SlideShare a Scribd company logo
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน นั่งสมาธิพัฒนาคลื่นสมอง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว อรนุช คาวัง เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว อรนุช คาวัง เลขที่ 1
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) นั่งสมาธิพัฒนาคลื่นสมอง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Meditate for brainwave development
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media)
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อรนุช คาวัง
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในยุคที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การแข่งขัน และความวุ่นวายมากมาย ทาให้เกิดความไม่สบายใจ
คนส่วนใหญ่หาทางออกด้วยการ “หาความสุข ในแบบที่ผิดๆ” ไม่ว่าจะเป็นการเที่ยวกลางคืน ดื่มเหล้าดื่มเบียร์
แต่สิ่งเหล่านั้น กลับไม่ใช่ความสุขและความสงบที่แท้จริง การหาความสุขแบบนั้นกลับแก้ปัญหาไม่ได้
“ความสุข ในทางโลก” ให้คานิยามกับมันว่า“แค่เพลิน” เหมือนเราเล่นสนุกอะไรอยู่สักอย่างหนึ่งเมื่อเล่นเสร็จ ก็
กลับมาคิดเรื่องเดิมๆสุดท้ายก็ทุกข์เหมือนเดิม เพราะฉะนั้นการจะทาให้ใจเราสงบ ไม่ใช่การหาความสุข แต่เป็นการ
เอาความทุกข์ออกไปจากใจต่างหาก บางครั้งที่เราเจอปัญหา หรืออะไรมาสะกิดใจเพียงนิดเดียว ก็เกิดอาการควบคุม
จิตใจไม่ได้ เกิดความฟุ้งซ่านวุ่นวาย มีเรื่องรบกวนไปเสียหมด นั่นเพราะไม่เคยรับการบาบัดทางจิต หรือลองฝึกสมาธิ
มาก่อน หลายคนที่เคยลองฝึกจิต หรือฝึกสมาธิ จะสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดีกว่าคนอื่น ๆ และยังมีสติ
ทาอะไรด้วยความไม่ประมาท
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสมาธิกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์
2. เพื่อให้ผู้ศึกษาเห็นผลดีของการฝึกสมาธิ
3. เพื่อให้ผู้ศึกษามีฉันทะในการฝึกสมาธิในชีวิตประจาวันมากยิ่งขึ้น
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาและทดสอบระหว่างความเชื่อและวิทยาศาสตร์ในเรื่องการนั่งสมาธิเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง
อีกทั้งยังเป็นประโยชน์กับผู้สืบค้นเองและผู้ที่เข้ามาศึกษา
หลักการและทฤษฎี
การทาสมาธิช่วยให้สมองของเรามีความยืดหยุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนไปตามประสบการณ์ชีวิตได้อย่างมี
คุณภาพ หรือที่เรียกว่า " neuroplasticity " คาว่า Neuroplasticity “ความยืดหยุ่นของสมอง” ความเชื่อเดิมที่ผ่าน
มาในอดีตที่ว่า ศักยภาพสมองของมนุษย์เราตั้งแต่เกิดเป็นเช่นไรก็เป็นเช่นนั้น แต่ในปัจจุบัน ความเชื่อเช่นนั้นได้
เปลี่ยนไปแล้ว เราสามารถเพิ่มศักยภาพของสมองให้มีความเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบที่ครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้
นั่นคือการหาแนวทางปฏิบัติเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของสมอง หรือBrain plasticity หรือ Neurplasticity ก็จะ
สามารถทาให้สมองเปลี่ยนแปลงได้ตลอดชีวิต โดยการปฏิรูปตัวเองให้มีการสร้างส่วนเชื่อมต่อ หรือ “connections”
ระหว่างเซลล์ประสาท
วิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าผลของการฝึกสมาธิมีผลต่อร่างกายและจิตใจจริง ทาให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันโรคมาก
3
ขึ้น และเมื่อวัดคลื่นสมองพบว่าสมาธิทาให้สมองผ่อนคลายและคลายเครียดลง
ผลการวิจัยพบว่า ในคนที่จิตเป็นสมาธิความดันจะลดลง อัตราการหายใจลดลง หัวใจเต้นช้าลง คลื่นสมองช้าและเป็น
ระเบียบขึ้น การเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง เขาเรียกปรากฏการณ์ที่ค้นพบนี้ว่า
ผลของความผ่อนคลาย (Relaxation Responses)
ผลของความผ่อนคลาย ที่กล่าวมานี้จะตรงกันข้ามกับผลที่เกิดจากความเครียด กล่าวคือ ในเวลาที่เราเครียด ความดัน
จะสูงขึ้น การหายใจจะเร็วขึ้น ชีพจรจะเร็วขึ้น กล้ามเนื้อจะตึงตัวมากขึ้น อัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย
มากขึ้น ร่างกายใช้ออกซิเจนมากขึ้น คลื่นสมองมีความถี่สูงขึ้น ที่สาคัญความเครียดจะเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรค
สมาธิกับคลื่นสมอง
คนทั่วไปในเวลาปกติมักจะส่งคลื่นเบต้าออกมา ซึ่งมีความถี่ของคลื่นประมาณ 21 รอบต่อวินาที เมื่อเกิด
เหตุการณ์บางอย่างขึ้นมีผลต่ออารมณ์และความรู้สึก เช่น โกรธ กลัว เกลียด อิจฉา ตื่นเต้น ฯลฯ คลื่นสมองก็จะมี
ความถี่สูงขึ้นทันทีทาให้บุคคลผู้นั้นมีประสิทธิภาพในการทางานลดลง มีความตึงเครียดสูง มีสมาธิน้อยลง มี
ความสามารถในการเรียนรู้ต่าลง มีภูมิคุ้มกันโรคในร่างกายลดลง ฯลฯ
ในทางตรงกันข้าม เราจะมีร่างกายที่มีภูมิคุ้มกันโรคสูง มีสมาธิดี มีอารมณ์เยือกเย็น มีความคิดที่เฉียบคม มี
จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์สูง เมื่อคลื่นสมองของเรามีความถี่ต่ากว่า 19 รอบต่อวินาที ถ้าเราปล่อยให้คลื่น
สมองของเรามีความถี่สูงเกินกว่า 21 รอบต่อวินาทีมากเป็นเวลานาน ๆ เราจะอยู่ในสภาวะที่แพทย์ปัจจุบันเรียกว่า
โรคเครียดและวิตกกังวลร่างกายของคนเราจะอ่อนแอลง เชื้อโรคต่างๆ สามารถเข้าสู่ร่างกายและทาให้เกิดโรคภัยไข้
เจ็บได้ง่าย เช่น เป็นหวัดบ่อย เป็นโรคภูมิแพ้ ความดันโลหิตสูง
ความถี่เกิน 40 รอบต่อวินาที เราแทบจะไม่สามารถควบคุมความคิดและอารมณ์ของเราได้เลย เช่น เวลาที่
เราโกรธใครมาก ๆ เราจะไม่สามารถอยู่นิ่งเฉยๆ ได้ ความคิดต่างๆ จะผ่านเข้ามาในสมองของเราเร็วมากจนเราแทบ
จาไม่ได้ว่ามีความคิดอะไรที่ผ่านเข้ามาบ้าง คลื่นสมองที่มีความถี่สูงมากนี้ทาให้เกิดพลังส่วนเกินที่จะต้องระบายออกมา
ทางร่างกาย เช่น หน้าแดง มือสั่น เหงื่อออกมาก พฤติกรรมที่รุนแรงต่างๆ จะสังเกตได้ง่ายในบุคคลที่โกรธมากๆ แล้ว
มักจะทาลายสิ่งของต่างๆ ที่ขวางหน้า
คลื่นเบต้า (Beta wave)
ในสภาวะปกติสมองจะรับข้อมูลต่าง ๆ จากภายนอกเป็นจานวนมาก จนถึงก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวาย คลื่น
สมองที่เกิดขึ้นในช่วงนี้จะมีความถี่สูง เรียกคลื่นสมองช่วงนี้ว่า "คลื่นเบต้า" (Beta Wave) ซึ่งมีความถี่ประมาณ
13 -40 รอบต่อวินาที ยิ่งความถี่ของคลื่นสมองสูงขึ้นไปมากเท่าไร จิตใจของเราก็จะวุ่นวาย สับสนมากยิ่งขึ้นไปจะทา
ให้รู้สึกหงุดหงิด กระสับกระส่าย ประสิทธิภาพในการคิดตัดสินใจไม่ดี ยิ่งคลื่นสมองยิ่งสูง ยิ่งทาให้เกิดอารมณ์ด้านลบ
คลื่นอัลฟา (Alpha wave)
ในสภาวะของคนที่มีจิตใจสงบ เยือกเย็น เรียกว่า "คลื่นอัลฟา" (Alpha Wave) ซึ่งมีความถี่ประมาณ 8 - 13
รอบต่อวินาที ทาให้ความสับสนวุ่นวายในสมองลดลง จิตใจจึงสงบและเยือกเย็นขึ้น
คลื่นธีต้า (Theta wave)
เมื่อคลื่นอัลฟาค่อยๆ เปลี่ยนเป็นคลื่นที่มีจังหวะช้าลง ๆ แต่กลับมีพลังงานสูงขึ้นๆ ถ้าคลื่นสมองของคนเรามี
ความถี่ 5 - 7 รอบต่อวินาที จะส่งคลื่นธีต้า (Theta wave) ออกมา คลื่นธีต้า เป็นคลื่นสมองชนิดหนึ่งซึ่งจะปรากฏตัว
ขึ้นมาเพียงช่วงเวลาสั้นๆ อยู่ในลักษณะครึ่งหลับครึ่งตื่นและเมื่อหลับแล้วจริงๆ
คลื่นเดลต้า (Delta wave)
เป็นคลื่นที่เกิดขึ้น ในสภาวะของคนนอนหลับ เป็นคลื่นสมองที่มี ความถี่ของสมองที่ต่าที่สุด แต่มีพลังงานสูง จะอยู่
ระหว่าง 4 รอบต่อวินาที จนถึงนิ่งเป็นเส้นตรง ระหว่างนี้ สมองของคนเรา จะส่งคลื่นเดลต้า (Delta wave) ออกมา
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
สืบค้นในอินเตอร์เน็ต เลือกนาข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาทาโครงงาน และทดลองทากับตัวบุลคล
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาทโฟน ตัวบุคคล
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ศึกษาค้นคว้าและผู้ที่
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษา (พุทธศาสนา)
5
แหล่งอ้างอิง
Sanomaru. (2019). การทาสมาธิเปลี่ยนแปลงสมองได้ , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก.
https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/65658/-blo-scihea-sci-morart-mor-dhart-
nitayaporn.m. (2019). ฝึกสติ เพิ่มศักยภาพสมอง? , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก.
https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=1216
MGR Online. (2019). สมองพัฒนาได้ ด้วยการเจริญสติ , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก.
https://mgronline.com/dhamma/detail/9560000079672
MGR Online. (2019). ผลวิจัยวิทยาศาสตร์ชี้ชัด ปฏิบัติธรรม ทาสมาธิ ส่งผลดีต่อสมอง
, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก. https://mgronline.com/dhamma/detail/9480000012103
Therranuch. (2019). 15 วิธีฝึกสมาธิ สาหรับคนไม่ชอบนั่งสมาธิ, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562.
จาก.https://goodlifeupdate.com/healthy-mind/dhamma/78957.html
พบแพทย์. (2019). ประโยชน์ของการนั่งสมาธิ , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก.
https://www.pobpad.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%
B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2
%E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B
8%B2%E0%B8%98
teenee.com/วาไรตี้. (2019).เคล็ดลับ 10 วิธี ฝึกสมาธิง่ายๆ, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก.
http://www.prd.go.th/ewt_news.php?nid=72772

More Related Content

What's hot

ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูลPukpik Jutamanee
 
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูบทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูBeauso English
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
Akanit Srilaruk
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปกmanit2617
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Warunee Kruea-kaew
 
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลpookpikdel
 

What's hot (8)

ระบบการสื่อสารข้อมูล
  ระบบการสื่อสารข้อมูล  ระบบการสื่อสารข้อมูล
ระบบการสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครูบทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
บทที่ 6 การจัดการทรัพยากรสารสนเทศสำหรับครู
 
แบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอมแบบโครงร่างโครงงานคอม
แบบโครงร่างโครงงานคอม
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
Information Security & Privacy for Hospital Executives: เรื่องเล่าจากรามาธิบด...
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
123pj
123pj123pj
123pj
 

Similar to 2562 final-project 1

2562 final-project panic1
2562 final-project panic12562 final-project panic1
2562 final-project panic1
WiwattaneeThongcham1
 
2562 final-project panic
2562 final-project panic2562 final-project panic
2562 final-project panic
WiwattaneeThongcham1
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
Film_jeera
 
W.1
W.1W.1
Final project
Final projectFinal project
Final project
ppchanoknan
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
duangdeunnkamhanghan
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
eyecosmomo
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
จารวี จี๋จันทร์
 
Projeck tawan
Projeck tawanProjeck tawan
Projeck tawan
Krookhuean Moonwan
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
thunyaratnatai
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
thunyaratnatai
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
ssuser015151
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
Film_jeera
 
Woot
WootWoot
Woot
Mathawat
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
Benjawan Udomsin
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
buakhamlungkham
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
bamhattamanee
 

Similar to 2562 final-project 1 (20)

2562 final-project panic1
2562 final-project panic12562 final-project panic1
2562 final-project panic1
 
2562 final-project panic
2562 final-project panic2562 final-project panic
2562 final-project panic
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
โครงร่างบีม
โครงร่างบีมโครงร่างบีม
โครงร่างบีม
 
The effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivationThe effect of sleep deprivation
The effect of sleep deprivation
 
Projeck tawan
Projeck tawanProjeck tawan
Projeck tawan
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat2562 final-project 11-thunyarat
2562 final-project 11-thunyarat
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 
Woot
WootWoot
Woot
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
2562 final-project 605-10
2562 final-project 605-102562 final-project 605-10
2562 final-project 605-10
 
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
การทำงานของสมองและกรควบคุมอารมณ์
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 

2562 final-project 1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน นั่งสมาธิพัฒนาคลื่นสมอง ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว อรนุช คาวัง เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว อรนุช คาวัง เลขที่ 1 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) นั่งสมาธิพัฒนาคลื่นสมอง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Meditate for brainwave development ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว อรนุช คาวัง ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในยุคที่เต็มไปด้วยความเร่งรีบ การแข่งขัน และความวุ่นวายมากมาย ทาให้เกิดความไม่สบายใจ คนส่วนใหญ่หาทางออกด้วยการ “หาความสุข ในแบบที่ผิดๆ” ไม่ว่าจะเป็นการเที่ยวกลางคืน ดื่มเหล้าดื่มเบียร์ แต่สิ่งเหล่านั้น กลับไม่ใช่ความสุขและความสงบที่แท้จริง การหาความสุขแบบนั้นกลับแก้ปัญหาไม่ได้ “ความสุข ในทางโลก” ให้คานิยามกับมันว่า“แค่เพลิน” เหมือนเราเล่นสนุกอะไรอยู่สักอย่างหนึ่งเมื่อเล่นเสร็จ ก็ กลับมาคิดเรื่องเดิมๆสุดท้ายก็ทุกข์เหมือนเดิม เพราะฉะนั้นการจะทาให้ใจเราสงบ ไม่ใช่การหาความสุข แต่เป็นการ เอาความทุกข์ออกไปจากใจต่างหาก บางครั้งที่เราเจอปัญหา หรืออะไรมาสะกิดใจเพียงนิดเดียว ก็เกิดอาการควบคุม จิตใจไม่ได้ เกิดความฟุ้งซ่านวุ่นวาย มีเรื่องรบกวนไปเสียหมด นั่นเพราะไม่เคยรับการบาบัดทางจิต หรือลองฝึกสมาธิ มาก่อน หลายคนที่เคยลองฝึกจิต หรือฝึกสมาธิ จะสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้ดีกว่าคนอื่น ๆ และยังมีสติ ทาอะไรด้วยความไม่ประมาท วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ผู้ศึกษามีความรู้เกี่ยวกับสมาธิกับการทดลองทางวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อให้ผู้ศึกษาเห็นผลดีของการฝึกสมาธิ 3. เพื่อให้ผู้ศึกษามีฉันทะในการฝึกสมาธิในชีวิตประจาวันมากยิ่งขึ้น ขอบเขตโครงงาน ศึกษาและทดสอบระหว่างความเชื่อและวิทยาศาสตร์ในเรื่องการนั่งสมาธิเพื่อพัฒนาศักยภาพของตนเอง อีกทั้งยังเป็นประโยชน์กับผู้สืบค้นเองและผู้ที่เข้ามาศึกษา หลักการและทฤษฎี การทาสมาธิช่วยให้สมองของเรามีความยืดหยุ่น และสามารถปรับเปลี่ยนไปตามประสบการณ์ชีวิตได้อย่างมี คุณภาพ หรือที่เรียกว่า " neuroplasticity " คาว่า Neuroplasticity “ความยืดหยุ่นของสมอง” ความเชื่อเดิมที่ผ่าน มาในอดีตที่ว่า ศักยภาพสมองของมนุษย์เราตั้งแต่เกิดเป็นเช่นไรก็เป็นเช่นนั้น แต่ในปัจจุบัน ความเชื่อเช่นนั้นได้ เปลี่ยนไปแล้ว เราสามารถเพิ่มศักยภาพของสมองให้มีความเปลี่ยนแปลงไปในรูปแบบที่ครั้งหนึ่งเคยเชื่อว่าเป็นไปไม่ได้ นั่นคือการหาแนวทางปฏิบัติเพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นของสมอง หรือBrain plasticity หรือ Neurplasticity ก็จะ สามารถทาให้สมองเปลี่ยนแปลงได้ตลอดชีวิต โดยการปฏิรูปตัวเองให้มีการสร้างส่วนเชื่อมต่อ หรือ “connections” ระหว่างเซลล์ประสาท วิทยาศาสตร์ได้ค้นพบว่าผลของการฝึกสมาธิมีผลต่อร่างกายและจิตใจจริง ทาให้ร่างกายมีภูมิคุ้มกันโรคมาก
  • 3. 3 ขึ้น และเมื่อวัดคลื่นสมองพบว่าสมาธิทาให้สมองผ่อนคลายและคลายเครียดลง ผลการวิจัยพบว่า ในคนที่จิตเป็นสมาธิความดันจะลดลง อัตราการหายใจลดลง หัวใจเต้นช้าลง คลื่นสมองช้าและเป็น ระเบียบขึ้น การเผาผลาญอาหารในร่างกายลดลง ความตึงตัวของกล้ามเนื้อลดลง เขาเรียกปรากฏการณ์ที่ค้นพบนี้ว่า ผลของความผ่อนคลาย (Relaxation Responses) ผลของความผ่อนคลาย ที่กล่าวมานี้จะตรงกันข้ามกับผลที่เกิดจากความเครียด กล่าวคือ ในเวลาที่เราเครียด ความดัน จะสูงขึ้น การหายใจจะเร็วขึ้น ชีพจรจะเร็วขึ้น กล้ามเนื้อจะตึงตัวมากขึ้น อัตราการเผาผลาญสารอาหารในร่างกาย มากขึ้น ร่างกายใช้ออกซิเจนมากขึ้น คลื่นสมองมีความถี่สูงขึ้น ที่สาคัญความเครียดจะเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรค สมาธิกับคลื่นสมอง คนทั่วไปในเวลาปกติมักจะส่งคลื่นเบต้าออกมา ซึ่งมีความถี่ของคลื่นประมาณ 21 รอบต่อวินาที เมื่อเกิด เหตุการณ์บางอย่างขึ้นมีผลต่ออารมณ์และความรู้สึก เช่น โกรธ กลัว เกลียด อิจฉา ตื่นเต้น ฯลฯ คลื่นสมองก็จะมี ความถี่สูงขึ้นทันทีทาให้บุคคลผู้นั้นมีประสิทธิภาพในการทางานลดลง มีความตึงเครียดสูง มีสมาธิน้อยลง มี ความสามารถในการเรียนรู้ต่าลง มีภูมิคุ้มกันโรคในร่างกายลดลง ฯลฯ ในทางตรงกันข้าม เราจะมีร่างกายที่มีภูมิคุ้มกันโรคสูง มีสมาธิดี มีอารมณ์เยือกเย็น มีความคิดที่เฉียบคม มี จินตนาการและความคิดสร้างสรรค์สูง เมื่อคลื่นสมองของเรามีความถี่ต่ากว่า 19 รอบต่อวินาที ถ้าเราปล่อยให้คลื่น สมองของเรามีความถี่สูงเกินกว่า 21 รอบต่อวินาทีมากเป็นเวลานาน ๆ เราจะอยู่ในสภาวะที่แพทย์ปัจจุบันเรียกว่า โรคเครียดและวิตกกังวลร่างกายของคนเราจะอ่อนแอลง เชื้อโรคต่างๆ สามารถเข้าสู่ร่างกายและทาให้เกิดโรคภัยไข้ เจ็บได้ง่าย เช่น เป็นหวัดบ่อย เป็นโรคภูมิแพ้ ความดันโลหิตสูง ความถี่เกิน 40 รอบต่อวินาที เราแทบจะไม่สามารถควบคุมความคิดและอารมณ์ของเราได้เลย เช่น เวลาที่ เราโกรธใครมาก ๆ เราจะไม่สามารถอยู่นิ่งเฉยๆ ได้ ความคิดต่างๆ จะผ่านเข้ามาในสมองของเราเร็วมากจนเราแทบ จาไม่ได้ว่ามีความคิดอะไรที่ผ่านเข้ามาบ้าง คลื่นสมองที่มีความถี่สูงมากนี้ทาให้เกิดพลังส่วนเกินที่จะต้องระบายออกมา ทางร่างกาย เช่น หน้าแดง มือสั่น เหงื่อออกมาก พฤติกรรมที่รุนแรงต่างๆ จะสังเกตได้ง่ายในบุคคลที่โกรธมากๆ แล้ว มักจะทาลายสิ่งของต่างๆ ที่ขวางหน้า คลื่นเบต้า (Beta wave) ในสภาวะปกติสมองจะรับข้อมูลต่าง ๆ จากภายนอกเป็นจานวนมาก จนถึงก่อให้เกิดความสับสนวุ่นวาย คลื่น สมองที่เกิดขึ้นในช่วงนี้จะมีความถี่สูง เรียกคลื่นสมองช่วงนี้ว่า "คลื่นเบต้า" (Beta Wave) ซึ่งมีความถี่ประมาณ 13 -40 รอบต่อวินาที ยิ่งความถี่ของคลื่นสมองสูงขึ้นไปมากเท่าไร จิตใจของเราก็จะวุ่นวาย สับสนมากยิ่งขึ้นไปจะทา ให้รู้สึกหงุดหงิด กระสับกระส่าย ประสิทธิภาพในการคิดตัดสินใจไม่ดี ยิ่งคลื่นสมองยิ่งสูง ยิ่งทาให้เกิดอารมณ์ด้านลบ คลื่นอัลฟา (Alpha wave) ในสภาวะของคนที่มีจิตใจสงบ เยือกเย็น เรียกว่า "คลื่นอัลฟา" (Alpha Wave) ซึ่งมีความถี่ประมาณ 8 - 13 รอบต่อวินาที ทาให้ความสับสนวุ่นวายในสมองลดลง จิตใจจึงสงบและเยือกเย็นขึ้น คลื่นธีต้า (Theta wave) เมื่อคลื่นอัลฟาค่อยๆ เปลี่ยนเป็นคลื่นที่มีจังหวะช้าลง ๆ แต่กลับมีพลังงานสูงขึ้นๆ ถ้าคลื่นสมองของคนเรามี ความถี่ 5 - 7 รอบต่อวินาที จะส่งคลื่นธีต้า (Theta wave) ออกมา คลื่นธีต้า เป็นคลื่นสมองชนิดหนึ่งซึ่งจะปรากฏตัว ขึ้นมาเพียงช่วงเวลาสั้นๆ อยู่ในลักษณะครึ่งหลับครึ่งตื่นและเมื่อหลับแล้วจริงๆ คลื่นเดลต้า (Delta wave) เป็นคลื่นที่เกิดขึ้น ในสภาวะของคนนอนหลับ เป็นคลื่นสมองที่มี ความถี่ของสมองที่ต่าที่สุด แต่มีพลังงานสูง จะอยู่ ระหว่าง 4 รอบต่อวินาที จนถึงนิ่งเป็นเส้นตรง ระหว่างนี้ สมองของคนเรา จะส่งคลื่นเดลต้า (Delta wave) ออกมา
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน สืบค้นในอินเตอร์เน็ต เลือกนาข้อมูลที่น่าเชื่อถือมาทาโครงงาน และทดลองทากับตัวบุลคล เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ สมาทโฟน ตัวบุคคล ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้ศึกษาค้นคว้าและผู้ที่ สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา (พุทธศาสนา)
  • 5. 5 แหล่งอ้างอิง Sanomaru. (2019). การทาสมาธิเปลี่ยนแปลงสมองได้ , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก. https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/65658/-blo-scihea-sci-morart-mor-dhart- nitayaporn.m. (2019). ฝึกสติ เพิ่มศักยภาพสมอง? , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก. https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=1216 MGR Online. (2019). สมองพัฒนาได้ ด้วยการเจริญสติ , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก. https://mgronline.com/dhamma/detail/9560000079672 MGR Online. (2019). ผลวิจัยวิทยาศาสตร์ชี้ชัด ปฏิบัติธรรม ทาสมาธิ ส่งผลดีต่อสมอง , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก. https://mgronline.com/dhamma/detail/9480000012103 Therranuch. (2019). 15 วิธีฝึกสมาธิ สาหรับคนไม่ชอบนั่งสมาธิ, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก.https://goodlifeupdate.com/healthy-mind/dhamma/78957.html พบแพทย์. (2019). ประโยชน์ของการนั่งสมาธิ , สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก. https://www.pobpad.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0% B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%81%E0%B8%B2 %E0%B8%A3%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B 8%B2%E0%B8%98 teenee.com/วาไรตี้. (2019).เคล็ดลับ 10 วิธี ฝึกสมาธิง่ายๆ, สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2562. จาก. http://www.prd.go.th/ewt_news.php?nid=72772