กระบวนหมู่บินรบ ฝูงบินรบและอื่น ๆ การประสานการโจมตีจะต้ องดาเนินการอย่างพิถีพิถน รวมไป
ั
จนถึงรายละเอียดของการดาเนินกลยุทธ (Maneuver) ในแผนการบินรบ (Combat Plan) ทังหมด
้
ในแผนการรบ นักบินจะต้ องศึกษาตัวแปรทังหมดเพื่อกาหนดบทบาทย่อยลงสู่นกบินเป็ น
้
ั
รายบุคคล หลักการในการวางแผนการบินรบก็คือ พยายามบูรณาการการปฏิบติของนักบินทุกคนใน
ั
แนวทางที่จะจากัดความน่าจะเป็ นของตัวแปรอันไม่พึงประสงค์ออกไป
หมู่บิน ๒ ยังคงเป็ นหมู่บินพื ้นฐานสาหรับการบินรบของรัสเซีย เทคนิคในการบินหมู่บิน ๒ ก็
แทบไม่ต่างจากเทคนิคของสหรัฐ ฯ เช่น การรักษาหมู่มิให้ แตกแยกออกจากกัน ความสัมพันธ์ของการ
ปฏิบติระหว่างหัวหน้ าหมู่และลูกหมู่ซงมีความสาคัญอย่างยิงยวดและเป็ นตัวกาหนดประสิทธิผลใน
ั
ึ่
่
การบินรบ ทังคู่จะต้ องดูแล ระมัดระวัง ปองกันให้ กนและกัน รวมทังประสานการบินเพื่อให้ เกิดอานาจ
้
้
ั
้
เหนือคู่ต่อสู้ให้ ได้ อย่างไรก็ตาม นับตังแต่ ปี ๑๙๗๙ เป็ นต้ นมา ความเหนียวกันในหลักการของ
้
หมู่ ๒ ได้ ผ่อนคลายลง แต่ยงไม่ถึงกับการแยกยุทธวิธีปฏิบติ หัวหน้ าหมู่สามารถส่งลูกหมู่ให้ ดาเนิน
ั
ั
กลยุทธได้ อย่างอิสระ แต่ต้องเป็ นส่วนหนึงของแผนการโจมตีร่วมกัน เริ่มตังแต่เทคนิคง่าย ๆ เช่น การ
่
้
Split Plan และการโจมตีเครื่ องบินข้ าศึกด้ วยการประสานการบินอย่างไร้ รูปแบบ
ความสาเร็จเพื่อให้ ได้ มาซึงความได้ เปรี ยบทางอากาศประการหนึงก็คือ การจัดรวมหมู่ใหญ่
่
่
จากหลายฝูงบินเข้ าด้ วยกัน จานวนหมู่บินขนาดเล็กประกอบด้ วยเครื่ องบินขับไล่ ๘ – ๑๖ เครื่ อง
ซึงโดยมากใช้ เพื่อการบินฝึ กให้ เกิดความพร้ อมที่จะรวมเข้ าสู่หมู่ใหญ่ยงขึ ้นกว่านี ้ กาลังปฏิบติการรบ
่
ิ่
ั
ในอากาศโดยทัวไปจะจัดเครื่ องบินขับไล่เข้ าสู่กระบวนบินรบตังแต่ ๒๔ เครื่ องเป็ นต้ นไป เหตุผลก็คือ
่
้
เพื่อขยายกรอบและโอกาสการใช้ อาวุธฝ่ ายตนและเพิ่มพื ้นที่รับผิดชอบในการต่อต้ านจากฝ่ ายข้ าศึก
ส่งผลให้ ประสิทธิภาพในการใช้ อาวุธของฝ่ ายตรงข้ ามลดลงแม้ จะมีเทคโนโลยีด้านระบบอาวุธสูงก็
ตาม นอกจากนี ้ ยังต้ องจัดเครื่ องบินที่ใช้ ค้ มกันเครื่ องบินโจมตีทิ ้งระเบิดที่ต้องปฏิบติภารกิจลึกเข้ าไป
ุ
ั
ในดินแดนข้ าศึกด้ วย จานวนของเครื่ องบินคุ้มกันต่อเครื่ องบินโจมตีทิ ้งระเบิดจะต้ อมีอตราส่วนอย่าง
ั
น้ อย ๒ : ๑ นันหมายถึงต้ องจัดเครื่ องบินคุ้มกันอย่างน้ อย ๘ เครื่ องต่อหมู่บินทิ ้งระเบิด ๔ เครื่ อง จึงจะ
่
เกิดประสิทธิภาพในการคุ้มกันอย่างพอเพียง
ในการใช้ เครื่ องบินจานวนมากตามเทคนิคของรัสเซียนี ้ มาจากประวัติศาสตร์ การรบทาง
อากาศนับตังแต่สงครามโลกครังที่ ๒ ซึงยังคงใช้ ได้ ผลมาจนถึงปั จจุบน อย่างไรก็ตาม “กาลังบินที่
้
้
่
ั
เหนือกว่า (Overpower Flight)” ได้ รับการพัฒนาปรับเปลี่ยนให้ ทนกับการเปลี่ยนแปลงของ “จุดตัด
ั
๑๙

ของยุคแห่งคุณภาพ (Quality Cutting Edge)” ที่คณภาพต้ องมาก่อนเหนือปริมาณ การบินวนรอ
ุ
(Loitering) ที่มีเทคนิครักษาเพดานการบินที่ระยะสูงสุดเพื่อประหยัดเชื ้อเพลิง ปรับเปลี่ยนมาเป็ นการ
บินวนรอที่ระยะสูงต่าสุดให้ หมู่บินปฏิบติการอยูเ่ หนือขึ ้นไป เครื่ องบินขับไล่ที่ได้ รับบทบาทเป็ น “ลิง
ั
ล่อ” จะคอยลวง รังควาน เป็ นเหยื่อล่อ และผูกพันกับเครื่ องบินของข้ าศึกให้ สนใจอย่างไม่จาเป็ น แม้
ข้ าศึกจะรู้กลยุทธนี ้ก็ตาม รอคอยจนกว่าเครื่ องบินรบคุณภาพจะปรากฏตัวแสดงอานุภาพและ
เปาประสงค์ที่แท้ จริงออกมาในขณะที่ข้าศึกสับสน ภารกิจของ “ลิงล่อ ” นันสาคัญ เป็ นอิสระ แต่เป็ น
้
้
ภารกิจตายตัว ส่วนเครื่ องบินรบคุณภาพจะมีความเสรี ในการปฏิบติ แต่จะขึ ้นกับกลยุทธของ
ั
เครื่ องบินลิงล่อนันโดยตรง
้
ในหมู่บินรบยุคใหม่ของรัสเซีย หัวหน้ าหมู่สามารถเลือกแนวปฏิบติการบินเป็ นของตนเองและ
ั
อาจแนะนาให้ ลกหมู่สามารถริเริ่มได้ อย่างไรก็ตาม ลูกหมู่จะต้ องนิงและระมัดระวังให้ หวหน้ าหมู่
ู
่
ั
จนกว่าจะได้ รับคาแนะนาให้ ปฏิบติ การบินแบบ Close Control จาก GCI ยังคงมีความจาเป็ นในการ
ั
ให้ ความช่วยเหลือหมู่บิน โดยขยายมุมมองในการตรวจจับและแจ้ งเตือนตาแหน่งเครื่ องบินข้ าศึกที่อยู่
รายรอบให้ เครื่ องบินที่กาลังรบพัวพันอยูได้ ทราบ เทคนิคการบินหมู่ ๒ และหมู่ ๔ ให้ ความอ่อนตัวใน
่
การบินและดาเนินกลยุทธ การประสานการบินนี ้เป็ นความต้ องการที่เกิดจากการดาเนินกลยุทธที่ “รู้
กัน (Known Maneuver)” และ “ผลที่ ต้องการ (Outcomes)”
๕.๗ การควบคุม (Control - Upravlenie), การบริหารการสงคราม
รัสเซียถือการปฏิบติด้านการบัญชาการและควบคุมอย่างเข้ มงวดด้ วยการควบคุมแบบ Close
ั
Control มานานหลายปี เครื่ องบินทุกเครื่ องในอากาศจะได้ รับคาแนะนาและกาหนดทิศทางให้ นกบิน
ั
ปฏิบติ ในปั จจุบนการบัญชาการและควบคุมได้ เปิ ดโอกาสการริเริ่มให้ แก่นกบิน ปั ญหาก็คือ เมื่อการ
ั
ั
ั
จัดกระบวนรบในอากาศประกอบด้ วยอากาศยานที่มีจานวนมากขึ ้น หมู่บินใหญ่ขึ ้น มีการเชื่อมรวม แยกหมู่บินในอากาศ รวมทังความต้ องการใน “ภาพใหญ่ (Big Picture)” มีความจาเป็ นอย่างยิงแล้ ว
้
่
บทบาทของระบบบัญชาการและควบคุมที่ต้องเผชิญ คือ การสารองข้ อมูลให้ แก่การรบในอากาศ การ
แลก-ปรับเปลี่ยนหรื อเปลี่ยนภารกิจในอากาศ รวมไปถึงพิจารณาระดับของความได้ เปรี ยบทาง
อากาศเพื่อแจ้ งเตือนภาพรวมให้ หมู่บินขนาดใหญ่ที่ขึ ้นบินอยูทวมฟา ไม่ว่าเทคโนโลยีด้านระบบและ
่ ่ ้
อุปกรณ์ของการบัญชาการและควบคุมจะพัฒนาสูงไปเพียงใด แนวทางในการควบคุมจากเจ้ าหน้ าที่
ควบคุม (Controller) ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อขันตอนการค้ นหา พิสจน์ฝ่ายและเข้ าโจมตีสิ ้นสุดลง
้
ู
การดาเนินกลยุทธและการริเริ่มจะเป็ นหน้ าที่ของนักบินทันที เจ้ าหน้ าที่ควบคุมจะเปลี่ยนหน้ าที่ไปสู่
การบริหารและตรวจสอบเครื่ องบินที่เข้ า -ออกพื ้นที่รบในอากาศ เช่นเดียวกับค่ายตะวันตก ความ
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย
การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย

More Related Content

More from Washirasak Poosit

เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อWashirasak Poosit
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าWashirasak Poosit
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงWashirasak Poosit
 
The infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnThe infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnWashirasak Poosit
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional SecuritytWashirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1Washirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)
อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)
อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)Washirasak Poosit
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)Washirasak Poosit
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)Washirasak Poosit
 
ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์Washirasak Poosit
 

More from Washirasak Poosit (20)

Thai National Security Law
Thai National Security LawThai National Security Law
Thai National Security Law
 
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อ
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟัง
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึง
 
The infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnThe infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavn
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
 
อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)
อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)
อบรมข้าราชการ ๘ (เรียนอังกฤษจากโคลงโลกนิติ)
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (1)
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
 
ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
ปฐมนิเทศอนุบาล ศาสตร์และศิลป์ในการดูแลลูกรัก โดย น.อ.วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
 

การพัฒนายุทธวิธีการรบของรัสเซีย

  • 1. ศูนย์ การสงครามทางอากาศกองบัญชาการยุทธทางอากาศ การพัฒนาหลักการรบในอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย Russian Air Force: The Development of the Principles of Air Combat AVIATSIYALI I KOSMONAVTIKA By Lt Col Yu Kislyakov and Col V. Babich แปลและเรียบเรียงจากต้ นฉบับภาษาอังกฤษ โดย นาวาอากาศเอก วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์ นายทหารหลักนิยม ศูนย์การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
  • 2. ๒ คานา กองทัพอากาศได้ ให้ ความสาคัญในการพัฒนาขีดความสามารถด้ านกาลังทางอากาศ โดยมี แผนการจัดหาอากาศยานและระบบอาวุธ ที่ทนสมัย มาทดแทนอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีอยู่ และกาลังจะ ั หมดอายุลง นอกจากนี ้ยังได้ ปรับปรุงสมรรถนะของอากาศยานที่ประจาการอยูอย่างต่อเนื่อง อย่างไร ่ ก็ตาม การศึกษาในเรื่ องหลักนิยมและหลักการรบในอากาศ จะทาให้ นบ .เข้ าใจถึงหัวใจของการใช้ กาลังทางอากาศและสามารถนาเอาขีดความสามารถของอากาศยานและอาวุธยุทโธปกรณ์ที่มีอยูไป ่ ใช้ ได้ อย่างถูกต้ องและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ในด้ านการให้ ความรู้แก่บคลากร ปั จจุบน ทอ .มุ่งเน้ นการศึกษาด้ านเทคโนโลยีและยุทธวิธี ุ ั ตามแนวทางของสหรัฐอเมริกาเป็ นหลัก ส่วนการศึกษายุทธวิธีและแนวนิยมของฝ่ ายรัสเซียนันยังมี ้ น้ อยมาก สาเหตุประการหนึงเนื่องมาจากการขาดแคลนข้ อมูลในทางลึกของฝ่ ายรัสเซีย ดังนัน ่ ้ การศึกษาถึงขีดความสามารถและหลักการรบทางอากาศของฝ่ ายรัสเซียซึงมีความแตกต่างจาก ่ แนวทางของสหรัฐ ฯ จึงน่าจะเป็ นประโยชน์อย่างยิงต่อการนามาศึกษาเพื่อพัฒนาแนวความคิดด้ าน ่ การใช้ กาลังทางอากาศของ ทอ. การรวบรวมข้ อมูลหลักการรบทางอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย นี ้ จะใช้ ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Sources) ตามแนวทางการศึกษาของ USAF Air University, the Finish Society of Military Sciences and the Royal Swedish Academy of War Science, Lockheed Fort Worth Company, Tactical Research Center of Finland และ Scramble Dutch Aviation Society เป็ น หลัก เนื่องจากข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary Sources) ต้ นฉบับเป็ นภาษารัสเซียทังหมด ้ กระผมหวังว่าบทความเรื่ อง “การพัฒนา หลักการรบ ในอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย Russian Air Force: The Development of the Principles of Air Combat” นี ้ จะเป็ นประโยชน์ ใน การที่จะช่วย การกระตุ้นความคิดสร้ างสรรค์ของนักบินรบ ทอ. ให้ สรรสร้ างนวัตกรรมทาง แนวความคิดที่จะแสวงหายุทธวิธีการบินรบในอากาศที่เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะของตน และได้ ค้นพบ “ความเป็ นตัวเอง” ดังเช่นกองทัพอากาศสากลต่าง ๆ ที่ได้ คิด บันทึก ถ่ายทอดและปฏิบติสืบต่อมา ั นาวาอากาศเอก วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์ นายทหารหลักนิยม ศูนย์การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
  • 3. ๓ การพัฒนาหลักการรบในอากาศของกองทัพอากาศรัสเซีย Russian Air Force: The Development of the Principles of Air Combat -----------------------------------------------------------๑. การพัฒนาหลักนิยมทางอากาศของโซเวียต ในช่วงต้ นปี คริสตศักราช ๑๙๔๗ ผู้เชี่ยวชาญด้ านการวิเคราะห์ยทธวิธีแบบอเมริกนชาวโซ ุ ั เวียต ชื่อ Polkovnik Babich ได้ ทาการวิเคราะห์ภารกิจและการประยุกต์ใช้ กาลังทางอากาศใน สงครามสมัยใหม่ ซึงจุดประกายให้ เกิดคาถามและการโต้ แย้ งในเรื่ องของยุทธวิธีการรบทางอากาศให้ ่ เกิดชัยชนะเป็ นอย่างสูง Babich ใช้ เวลาวิเคราะห์ถึงยุทธวิธีที่เหมาะสมต่าง ๆ อยู่ ๓ ปี การวิเคราะห์ ของเขาเสร็จสิ ้นลงในปี ๑๙๗๗ โดยได้นายุทธวิ ธีเหล่านีขึ้นทาการบิ นทดสอบ ด้ วย ความสาเร็จจาก ้ การวิเคราะห์ในครังนัน ทาให้ การพัฒนากาลังทางอากาศในยุคต่อมาของโซเวียตยึดถือเอานวัตกรรม ้ ้ ทางด้ านยุทธวิธีและหลักนิยมเป็ นหลักในการพัฒนา ต่อมาในปี ๑๙๗๘ เกิดการชักนาให้ มีการ ดาเนินการเปลี่ยนแปลงนโยบายยุทธศ่าสตร์ การปองกันของโซเวียต โดยเชื่อว่าถึงเวลาแล้ วที่โซเวียต ้ จะต้ องปรับเปลี่ยนหลักนิยมและยุทธวิธีในทุกระดับ ตังแต่ระบบการจัดอากาศยาน ฝูงบิน ไปจนถึง ้ กาลังพล ก่อให้ เกิดการปรับปรุงอากาศยานครังใหญ่รวมไปถึง การพัฒนายุทธวิธีการรบทาง ้ อากาศตามหลักนิยมด้ วยการฝึ กฝน การทดลองบินและการประเมินผล Mashal Sokolovskiy เอกสารอ้ างอิง Lt Gen Heikki Nikunen, The Current State of The Russian Air Force, USAF Air University, update 28 Nov 2001 Lt Gen Heikki Nikunen, Air Defence in Northern Europe, the Finish Society of Military Sciences and the Royal Swedish Academy of War Science Dick Pawloski, Changes in Threat Air Combat Doctrine and Air Force Structure for the Air Forces of the America, Lockheed Fort Worth Company Scramble Dutch Aviation Society, Russian Air Arms, www.scramble.nl/mil/2/russia/main.htm, 8/11/2547 บทความนี ้อ้ างอิงถึงเอกสารต้ นฉบับประกอบปี ค.ศ.๑๙๔๗ ซึงในขณะนันรัสเซียดารงสถานะเป็ นสหภาพโดยใช้ คาเรี ยกแทนโดยรวมว่า “โซเวียต” มาจากThe Union of ่ ้ Soviet Socialist Republics (USSR)
  • 4. ๔ กล่าวว่า “ในอนาคตข้างหน้า นักบิ นรบจะเป็ นผูเ้ ล่นบทบาทชี ้ขาดในการป้ องกันทางอากาศแก่ ดิ นแดนบ้านเกิดของเรา ” ส่วน Gen-Maj Levitskiy กล่าวเช่นกันว่า “นักบิ นรบมิ ใช่จะเพียงบิ น ลาดตระเวนในพืนทีอย่างไร้เป้ าหมาย แต่ต้องค้นหาข้าศึกอย่างกระเหียนกระหือ เข้าโจมตี และยิง ้ ่ ้ ข้าศึกให้ร่วง ทุกคนจะต้องดิ้ นรนเพือริ เริ่ มในการไล่ให้ข้าศึกต้องป้ องกันตัวเอง และทีสาคัญทีสดคื อ ่ ่ ่ ุ จะต้องยิงข้าศึกให้ได้ใน pass แรก” นอกจากนี ้ Marshal of Aviation Skorikov เสริมว่า “ในปั จจุบน ั การให้ได้มาและรักษาไว้ซึ่งการครองอากาศจะเป็ นสภาวะการณ์เด็ดขาดในการเอาชนะทังในการสูรบ ้ ้ และการสงครามในภาพรวม” ๒. การปฏิวัติแนวความคิดและนวัตกรรมของ Babich ๒.๑ การรบทางอากาศจะไม่เป็ นเพียงกิจกรรมในการปองกันอีกต่อไป ในทางตรงกันข้ าม การ ้ รบทางอากาศจะเป็ นส่วนสาคัญที่สานในระบบการผนึกกาลังร่วมเพื่อการรุกอย่างสมบูรณ์ ทังนี ้รวม ้ ไปถึงการทะลวงเจาะพื ้นที่ การดาเนินความคืบหน้ าในการรบ ไปจนถึงการกาหนดยุทธวิธีในการรบ โดยมีปัจจัยประกอบคือ ๒.๑.๑ พื ้นที่การรบในอากาศจะขยายขอบเขตจากพื ้นที่ฝ่ายเดียวกันลึกเข้ าไปใน ดินแดนของข้ าศึก ในขณะเดียวกัน จะต้ องรักษาพื ้นที่กนชนและพื ้นที่ฝ่ายเราที่อยูในระยะโจมตีทาง ั ่ อากาศจากฝ่ ายข้ าศึกด้ วย ๒.๑.๒ นักบินรบของโซเวียตจะต้ องคาดหมายพื ้นที่การรบทางอากาศที่ข้าศึกจะเข้ ามา ณ ตาแหน่งและเวลาอันถูกต้ อง รวมทังจะต้ องสร้ างความกร้ าวแกร่งที่จะต้ องต่อสู้และขับไล่ข้าศึกแม้ ้ อยูในสภาวการณ์ที่ไม่สมบูรณ์พร้ อม ่ ๒.๒ การรบในอากาศจะมิใช่หน้ าที่ของนักบินขับไล่สกัดกันแต่เพียงฝ่ ายเดียว แต่จะเป็ น ้ บทบาทรองสาหรับนักบินขับไล่ทิ ้งระเบิดที่จะต้ องมีขีดความสามารถในการต่อกรกับเครื่ องบินสกัดกัน ้ จากฝ่ ายตรงข้ ามไม่ว่าจะเกิดสถานการณ์นนหรื อไม่ก็ตาม ั้ ๒.๓ สมรรถนะของอากาศยานจะต้ องมีขีดความสามารถสูงสุดโดยเฉพาะอย่างยิงที่ระดับ ่ ความสูงต่า ตลอด ๓๐ ปี ของการพัฒนาอากาศยานเพื่อให้ บรรลุถึงความเร็วสูงสุด ณ ระยะสูง ปฏิบติการ ไม่เพียงพอต่อความจริงในการปฏิบติการรบทางอากาศที่ระยะสูงต่าซึงต้ องการขีด ั ั ่ ความสามารถในการบังคับเครื่ องบินอย่างต่อเนื่อง ข้ อคิดเห็นทางด้ านสมรรถนะอากาศยานประกอบไปด้ วย ๒.๓.๑ คุณภาพด้ านการมองเห็นและการควบคุมอากาศยานของนักบินถือเป็ นสิ่ง สาคัญประการแรก
  • 5. ๕ ๒.๓.๒ ความเร็วสูงสุดมิ ใช่กญแจแห่งชัยชนะ การที่จะต้ องบินเพื่อให้ ได้ ระยะสูง ุ เหมาะสมสูงสุดต่อการบังคับเครื่ องบินจะมิใช่จดสุดท้ ายที่ต้องการอีกต่อไป แต่คณภาพในการบินรบ ุ ุ ที่ระยะสูงต่าจะเป็ นกุญแจในการสร้ างความฉงน (Surprise) และการเอาตัวรอด (Survivability) มุม ขวาบนสุดของ Energy Maneuverability Diagrams คือจุดสาคัญที่จะให้ ความเป็ นความตายแก่ นักบิน ๒.๓.๓ ประเด็นสาคัญท้ ายสุดสาหรับนักบินที่ต้องพิจารณานอกเหนือจากสภาวะ แวดล้ อมด้ านการบัญชาการและควบคุม คือ การปฏิบติการในรูปแบบของ Countermeasures, การ ั ขยายความลึกของการรบเข้ าไปในดินแดนของข้ าศึก รวมไปถึงยุทธวิธีการรบของข้ าศึก ทังยุทธวิธีที่ ้ ฝ่ ายเราคาดหมายเอาไว้ และรูปแบบที่อาจเกิดขึ ้นโดยเรามิได้ เตรี ยมการวางแผนไว้ ๓. การพัฒนาหลักการรบทางอากาศ Lt Col Yu Kislyakov และ Col V. Babich ได้ เขียนไว้ ในหนังสือชุดชื่อ AVIATSIYALI I KOSMONAVTIKA กล่าวถึงหลักการรบทางอากาศของโซเวียต ๔ ประการ คือ ๑. หลักความกร้ าวแกร่ง (Aggressiveness) ๒. หลักการจู่โจม (Surprise) ๓. หลักอานาจการยิงและหลักการดาเนินกลยุทธ (Firepower and Maneuver) ๔. หลักความสมบูรณ์ในการปฏิบติยทธวิธี (Perfection in the Execution of Tactics) ั ุ Soviet Air Combat Doctrine must put these all together.
  • 6. ๖ หลักความกร้ าวแกร่ ง (Aggressiveness) หลักความกร้ าวแกร่งหรื อ หลักความมุ่งมันในการรบ (Combat Assertiveness) นี ้ มุ่งเน้ นให้ ่ นักบินรบมีความมุ่งมันที่จะต้ องเอาชนะศึกอย่างทะลวงไปข้ างหน้ าด้ วยอานาจการยิงด้ านหน้ า จาก ่ ความเชื่อที่ว่าการเป็ นฝ่ ายรับที่ดีที่สดคือการบินตรงเข้ าหาข้ าศึกและจู่โจมอย่างไม่ถอยหนี ไม่มีการ ุ ยอมแพ้ ยกธงขาว สิ่งโน้ มน้ าวสาหรับผลของการเป็ นนักบินที่มีความกร้ าวแกร่งก็คือ การได้ รับ มอบหมายให้ ได้ ขึ ้นสู่ตาแหน่งหน้ าที่สาคัญด้ านการรบในกองทัพ หลักการจู่โจม (Surprise) หลักการจู่โจมที่อธิบายไว้ ใน AVIATSIYALI I KOSMONAVTIKA นี ้ จะแตกต่างจากหลักการ จู่โจมที่อธิบายไว้ ในโลกตะวันตกที่ให้ ความหมายไว้ ว่า “การจู่โจมคื อ การใช้กาลังทางอากาศเข้าโจมตี อย่างมิ ให้ฝ่ายข้าศึกตังตัว “ AVIATSIYALI I KOSMONAVTIKA ได้ อธิบายถึงวิธีการพื ้น ๆ จาก ้ ประสบการณ์ที่ประสบความสาเร็จและความเป็ นจริงแก่นกบินรบเพียงเท่านัน ยุทธวิธีจ่โจมสาหรับ ั ้ ู การรบทางอากาศที่สร้ างความสับสน ฉงนสนเท่ห์ให้ แก่ข้าศึกมีหลักการที่อธิบายง่าย ๆ ดังนี ้ คือ “จง อยู่ระหว่างดวงอาทิตย์กบข้าศึก ” “ยามย่ารุ่งและย่าค่าให้แอบอยู่ในเงาพืนและเงาเมฆ ” “อย่าอยู่ใน ั ้ หมอกและหมอกแดด เพราะจะไม่เห็นข้าศึก ” “อย่ามุ่งค้นหาข้าศึกทีอยู่ใกล้ทีสด เพราะอันตรายที ่ ่ ่ ุ แท้จริ งมาจากทีไกล” “อ่านความคิ ดของผมแล้วผมจะคาดหมายความคิ ดของคุณ และบอกผมเท่าที ่ ่ จาเป็ นยิ่งยวดเท่านัน” “จงใช้กลยุทธการลวง การโจมตี สลับข้าง การสร้างกับดักจากการประสานหมู่ ้ บิ น การรบกวนการติ ดต่อสือสาร การหลอกด้วยเรดาร์ Terrain Masking” ่ หลักอานาจการยิงและหลักการดาเนินกลยุทธ (Firepower and Maneuver) หลักอานาจการยิงและหลักการดาเนินกลยุทธ เป็ นหลักการที่ผนวกเอาการวิเคราะห์และ ความเชื่อเข้ าด้ วยกันอย่างลงตัว ความเห็นของหลักการนี ้ประกอบด้ วย ๑. การบินรบพัวพันอย่างใกล้ ชิดย่อมมีกฎเกณฑ์ในตัวของมันเอง ๒. จะมีความสมดุลย์ระหว่างการดาเนินกลยุทธและอานาจการยิงอยูจดหนึงที่นกบินสามารถ ุ่ ่ ั เอื ้ออานวยยุทธวิธีการรบให้ แก่กนและกันได้ ั ๓. บีบบังคับให้ ข้าศึกสู้ในแนวทางที่ฝ่ายเราเป็ นผู้เลือก ๔. ประสานหมู่บินด้ วยเครื่ องบินรบหลากหลายรูปแบบ จัดรูปแบบและระยะของหมู่บินทัง้ แนวนอนและแนวดิ่ง เพื่อสร้ างความยุงยากแก่ข้าศึกที่จะเลือกรูปแบบเข้ าต่อสู้ ่
  • 7. ๗ ๕. การใช้ ประโยชน์จากการจัดรูปหมู่และกลยุทธในแนวดิ่งจะต้ องเริ่มตังแต่ขนตอนการเข้ าหา ้ ั้ (Approach Phase) ใช้ ดวงอาทิตย์เป็ นฉากและกลยุทธการลวงเรดาร์ ๖. จาไว้ ว่า ๗๕ เปอร์ เซ็นต์ ของการถูกยิงตกมาจากการไม่ สามารถพิสูจน์ ทราบฝ่ าย ตรงข้ ามได้ ก่อนล่ วงหน้ า และในการบินสู้รบแบบพัวพัน ๘๐ – ๘๕ เปอร์ เซ็นต์ ที่ถกยิงตกมา ู จากการต่ อสู้ด้วยท่ าทางตั้งและ Unobserved Shot จากเครื่ องที่มิได้ ส้ ูรบด้ วย ๗. การต่อสู้กบ Beyond Visual Range Missile จงระลึกไว้ ว่า ั ๗.๑ ยังมีเครื่ องบินของข้ าศึกลาอื่น ๆ ที่กาลังเคลื่อนใกล้ เข้ ามา มิใช่มีเพียงเฉพาะ เครื่ องบินข้ าศึกที่กาลัง Lock-on เปาหมายฝ่ ายเราอยู่ ้ ๗.๒ Time of Flight ของ BVR Missile จากเครื่ องบินข้ าศึกมายังเปาหมายฝ่ ายเรา ้ ยังคงเป็ นประโยชน์ต่อการดาเนินกลยุทธของฝ่ ายเรา หมู่บินใน Elements ต่าง ๆ ยังสามารถตอบโต้ ฝ่ ายตรงข้ ามได้ โดยไม่ต้องหยุดชะงักหรื อรังรอ นอกจากนี ้กระบวนการในการเลือกกลุ่มเปาหมายยัง ้ ้ ก่อให้ เกิดการหน่วงของเวลาจนทาให้ ทกฝ่ ายสามารถเข้ าสู่ระยะยิงของตนได้ ุ ๗.๓ ยังมีข้อจาเป็ นนานับประการในการใช้ อาวุธแบบ BVR เมื่อใดก็ตามที่นกบินไม่ ั สามารถใช้ อาวุธ BVR ได้ นันหมายความว่าขันตอนของการ Dog Fight จะเกิดขึ ้นตามมา ่ ้ ๘. การเข้ าต่อสู้ในทิศทางเดียวต่อข้ าศึกที่เป็ นกลุ่มใหญ่เป็ นอันตรายและจากัดการวางแผน กระบวนหมู่บินรบของฝ่ ายตนเอง ๙. การจัดกระบวนหมู่บินรบจากหลายทิศทางมีความจาเป็ น มีคาแนะนาให้ เข้ าโจมตีอย่าง น้ อยไม่ต่ากว่า ๒ ทิศทาง ๑๐. หากข้ าศึกมีกาลังที่เหนือกว่ามาก มีคาแนะนาให้ โจมตีหมู่บินใดหมู่บินหนึงของข้ าศึก ่ อย่างต่อเนื่องเพียงหมู่เดียวในหลายทิศทาง ๑๑. การปองกันการรบกวนจาก Fighter Sweep ฝ่ ายข้ าศึก การจัดหมู่บินของเครื่ องบินขับไล่ ้ สกัดกันฝ่ ายเราที่แบ่งพื ้นที่รับผิดชอบไว้ จะต้ องวางแผนให้ สามารถ Cover ซึงกันและกันด้ วย ้ ่ หลักความสมบูรณ์ ในความสาเร็จของการใช้ ยุทธวิธี (Perfection in the Execution of Tactics) การนาเอายุทธวิธีไปปฏิบติให้ ประสบผลสาเร็จถือเป็ นหลักของการรบทางอากาศที่ต้องนาไป ั ปฏิบติให้ เกิดเป็ นรูปธรรมมากที่สด นันคือการได้ รับชัยชนะต่อคู่ต่อสู้ แนวความคิดของหลักการนี ้ ั ุ ่ ประกอบไปด้ วย ๑. ความต้ องการด้ านการฝึ กนักบินที่สมบูรณ์แบบและ “การพัฒนายุทธวิธีอย่ างตลอด กาล (Perpetual Improvement of Tactics)” เพื่อปรับแปลงยุทธวิธีการบินรบทางอากาศให้ พฒนา ั ถึงขีดสุด เท่าทันต่ออาวุธยุทโธปกรณ์และรูปแบบของอากาศยานที่กาลังก้ าวหน้ าไป
  • 8. ๘ ๒. การพัฒนายุทธวิธีให้ ทนต่อกาลสมัยมีความจาเป็ นอย่างยิงยวด การพัฒนาความคิดอัน ั ่ ชาญฉลาด การมีความคิดริเริ่มและความคิดสร้ างสรรค์จะเป็ นตัวสร้ างกลยุทธใหม่ ๆ เพื่อการเอาชนะ ขึ ้นมาได้ ยุทธวิธีที่คิดค้ นขึ ้นใหม่นี ้ เมื่อนามาทาการบินทดสอบให้ เห็นจุดสาเร็จและจุดบกพร่องแล้ ว จะสามารถนาไปปรับปรุง แก้ ไข พัฒนา บันทึกไว้ เป็ นคู่มือ แล้ วนาไปปฏิบติใช้ ในการสู้รบจริง ั ๓. นักบินรบทางอากาศที่ดีจะต้ องหมันศึกษาบทเรี ยนจากการรบทางอากาศในอดีตอย่าง ่ สม่าเสมอ การศึกษายุทธวิธีการรบทางอากาศไม่ว่าใหม่หรื อเก่า ย่อมทาให้ ผ้ ศึกษาค้ นคว้ าเกิดความ ู ชานาญและรู้เท่าทันกลยุทธที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ความรู้ความชานาญเหล่านี ้จะออกมาในรูป ของการตัดสินใจเพื่อปฏิบติในอากาศอย่างทันท่วงทีโดยอัตโนมัติ ั ๔. ขณะบินรบในอากาศ นักบินจะต้ องหมันตรวจสอบ “สถานะ (Status)” ของตนเองอยูเ่ สมอ ่ เช่น ระดับแนวโน้ มของพลังงาน (Potential Energy) ที่ตนเองมีอยูก่อนทาการรบ (ความเร็ว , ระยะสูง , ่ สมรรถนะของอากาศยาน) ระบบอาวุธและเทคนิคในการใช้ งาน นามันเชื ้อเพลิง เวลาสัมพัทธ์ระหว่าง ความเร็วของเครื่ องบินข้ าศึกและฝ่ ายเรา เป็ นต้ น ๕. ระมัดระวังในการแผ่สญญาณต่าง ๆ ออกจากตัวเครื่ องบินรบฝ่ ายเรา อาจจาเป็ นถึงจากัด ั การใช้ อปกรณ์เรดาร์ ตรวจจับในอากาศในพื ้นที่ที่เราสามารถรักษาการจู่โจม (Surprise) ได้ ุ นอกจากนี ้ ยังมีประเด็นที่จะต้ องนาไปพิจารณาเพื่อให้ การรบในอากาศประสบผลสาเร็จดังนี ้ ๑. การใช้ การลวง การรักษาความปลอดภัยด้ านการติดต่อสื่อสารและการควบคุมการแผ่ สัญญาณต่าง ๆ ในอากาศคือความจาเป็ นอย่างยิงในการให้ ได้ มาซึงความสาเร็จ ่ ่ ๒. ข้ อมูลทางสถิติที่สาคัญซึงได้ มาจากบทเรี ยนการรบทางอากาศอันเป็ นสิ่งที่นกบินรบทุกคน ่ ั ควรรู้และควรนาไปพิจารณาในการกาหนดยุทธวิธีในการบินรบ คือ ๒.๑ การถูกยิงโดยไม่ สังเกต (Unobserved Shots) จากข้ าศึก ๘๐ – ๘๕ เปอร์ เซ็น เป็ นการถูกยิงในขณะที่นักบินอยู่ในระหว่ างการบินโดยใช้ ท่าทางตั้ง (Vertical Maneuvering) ๒.๒ มีเพียง ๑๐ – ๑๕ เปอร์ เซ็นเท่ านั้นที่ถูกยิงโดยไม่ สังเกตจากข้ าศึกในขณะที่ นักบินอยู่ในระหว่ างการบินท่ าทางระดับ (Horizontal Maneuvering) ๓. การใช้ ยทธวิธีการเข้ าโจมตีจากหลายทิศทางมีความสาคัญเป็ นอย่างมากที่จะทาให้ การรบ ุ ทางอากาศประสบผลสาเร็จ ทังนี ้จะต้ องพิจารณาถึงรูปแบบของกระบวนหมู่บินฝ่ ายข้ าศึกว่าจัดใน ้ รูปแบบใด ซึงอาจแบ่งได้ เป็ น ๒ แนวทางหลัก ๆ คือ การจัดรูปกระบวนหมู่บินในแนวลึกทางระดับ ่ (Extended in Depth) และการจัดรูปกระบวนหมู่บินในทางตัง (Covering Formation) การโจมตี ้ หลายทิศทางนี ้ อาจมิได้ มีความมุ่งหมายที่จะวางแผนเข้ าต่อตีในทุกหมู่บินของกระบวนหมู่บินฝ่ าย
  • 9. ๙ ข้ าศึก แต่อาจเป็ นการเลือกเข้ าโจมตีหมู่บินใดหมู่บินหนึงหรื อกลุ่มใดกลุ่มหนึงเพื่อให้ เกิดความ ่ ่ ระส่าระสายของกระบวนหมู่บินใหญ่ก็ได้ ๔. ทฤษฎีการบินรบทางอากาศของโซเวียต หลักการบินรบทางอากาศของ Colonel Dubrov ในหนังสือ Aviatsiya I Kosmonavtika ประกอบด้ วยแนวความคิดหลักดังนี ้ ๑. กรอบของการสู้รบทางอากาศได้ เพิ่มขึ ้นอย่างกว้ างไกล ดังนันวิธีการในการควบคุมการรบ ้ ทางอากาศจึงถูกบีบบังคับให้ ต้องได้ รับการทบทวน ๒. การปรากฏของอาวุธจรวดนาวิถีสมรรถนะสูงสมัยใหม่ (Guided Missiles) ได้ ขยาย ขอบเขตของศักยภาพในการโจมตี รวมไปถึงการผนวกเอาระบบและวิธีการในการยิงไปพัฒนาสู่การ ดาเนินกลยุทธในการบินรบทางอากาศด้ วย ๓. ระบบเรดาร์ ตรวจจับอันทรงประสิทธิภาพทาให้ การทาลายข้ าศึกของฝ่ ายรุกสามารถ กระทาได้ จากระยะเกินสายตา (Beyond Visual Range) ดังนันมาตรการการต่อต้ าน ้ (Countermeasures) จึงต้ องพัฒนาตามมาและจะส่งผลโดยตรงต่อการดาเนินกลยุทธของฝ่ ายรับ ๔. เทคโนโลยีในการรบด้ วยการใช้ ศกยภาพของกาลังทางอากาศประสิทธิภาพสูงนี ้ ในที่สด ั ุ จะลงมาถึงแม้ ในการรบทางอากาศขนาดย่อยซึงนักบินรบทุกคนไม่อาจปฏิเสธได้ ไม่ว่ารูปแบบของ ่ สงครามในท้ องถิ่นที่ตนเผชิญอยูจะเป็ นเช่นไรก็ตาม เทคโนโลยีใหม่ ๆ เหล่านี ้แสดงให้ เห็นว่าการรบ ่ ตามแบบธรรมเนียมเดิม ๆ ที่ใช้ อยูจาเป็ นต้ องได้ รับการทบทวนเปลี่ยนแปลง และที่สาคัญคือความ ่ ต้ องการนักบินรบที่มีความชานาญสูง ๕. “การค้นหา (Search)” จะเป็ นกุญแจสาคัญในขันตอนแรกของการสู้รบทางอากาศ มิใช่ ้ “การเข้าใกล้ (Closing)” ในขันตอนของการค้ นหานี ้นักบินและเจ้ าหน้ าที่แจ้ งเตือนและควบคุมจะต้ อง ้ ประสานงานกันอย่างใกล้ ชิดมากขึ ้นกว่าเดิมทังในด้ านการตรวจจับและพิสจน์ฝ่าย นันหมายถึงการ ้ ู ่ ติดต่อสื่อสารจะเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะส่งผลให้ การบินรบเกิดความซับซ้ อนเพิ่มมากขึ ้น ๕. แนวความคิดใหม่ ทางด้ านยุทธวิธี (New Tactical Concepts) Colonel Dubrov ได้ เขียนเรื่ อง “หัวข้ อ ๗ บท (Seven Articles)” ไว้ ในหนังสือ Aviatsiya I Kosmonavtika ซึงได้ ทบทวนวิวฒนาการแนวความคิดทางด้ านยุทธวิธีไว้ ดงนี ้ ่ ั ั ๕.๑ การค้ นหา (Search - Poisk) การค้ นหาทางยุทธวิธี ๕.๒ การเข้ าใกล้ (Closing - Sblizhenie) การเปลี่ยนเข้ าสู่การสกัดกัน ้
  • 10. ๑๐ ๕.๓ การเข้ าโจมตี (Attack - Ataka) การบินเข้ าสู่กรอบการใช้ อาวุธ ๕.๔ การดาเนินกลยุทธ (Maneuver - Manevr) การบินรบพัวพัน ๕.๕ การแยกตัวออกจากการรบ (Disengagement–Vykhod Iz Boya) การฉากตัวออกจากวงรบ ๕.๖ การประสานการโจมตี (Coordination - Vzaimodeistvie) การบินสนับสนุนซึงกันและกัน ่ ๕.๗ การควบคุม (Control - Upravlenie) การบริหารการสงคราม การแบ่งกลไกในการสู้รบทางอากาศของรัสเซียจะเป็ นไปตามมุมมองของ Dubrov นี ้ โดยนักบิน รบของรัสเซียจะใช้ ยดถือไว้ เป็ นหลักในการวางแผนยุทธวิธีการรบ หากจะเปรี ยบเทียบกับ ขันตอนของ ึ ้ การบินรบในอากาศ (Phrases of Air Combat) ของสหรัฐ ฯ ซึงพิจารณาว่าระบบบัญชาการและ ่ ควบคุมเป็ นบทบาทหน้ าที่แฝงอยูในทุกขันตอนแล้ ว และกาหนดขันตอนไว้ ดงนี ้คือ ่ ้ ้ ั ๑. ช่วงการเข้ าใกล้ ของฝ่ ายข้ าศึก (Closing of Forces) ๒. การจัดกระบวนยุทธเพื่อให้ เกิดความได้ เปรี ยบตังแต่เริ่มต้ น (Maneuver to Attain Initial ้ Advantage) ๓. การเลี ้ยวเข้ าหาตาแหน่งได้ เปรี ยบต่อการใช้ อาวุธ(Conversion of Advantage to Kill) ๔. การใช้ อาวุธทาลายข้ าศึก (Achieving the Kill) จะเห็นได้ ว่าใน ๓ หัวข้ อหลักของขันตอนการรบทางอากาศของโซเวียตจะเทียบได้ กบขันตอนแรก ้ ั ้ ของสหรัฐ ฯ คือ Closing of Forces ส่วนในหัวข้ อ Maneuver ของโซเวียตจะควบคุมทัง้ ๓ ขันตอน ้ สุดท้ ายของสหรัฐ ฯ ณ จุดนี ้มีข้อพิจารณาคือ การใช้ กาลังทางอากาศของสหรัฐ ฯ นันเป็ นการใช้ กาลัง ้ ทางอากาศในเชิงรุกเสมอ การยิงข้ าศึกในอากาศถือเป็ น “วิทยาการที่แน่ นอน (Precise Science)” ด้ วยคาถามที่ว่าจะใช้ อาวุธอย่างไรและเมื่อใดเท่านัน ความเป็ นจ้ าวในการรบทางอากาศของสหรัฐ ฯ ้ จึงมุ่งไปยังการขยายขอบเขตการใช้ อาวุธที่พฒนาให้ กว้ างไกลยิงขึ ้นมากกว่า ั ่ “วิธีอื่น ๆ ” ดังนัน ้ “สไตล์” ของโซเวียตจะสะท้ อนให้ เห็นถึงศิลปะและการใช้ สมรรถนะในแต่ละขันตอนของการรบทาง ้ อากาศมากกว่า ๕.๑ การค้ นหา (Search – Poisk), การค้ นหาทางยุทธวิธี การกวาดจับและค้ นหา (Scanning and Searching) ขันตอนของการกวาดจับและค้ นหาถือเป็ นก้ าวแรกในกระบวนการวางแผนยุทธวิธีการรบทาง ้ อากาศที่มีความสาคัญเป็ นอย่างยิง เป็ นขันตอนที่เครื่ องบินรบทุกเครื่ องในหมู่บินจะต้ องพยายาม ่ ้ ตรวจจับเครื่ องบินของข้ าศึกให้ ได้ ก่อนดาเนินกลยุทธในขันต่อไป การแบ่งความรับผิดชอบในการ ้ ค้ นหาจะทาให้ สามารถตรวจจับเปาหมายฝ่ ายตรงข้ ามในพื ้นที่ระวังปองกันของฝ่ ายเราได้ อย่าง ้ ้ ครอบคลุมทัวถึง หลักนิยมในการกวาดจับและค้ นหาประกอบไปด้ วยการใช้ ระบบเรดาร์ ในอากาศยาน ่
  • 11. ๑๑ ระบบควบคุมและแจ้ งเตือนจากภาคพื ้นหรื อในอากาศ ระบบเครื่ องรับแจ้ งเตือนสัญญาณเรดาร์ (Radar Warning Receiver) ในห้ องขับนักบิน ตลอดจนสายตาของนักบิน ซึงระบบและผู้เกี่ยวข้ อง ่ ทังหมดจะต้ องแบ่งส่วนรับผิดชอบกันตามหน้ าที่ ขีดความสามารถและขีดจากัด อย่างไรก็ตาม เป็ นไป ้ ได้ ว่าในบางสถานการณ์อาจมีเพียงหนึงหรื อสองวิธีการที่ได้ ผลการกวาดจับและค้ นหาได้ ดีที่สด แต่ ่ ุ หัวหน้ าหมู่หรื อผู้ควบคุมภารกิจ (Mission Commander) จะเป็ นผู้วางแผนตัดสินใจว่าใครหรื อ อุปกรณ์ใดจะนามาใช้ เป็ นลาดับความสาคัญหลักตามสถานการณ์ของการรบนัน ๆ ้ รูปแบบของการค้ นหา (Search) จะมีทงการค้ นหาเชิงรับ (Defensive) คือ การเฝาตรวจจับ ั้ ้ การปรากฏของฝ่ ายรุกราน และการค้ นหาเชิงรุก (Offensive) คือ การตรวจจับเพื่อการเข้ าโจมตีและ ทาลายเครื่ องบินฝ่ ายข้ าศึกในเวลาเดียวกัน ในการค้ นหาสามารถกระทาได้ ทงทางตรงและทางอ้ อม ั้ ด้ วยเครื่ องมือตรวจจับดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว อย่างไรก็ตาม การวางระบบเพื่อตรวจจับก็มีความสาคัญที่ ผู้นาหมู่บินจะต้ องกาหนดรายการ วิธีการ แนวทางและอุปกรณ์ที่ใช้ ตรวจจับให้ เหมาะสมต่อ สถานการณ์ เหตุการณ์ในขณะนัน เหตุผลประการหนึง เพื่อปองกันความไม่ประสานสอดคล้ องกัน ้ ่ ้ ของระบบตรวจจับอันอาจทาให้ เครื่ องบินฝ่ ายตรงข้ ามเล็ดลอดการตรวจจับและปองกันการแผ่ ้ สัญญาณของฝ่ ายเราซึงฝ่ ายตรงข้ ามสามารถใช้ ประโยชน์ในการค้ นหาและตรวจจับฝ่ ายเราได้ ่ เช่นเดียวกัน การบินรบทางอากาศสมัยใหม่ในปั จจุบนมุ่งสู่การควบคุมและแจ้ งเตือนจากเครื่ องบินที่เป็ น ั สถานีควบคุมและบัญชาการในอากาศอันเป็ นที่ซงสภาพภูมิประเทศไม่เป็ นอุปสรรคต่อการตรวจจับ ึ่ ด้ วยเรดาร์ อีกต่อไป ปั ญหาที่ต้องเผชิญจึงเป็ นเรื่ องของการลวง (Deception) และการรบกวน สัญญาณ (Jammimg) ที่นกบินจะต้ องเอาชนะเพื่อการให้ ได้ มาซึงข้ อมูลที่ถกต้ องเชื่อถือได้ ั ่ ู เพื่อที่จะให้ นกบินสามารถใช้ ระบบอาวุธและการค้ นหาตรวจจับในอากาศได้ อย่างมี ั ประสิทธิภาพมากที่สดโดยมีปัจจัยพิจารณาจากความได้ เปรี ยบทางด้ านเทคโนโลยีและการฝึ กของ ุ ค่ายตะวันตก (สหรัฐ ฯ) กองทัพอากาศโซเวียตจึงได้ ทาการทดลองการจัดหมู่บินในหลาย ๆ รูปแบบ ซึงส่งผลอย่างสูงต่อการรบกวนแนวทางการรบของฝ่ ายตรงข้ าม รูปแบบที่โซเวียตได้ ทาการทดลอง ่ ได้ แก่ ๑. การบินเรี ยงหน้ ากระดาน ๒ – ๓ เครื่ อง ๒. หมู่บินที่ประกอบไปด้ วยอากาศยานต่างแบบกัน ๓. การใช้ เครื่ องจานวนมากบินสนับสนุนกันในแต่ละกลุ่ม จาก ๖ – ๘ เครื่ อง ไปจนถึง ๑๒ – ๒๔ เครื่ อง
  • 12. ๑๒ ๔. การจัดหมู่บินหลายหมู่บินแยกระดับความสูงและวางทิศทางการบินสนับสนุนที่แตกต่าง กัน ๕. การใช้ เทคนิคการทา HOOK และ SNAP ด้ วยเครื่ องบินทังแบบเดียวกันและต่างแบบกัน ้ ๖. การพัฒนาเทคนิคการเข้ าสกัดกันให้ ผิดแนวทางปกติธรรมดามากยิงขึ ้น ้ ่ ๗. การใช้ ลิงล่อ (Monkey) หรื อ นกต่อ (Decoy) เพื่อเบี่ยงเบนความหรื อบังคับสนใจไปยัง หมู่บินลวงเหล่านี ้ ๘. ความพยายามในการสร้ างหนทางอันหลากหลายที่จะเข้ าจู่โจมเครื่ องบินฝ่ ายข้ าศึกและ พัฒนาแนวทางการใช้ ระบบอาวุธแบบ BVR ให้ มีประสิทธิภาพมากยิงขึ ้น ่ ๙. ผสานการใช้ ระบบการต่อต้ านทางอิเล็กทรอนิกส์ซงบรรทุกอยูบนเครื่ อง ทังระบบ Chaff/ ึ่ ่ ้ Flares / Jammer / Deception-Repeater ๑๐. การใช้ เทคนิค switch ความสูงเพื่อหลีกเลี่ยงจุดแข็งของเทคโนโลยีที่ทนสมัย ั ๑๑. การพิจารณาจาแนกและแยกข้ าศึกตามลาดับความสาคัญโดยคานึงถึงความเสียงจาก สมรรถนะ ขีดความสามารถและระบบอาวุธที่เครื่ องบินข้ าศึกมีอยู่ ๑๒. การรวมแบบของอากาศยานต่าง ๆ เข้ าด้ วยกันและการผสานขีดความสามารถของ SAM/AAA เข้ าในระบบการรบทางอากาศให้ เกิดประสิทธิภาพสูงสุด การจัดหมู่บินรบตามแนวทางของโซเวียตจะพิจารณาจากแบบและขีดความสามารถของ ๑. อากาศยานและระบบอาวุธฝ่ ายตน ๒. อากาศยานและระบบอาวุธฝ่ ายข้ าศึก ๓. การเผชิญหน้ าและยุทธวิธีการใช้ อาวุธ ๔. ความเจนจัดเชี่ยวชาญของนักบิน ๕. สภาพอากาศ ๖. ผลพิสจน์จากหลักนิยมการรบทางอากาศและแนวความคิดในการปฏิบติภารกิจ ู ั ๗. การสังเกตและเข้ าใจในสภาพแวดล้ อมของข้ าศึก ๘. การใช้ นกต่อหรื อลิงล่อ
  • 13. ๑๓ ๕.๒ การเข้ าใกล้ (Closing – Sblizhenie), การเปลี่ยนเข้ าสู้การสกัดกัน (Conversion to ้ Intercept) การเปลี่ยนสู่ขนของการเข้ าสกัดกันเริ่มต้ นจากวินาทีแรกที่นกบินพิสจน์ทราบเปาหมายได้ แน่ ั้ ้ ั ู ้ ชัดว่าเป็ นเครื่ องบินของฝ่ ายข้ าศึกหรื อได้ รับการแจ้ งเตือนยืนยันว่าดเปาหมายในอากาศข้ างหน้ าคือ ้ ข้ าศึก จุดมุ่งหมายสาคัญที่สดของขันตอนนี ้คือการจัดเตรี ยมตาแหน่งของตนเพื่อให้ เป็ นฝ่ ายได้ เปรี ยบ ุ ้ เพื่อการรุกตังแต่เริ่มต้ น ในขณะเดียวกันก็อาจเป็ นการเปลี่ยนขันตอนเข้ าสู่การโจมตีได้ ในกรณีที่ ้ ้ อากาศยานมีการบรรทุกระบบอาวุธแบบ BVR และเป็ นการก้ าวสู่ขนตอนการดาเนินกลยุทธและยิงใน ั้ กรณีที่เป็ น Within Visual Range Engagement เทคนิคของการเข้ าใกล้ อธิบายได้ ว่า “คือการดาเนินกลยุทธจาเพาะในระหว่ างที่กาลัง ของทั้งสองฝ่ ายเคลื่อนที่เข้ าประชิดกันเพื่อให้ นักบินเข้ าสู่ตาแหน่ งที่เหมาะสมที่สุดในการใช้ อาวุธ” ในการปฏิบติการบินจริง สภาพอากาศและสภาพการบินกลางคืนจะเป็ นอุปสรรคสาคัญที่ทา ั ให้ ขนตอนนี ้มีความยุงยากซับซ้ อนมากที่สด ั้ ่ ุ ในปั จจุบน การเข้ าใกล้ ที่มีประสิทธิภาพมากที่สดคือ “การบินที่ระยะสูงต่า ” เนื่องจากจะ ั ุ ช่วยลดขีดความสามารถของเรดาร์ ฝ่ายข้ าศึก นอกจากนี ้การบินที่ระยะสูงต่า ทาให้ ฝ่ายตรงข้ ามที่ต้อง ตอบโต้ ฝ่ายเรากระทาได้ ด้วยความยากลาบากและต้ องใช้ ความระมัดระวังเพิ่มมากขึ ้น คาว่า “ระยะสูงต่า ” นี ้ นิยามได้ จาก “ระยะสูงซึ่งต่ากว่าขี ดความสามารถต่าง ๆ ของฝ่ าย ข้าศึกทีมีอยู่ จะสามารถมองเห็นหรื อตรวจจับได้” การพรางตัว การตอบโต้ ทางอิเล็กทรอนิกส์ การลวง ่ และยุทธวิธีจะเป็ นสิ่งช่วยให้ นกบินเอาตัวรอดจากการบินที่ระยะสูงต่า ผลสาเร็จของขันตอนการ ั ้ เข้ าใกล้ นีจะมาจากคุณภาพของการวางแผนล่ วงหน้ าโดยตรง การวางแผนล่วงหน้ าและการ ้ ฝึ กซ้ อมซ ้าแล้ วซ ้าอีกเป็ นกุญแจสาคัญในการให้ ได้ มาซึงความสาเร็จ ถึงแม้ ว่าสมรรถนะและขีด ่ ความสามารถของอากาศยานและระบบอาวุธจะเป็ นปั จจัยสาคัญของการได้ เปรี ยบ แต่การบริหาร
  • 14. ๑๔ จัดการเพื่อนาทรัพยากรต่าง ๆ มาใช้ ให้ เกิดประสิทธิผลนันสาคัญยิงกว่า การจัดหมู่บินเพื่อให้ เกิด ้ ่ ประโยชน์ในการเสาะหาและพร้ อมเข้ ารบสกัดกันเป็ นประเด็นสาคัญที่ต้องการการวางแผน การวาง ้ รูปหมู่กระบวนบินทังการแยกระยะสูง การจัดระยะห่าง การวางตาแหน่งหมู่บินที่สนับสนุนต่อกัน การ ้ ประสมอากาศยานต่างแบบในหมู่บินเดียวกัน เทคนิคการทา Hook Sprit, Drag, Stern etc. คือ ยุทธวิธีที่ต้องฝึ กฝนและนาไปใช้ ๕.๓ การเข้ าโจมตี (Attack – Ataka), การบินเข้ าสู่ขอบเขตการใช้ อาวุธ ในรูปแบบการบินรบทางอากาศของโซเวียต ขันตอนการเข้ าโจมตีฝ่ายข้ าศึกจะต้ องรุนแรงและ ้ เด็ดขาด การเข้ าทาลายเครื่ องบินรบฝ่ ายข้ าศึกจะต้ องรวดเร็วเพื่อดารงการจู่โจมของฝ่ ายเราไว้ ให้ ได้ เปาหมายคือ ต้ องยิงเครื่ องบินข้ าศึกให้ ได้ ใน “ผ่าน” แรกหรื อโอกาสแรกที่สามารถกระทาได้ ในการบิน ้ เข้ าโจมตีใช้ อาวุธต่อเครื่ องบินข้ าศึกซึงแต่เดิมซึงใช้ อาวุธนาวิถีด้วย Infrared นัน ปั จจัยสาคัญตาม ่ ่ ้ แบบธรรมเนียมคือการสร้ างความฉงน (Surprise) แต่ในปั จจุบน การใช้ อาวุธนาวิถีแบบ Beyond ั Visual Range ด้ วยการยิงระยะไกลได้ ขยายขอบเขตแนวความคิดของขันตอน “การโจมตี ” ให้ ้ กว้ างไกลออกไป ในทางปฏิบติ โอกาสของการยิงด้ วยอาวุธ BVR ทาให้ ขนตอนการโจมตีเปลี่ยนไปอยู่ ั ั้ ณ ขันตอนการเข้ าใกล้ ดังนันการแบ่งขันตอนเพื่อการวางแผนการรบทางอากาศจะอยูที่การควบคุม ้ ้ ้ ่ ระบบอาวุธและการตัดสินใจในห้ องขับนักบิน โดยทัวไป ธรรมชาติของการพิสจน์ฝ่ายจะยังคงเดิมไม่มี ่ ู การเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะอยูในสถานการณ์ของ BVR หรื อ WVR คือมิได้ ขึ ้นอยูที่นกบินหรื อ ่ ่ ั Controller แต่จะอยูที่การยืนยันครังแรกว่าเปาหมายนันเป็ นเครื่ องบินของฝ่ ายข้ าศึก การโจมตีจึง ่ ้ ้ ้ ขึ ้นกับความถูกต้ องแม่นยาในการเลือกสิทธิเข้ า Ingress ข้ าศึกเพื่อให้ ได้ ตาแหน่งใช้ อาวุธที่เหมาะสม ที่สดติดตามด้ วยการปล่อยอาวุธอย่างจู่โจม รวดเร็วเพื่อให้ สามารถทาลายเครื่ องบินข้ าศึกให้ ได้ ใน ุ โอกาสแรก จากการศึกษาของโซเวียต ความน่าจะเป็ นของการ Kill (Probability of Kill) ของแต่ละโอกาส ซึงชี ้ชัดไว้ ในหลักนิยมทางยุทธวิธีได้ ให้ ค่าความสาเร็จไว้ ดงนี ้ ่ ั First Pass 70% Second Pass 15% Third Pass 10% Fratricide 5% จากสาเหตุที่ความน่าจะเป็ นของการ Kill ใน Pass แรกไม่สามารถให้ ความมันใจได้ 100% นี ้ ่ เอง ทาให้ โซเวียตต้ องพัฒนาขันตอนของ “การแยกตัวจากวงรบ (Disengagement)” เพื่อกาหนด ้ ยุทธวิธีให้ นกบินวางแผนในการออกไปตังหลักเพื่อหาโอกาสเข้ าโจมตีใหม่อีกครังหนึง ด้ วย ั ้ ้ ่
  • 15. ๑๕ องค์ประกอบของวงรอบในการโจมตีเหล่านี ้ ทาให้ การประสานการโจมตี (Cooperative) เข้ ามามีส่วน สาคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพของการโจมตีโดยที่ยงต้ องรักษาการจู่โจม (Surprise) ไว้ ให้ ได้ โดยมี ั ปั จจัยพิจารณา คือ / การใช้ อากาศยานจานวนมากย่อมก่อให้ เกิดความยากลาบากในการดูแล บินสนับสนุน เครื่ องบินฝ่ ายเดียวกัน / ความแออัดของจานวนเครื่ องในอากาศจะถูกจากัดด้ วยกรอบของระบบควบคุมและสังการ ่ ที่สามารถสนันสนุนได้ / การปฏิบติการแบบผสมของรัสเซียมีความหมายแตกต่างจากการผสมกาลังของซีกโลก ั ตะวันตก รัสเซียเองเข้ าใจดีว่า ระบบอาวุธอากาศยานที่มีทนสมัยหรื อมีเทคโนโลยีที่สงกว่าย่อมนา ั ู ความสาเร็จในการ “โจมตี” ได้ มากกว่า แต่เช่นเดียวกัน การปฏิเสธไม่เปิ ดโอกาสให้ ฝ่ายตรงข้ ามได้ ใช้ ความได้ เปรี ยบจากระบบเหล่านี ้ก็สามารถสร้ างผลสาเร็จให้ กบการรบได้ ดีเท่ากับการไม่มีเทคโนโลยี ั เหล่านันเป็ นของตนเอง ้ “การจู่โจม ” และ “การลวง” เป็ นหัวใจเป็ นหัวใจแห่งชัยชนะของขันตอนการเข้ าโจมตี การ ้ จัดรูปแบบของกระบวนหมู่บินรบได้ ถกพัฒนาขึ ้นเพื่อให้ สะดวกต่อการ “เห็น ” ข้ าศึกได้ ก่อน แต่ไม่ ู จากัดเทคนิคการเข้ าต่อตีในขันตอนต่อไป โดยมีแนวความคิดในการจัดหมู่บินคือ ้ / การจัดหมู่บิน ๒ ด้ วยเครื่ องบินรบต่างแบบ / การจัดหมู่บิน ๓ เพื่อการการบินแบบใช้ แผนพิเศษ (Specific Application) / การเสริมเครื่ องบินเดี่ยว หรื อหมู่ค่เู พื่อเพิ่มขีดความสามารถอื่น ๆ เช่น ขีดความสามารถของ เรดาร์ จรวดนาวิถีหรื อคุณสมบัติพิเศษจากแบบเครื่ องบินรบที่ต้องการ / โลกตะวันตกอาจใช้ จรวดนาวิถีแบบ BVR เป็ นตัวกาหนดแบบในการเข้ าต่อสู้ แต่รัสเซียจะใช้ เทคนิคในการเป็ น “กระจก” สะท้ อนด้ วยการส่งเครื่ องบินบินรบที่จดความสาคัญน้ อย (ลิงล่อ ) ปฏิบติ ั ั ภารกิจก่อกวนกระบวนแผนการรบของข้ าศึกจนกว่าโอกาสและจังหวะที่ถกต้ องมาถึง เมื่อนัน ู ้ เครื่ องบินรบ “คุณภาพ ” จะผงาดเข้ าแทนที่ในช่วงเวลาอันน้ อยนิดขณะที่ข้าศึกกาลังสับสนและ ปรับเปลี่ยนยุทธวิธีอยูทนที ่ ั / จากจุดยืนของการใช้ ยทธวิธีแบบ BVR ล้ วน ๆ ของโลกตะวันตก รัสเซียพยายามคิดค้ น ุ แนวความคิดในการ “เก็บซ่อน” เครื่ องบินรบคุณภาพออกจากเครื่ องบินฝ่ ายข้ าศึกด้ วยการดาเนินกล ยุทธการบิน (Maneuver) เพื่อให้ การใช้ ยทธวิธีด้วยจวดนาวิถี BVR ของฝ่ ายตรงข้ ามเข้ าสู่กบดักของ ุ ั จุดบอดในอากาศด้ วยการสร้ างจังหวะและหมู่บินที่ซบซ้ อน หลีกเลี่ยงเทคนิคการบินแบบ ั Pure
  • 16. ๑๖ Tactical Intercept และการผสมแบบของเครื่ องบินรบเข้ าด้ วยกันอันเป็ นสิ่งที่ฝ่ายตรงข้ ามไม่ ปรารถนา ๕.๔ การดาเนินกลยุทธ (Maneuver – Manevr), การบินรบพัวพัน การดาเนินกลยุทธคือ “ส่ วนผสมของท่ าทางการบิน” ที่นกบินนามาใช้ เพื่อเปาประสงค์ที่จะ ั ้ ให้ ได้ มาซึงความได้ เปรี ยบเหนือฝ่ ายตรงข้ าม ซึงก็คือ การเข้าตาแหน่งยิง การดาเนินกลยุทธนี ้มุ่งเน้ นที่ ่ ่ การบริหารการบินภายในระยะสายตา (WVR) เท่านัน General Tuzov ได้ ให้ ความเห็นเกี่ยวกับการ ้ ดาเนินกลยุทธและการยิงว่า “เป็ นองค์ประกอบสาคัญยิงยวดของการบินรบในอากาศในอนาคต” ่ ความสาเร็จของการดาเนินกลยุทธเกิดจากความได้ เปรี ยบต่าง ๆ รวมกัน เช่น เครื่ องบินมี Wing Loading ต่า มี Thrust-to-Weight Ratio สูง มีแนวความคิดของ Basic Fighting Maneuver ที่ ชาญฉลาด มีประสิทธิภาพ รัศมีวงเลี ้ยว อัตราการเลี ้ยวของเครื่ องบินสัมพันธ์และสนับสนุนต่อระบบ อาวุธ (จรวดนาวิถีหรื อปื นใหญ่อากาศ) ที่มี ซึงทังหมดนี ้นักบินจะต้ องเป็ นผู้นามาใช้ ให้ เหมาะสมต่อ ่ ้ สมรรถนะของอากาศยาน เช่นเดียวกับประเทศฝรั่งเศส รัสเซียได้ แผนแบบจรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศ ตามหลักนิยมการบินรบทางอากาศของตน จรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศ APHID และ Magic ถูก ออกแบบมาเพื่อใช้ ในการ Dogfight และมีประสิทธิภาพสูงสุดต่อการใช้ ในสภาวะการบินแบบระยะ ประชิด (WVR Close-In Environment) กล่าวโดยทัวไปแล้ วประสิทธิภาพหวังผลคือภายในระยะ ๑ ่ ไมล์ซงการบินเพื่อดาเนินกลยุทธจะต้ องสัมพันธ์กบสมรรถนะของเครื่ องบินในเรื่ องของวงเลี ้ยวอย่าง ึ่ ั ถูกต้ องแม่นยา เมื่อการบินรบพัวพันเกิดขึ ้น การจัดรูปแบบหมู่บินโดยทัวไปจะกลับมาสู่การบินหมู่ ๒ ่ ปกติ เป็ น Engage Fighter และ Free (Cover) Fighter หรื อจัดในรูปแบบของการใช้ เทคนิคการบิน หมู่ ๓ ความพยายามในการบินทังหมดจะทุมเทให้ กบโอกาสในการใช้ อาวุธต่อฝ่ ายตรงข้ าม รัสเซีย ้ ่ ั ประเมินการใช้ จรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศแบบ BVR ของค่ายตะวันตกว่า “เป็ นการเพิ่มโอกาสการใช้ อาวุธให้ กว้ างขึ ้นเท่านัน” ้ จานวนของอาวุธที่บรรทุกบนอากาศยานก็มีความสาคัญเช่นกัน รัสเซียกาหนดให้ เครื่ องบิน ขับไล่ต้องมีจรวดนาวิถีอากาศสู่อากาศอย่างน้ อย ๔ นัด ติดตังปื นใหญ่อากาศหรื อกระเปาะปื นใหญ่ ้ อากาศ (Gunpod) ในเครื่ องบินขับไล่ทกลา ที่สาคัญคือการจัดหมู่บินแบบพิเศษเพื่อให้ อาวุธที่บรรทุก ุ มาในแต่ละเครื่ องสามารถใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด เมื่อเทียบอดีตกับปั จจุบน ขันตอนการค้ นหากระทาได้ สะดวก รวดเร็วและแม่นยามากขึ ้นด้ วย ั ้ ระบบเรดาร์ อนทันสมัย การสู้รบในระยะประชิด นักบินต้ องชิง “การริเริ่ม ” อย่างเฉลียวฉลาด นักบิน ั จะต้ องไม่ยดติดกับรูปแบบของขันตอนหรื อเทคนิคการบินที่ตายตัว ความปราศจากเหตุผล ึ ้
  • 17. ๑๗ (Irrational) นวัตกรรมคิดค้ นและการดาเนินกลยุทธด้ วยสมรรถนะของอากาศยานที่สนับสนุนได้ จะทา ให้ นกบินประสบชัยชนะ กลยุทธแบบปราศจากเหตุผลที่ประสบความสาเร็จเหล่านี ้นี่เอง ที่ต่อไปจะ ั ได้ รับการประทับตรารับรองให้ ถือใช้ เป็ นแนวทางในอนาคต มิใช่การบินในรูปแบบเดิมที่ซ ้าแล้ วซ ้าเล่า สิ่งสาคัญที่สดของการบินรบแบบรัสเซียคือ “มิ ใช่การไหล (flow) ของกระแสการดาเนินกล ุ ยุทธสู่การดาเนินกลยุทธ แต่เป็ นการแยกวงรบย่อยสู่วงรบย่อยขึ้นไปอีก ” เมื่อผนวกกับ “การริเริ่ม ” แล้ ว การรบในอากาศแบบรัสเซียจึงมีเมนู (Menu) ให้ เลือกใช้ หลายประการ ๕.๕ การแยกตัวออกจากการรบ (Disengagement – Vykhod Iz Boya), การฉากตัวออกจาก วงรบ ขันตอนนี ้เป็ นการแยกตัวของเครื่ องบินขับไล่โจมตี (Attacker) ออกจากวงคู่ต่อสู้ (ออกจาก ้ ขอบเขตการใช้ อาวุธ – Firing Envelope) ขันตอนของการแยกตัวมี ๒ ลักษณะ คือ ้ ๕.๕.๑ FREE เป็ นจุดที่นกบินพิจารณาแยกตัวออกจากวงรบเนื่องจากสามารถสกัดกันข้ าศึก ั ้ หรื อปล่อยอาวุธเข้ าใส่เครื่ องบินข้ าศึกได้ แล้ ว ๕.๕.๒ FORCE เป็ นจุดที่นกบินพิจารณาแยกตัวออกจากวงรบเนื่องจากเสียเปรี ยบฝ่ าย ั ข้ าศึก อากาศยานเสียหายหรื อเครื่ องบินข้ าศึกกลับมาได้ เปรี ยบ การยิงให้ ได้ เร็ว (Quick Kill) เป็ นผลมาจากความสาเร็จต่อเนื่องนับแต่ขนตอนการเข้ าใกล้ ั้ (Approach) และการเข้ าโจมตี (Attack) ประโยชน์ของการดาเนินกลยุทธในระยะประชิดนอกจาก เพื่อต้ องการให้ ได้ ตาแหน่งยิงแล้ ว ยังต้ องช่วยให้ นกบินปลอดภัยจากการถูกยิงและสามารถแยกตัว ั จากวงรบทังในลักษณะของ Free และ Force ได้ ด้วย อย่างไรก็ตามการแยกตัวจากวงรบนี ้อาจเกิด ้ จากการได้ รับคาสังจากผู้มีอานาจบัญชาการในการจัดวางแผนกระบวนการบินรบนัน ๆ ก็ได้ ในหลาย ่ ้ กรณี อานาจสังการจากระบบควบคุมและสังการอาจมีความจาเป็ นเหนือการตัดสินใจของนักบิน ซึง ่ ่ ่ ในคาแนะนาการปฏิบติพิเศษจะต้ องระบุอานาจไว้ อย่างชัดเจนแล้ วแต่กรณี ั ความนิยมของการแยกตัวจากวงรบอาจกระทาได้ ด้วยการ Unloaded การ Dive ลงสู่ระยะสูง ต่าสุดด้ วยความเร็วสูงสุดเท่าที่กระทาได้ การ Bugout แบบรัสเซียซึงประกอบด้ วยการผสมอากาศ ่ ยานหลายแบบในหมู่บินกระทาโดยการกาหนดจุดนัดพบอ้ างอิงภายนอกพื ้นที่การรบทางอากาศ จุด นี ้จะเป็ นจุดที่เครื่ องบินรบสามารถกลับมารวมคณะกันใหม่ ส่วนการ Bugout ของสหรัฐ ฯ เป็ นการ ดาเนินกลยุทธด้ วยการจัดหมู่ Mutual Support เพื่อช่วยกันดูแลในการเอาตัวรวดขณะ Bugout และ ให้ เกิดความอ่อนตัวในการกลับเข้ าต่อสู่ใหม่อีกครัง ้
  • 18. ๑๘ ๕.๖ การประสานการโจมตี (Coordination – Vzaimodeistvie), การบินสนับสนุนซึ่งกันและกัน รัสเซียเชื่อมันว่าการใช้ เครื่ องบินรบหลายแบบในการบินรบทางอากาศจะไม่สามารถบรรลุผล ่ สาเร็จหรื อชัยชนะทังในเชิงรุกและเชิงรับได้ หากปราศจากการประสานการโจมตีทงจากหมู่บินรบ ้ ั้ กระบวนหมู่บินรบ ฝูงบินรบและอื่น ๆ การประสานการโจมตีจะต้ องดาเนินการอย่างพิถีพิถน รวมไป ั จนถึงรายละเอียดของการดาเนินกลยุทธ (Maneuver) ในแผนการบินรบ (Combat Plan) ทังหมด ้ ในแผนการรบ นักบินจะต้ องศึกษาตัวแปรทังหมดเพื่อกาหนดบทบาทย่อยลงสู่นกบินเป็ น ้ ั รายบุคคล หลักการในการวางแผนการบินรบก็คือ พยายามบูรณาการการปฏิบติของนักบินทุกคนใน ั แนวทางที่จะจากัดความน่าจะเป็ นของตัวแปรอันไม่พึงประสงค์ออกไป หมู่บิน ๒ ยังคงเป็ นหมู่บินพื ้นฐานสาหรับการบินรบของรัสเซีย เทคนิคในการบินหมู่บิน ๒ ก็ แทบไม่ต่างจากเทคนิคของสหรัฐ ฯ เช่น การรักษาหมู่มิให้ แตกแยกออกจากกัน ความสัมพันธ์ของการ ปฏิบติระหว่างหัวหน้ าหมู่และลูกหมู่ซงมีความสาคัญอย่างยิงยวดและเป็ นตัวกาหนดประสิทธิผลใน ั ึ่ ่ การบินรบ ทังคู่จะต้ องดูแล ระมัดระวัง ปองกันให้ กนและกัน รวมทังประสานการบินเพื่อให้ เกิดอานาจ ้ ้ ั ้ เหนือคู่ต่อสู้ให้ ได้ อย่างไรก็ตาม นับตังแต่ ปี ๑๙๗๙ เป็ นต้ นมา ความเหนียวกันในหลักการของ ้ หมู่ ๒ ได้ ผ่อนคลายลง แต่ยงไม่ถึงกับการแยกยุทธวิธีปฏิบติ หัวหน้ าหมู่สามารถส่งลูกหมู่ให้ ดาเนิน ั ั กลยุทธได้ อย่างอิสระ แต่ต้องเป็ นส่วนหนึงของแผนการโจมตีร่วมกัน เริ่มตังแต่เทคนิคง่าย ๆ เช่น การ ่ ้ Split Plan และการโจมตีเครื่ องบินข้ าศึกด้ วยการประสานการบินอย่างไร้ รูปแบบ ความสาเร็จเพื่อให้ ได้ มาซึงความได้ เปรี ยบทางอากาศประการหนึงก็คือ การจัดรวมหมู่ใหญ่ ่ ่ จากหลายฝูงบินเข้ าด้ วยกัน จานวนหมู่บินขนาดเล็กประกอบด้ วยเครื่ องบินขับไล่ ๘ – ๑๖ เครื่ อง ซึงโดยมากใช้ เพื่อการบินฝึ กให้ เกิดความพร้ อมที่จะรวมเข้ าสู่หมู่ใหญ่ยงขึ ้นกว่านี ้ กาลังปฏิบติการรบ ่ ิ่ ั ในอากาศโดยทัวไปจะจัดเครื่ องบินขับไล่เข้ าสู่กระบวนบินรบตังแต่ ๒๔ เครื่ องเป็ นต้ นไป เหตุผลก็คือ ่ ้ เพื่อขยายกรอบและโอกาสการใช้ อาวุธฝ่ ายตนและเพิ่มพื ้นที่รับผิดชอบในการต่อต้ านจากฝ่ ายข้ าศึก ส่งผลให้ ประสิทธิภาพในการใช้ อาวุธของฝ่ ายตรงข้ ามลดลงแม้ จะมีเทคโนโลยีด้านระบบอาวุธสูงก็ ตาม นอกจากนี ้ ยังต้ องจัดเครื่ องบินที่ใช้ ค้ มกันเครื่ องบินโจมตีทิ ้งระเบิดที่ต้องปฏิบติภารกิจลึกเข้ าไป ุ ั ในดินแดนข้ าศึกด้ วย จานวนของเครื่ องบินคุ้มกันต่อเครื่ องบินโจมตีทิ ้งระเบิดจะต้ อมีอตราส่วนอย่าง ั น้ อย ๒ : ๑ นันหมายถึงต้ องจัดเครื่ องบินคุ้มกันอย่างน้ อย ๘ เครื่ องต่อหมู่บินทิ ้งระเบิด ๔ เครื่ อง จึงจะ ่ เกิดประสิทธิภาพในการคุ้มกันอย่างพอเพียง ในการใช้ เครื่ องบินจานวนมากตามเทคนิคของรัสเซียนี ้ มาจากประวัติศาสตร์ การรบทาง อากาศนับตังแต่สงครามโลกครังที่ ๒ ซึงยังคงใช้ ได้ ผลมาจนถึงปั จจุบน อย่างไรก็ตาม “กาลังบินที่ ้ ้ ่ ั เหนือกว่า (Overpower Flight)” ได้ รับการพัฒนาปรับเปลี่ยนให้ ทนกับการเปลี่ยนแปลงของ “จุดตัด ั
  • 19. ๑๙ ของยุคแห่งคุณภาพ (Quality Cutting Edge)” ที่คณภาพต้ องมาก่อนเหนือปริมาณ การบินวนรอ ุ (Loitering) ที่มีเทคนิครักษาเพดานการบินที่ระยะสูงสุดเพื่อประหยัดเชื ้อเพลิง ปรับเปลี่ยนมาเป็ นการ บินวนรอที่ระยะสูงต่าสุดให้ หมู่บินปฏิบติการอยูเ่ หนือขึ ้นไป เครื่ องบินขับไล่ที่ได้ รับบทบาทเป็ น “ลิง ั ล่อ” จะคอยลวง รังควาน เป็ นเหยื่อล่อ และผูกพันกับเครื่ องบินของข้ าศึกให้ สนใจอย่างไม่จาเป็ น แม้ ข้ าศึกจะรู้กลยุทธนี ้ก็ตาม รอคอยจนกว่าเครื่ องบินรบคุณภาพจะปรากฏตัวแสดงอานุภาพและ เปาประสงค์ที่แท้ จริงออกมาในขณะที่ข้าศึกสับสน ภารกิจของ “ลิงล่อ ” นันสาคัญ เป็ นอิสระ แต่เป็ น ้ ้ ภารกิจตายตัว ส่วนเครื่ องบินรบคุณภาพจะมีความเสรี ในการปฏิบติ แต่จะขึ ้นกับกลยุทธของ ั เครื่ องบินลิงล่อนันโดยตรง ้ ในหมู่บินรบยุคใหม่ของรัสเซีย หัวหน้ าหมู่สามารถเลือกแนวปฏิบติการบินเป็ นของตนเองและ ั อาจแนะนาให้ ลกหมู่สามารถริเริ่มได้ อย่างไรก็ตาม ลูกหมู่จะต้ องนิงและระมัดระวังให้ หวหน้ าหมู่ ู ่ ั จนกว่าจะได้ รับคาแนะนาให้ ปฏิบติ การบินแบบ Close Control จาก GCI ยังคงมีความจาเป็ นในการ ั ให้ ความช่วยเหลือหมู่บิน โดยขยายมุมมองในการตรวจจับและแจ้ งเตือนตาแหน่งเครื่ องบินข้ าศึกที่อยู่ รายรอบให้ เครื่ องบินที่กาลังรบพัวพันอยูได้ ทราบ เทคนิคการบินหมู่ ๒ และหมู่ ๔ ให้ ความอ่อนตัวใน ่ การบินและดาเนินกลยุทธ การประสานการบินนี ้เป็ นความต้ องการที่เกิดจากการดาเนินกลยุทธที่ “รู้ กัน (Known Maneuver)” และ “ผลที่ ต้องการ (Outcomes)” ๕.๗ การควบคุม (Control - Upravlenie), การบริหารการสงคราม รัสเซียถือการปฏิบติด้านการบัญชาการและควบคุมอย่างเข้ มงวดด้ วยการควบคุมแบบ Close ั Control มานานหลายปี เครื่ องบินทุกเครื่ องในอากาศจะได้ รับคาแนะนาและกาหนดทิศทางให้ นกบิน ั ปฏิบติ ในปั จจุบนการบัญชาการและควบคุมได้ เปิ ดโอกาสการริเริ่มให้ แก่นกบิน ปั ญหาก็คือ เมื่อการ ั ั ั จัดกระบวนรบในอากาศประกอบด้ วยอากาศยานที่มีจานวนมากขึ ้น หมู่บินใหญ่ขึ ้น มีการเชื่อมรวม แยกหมู่บินในอากาศ รวมทังความต้ องการใน “ภาพใหญ่ (Big Picture)” มีความจาเป็ นอย่างยิงแล้ ว ้ ่ บทบาทของระบบบัญชาการและควบคุมที่ต้องเผชิญ คือ การสารองข้ อมูลให้ แก่การรบในอากาศ การ แลก-ปรับเปลี่ยนหรื อเปลี่ยนภารกิจในอากาศ รวมไปถึงพิจารณาระดับของความได้ เปรี ยบทาง อากาศเพื่อแจ้ งเตือนภาพรวมให้ หมู่บินขนาดใหญ่ที่ขึ ้นบินอยูทวมฟา ไม่ว่าเทคโนโลยีด้านระบบและ ่ ่ ้ อุปกรณ์ของการบัญชาการและควบคุมจะพัฒนาสูงไปเพียงใด แนวทางในการควบคุมจากเจ้ าหน้ าที่ ควบคุม (Controller) ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง เมื่อขันตอนการค้ นหา พิสจน์ฝ่ายและเข้ าโจมตีสิ ้นสุดลง ้ ู การดาเนินกลยุทธและการริเริ่มจะเป็ นหน้ าที่ของนักบินทันที เจ้ าหน้ าที่ควบคุมจะเปลี่ยนหน้ าที่ไปสู่ การบริหารและตรวจสอบเครื่ องบินที่เข้ า -ออกพื ้นที่รบในอากาศ เช่นเดียวกับค่ายตะวันตก ความ