SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
ครูวราดา ขันตี
แผนกวิชาคอมพิวเตอร์ ธุรกิจ
วิทยาลัยเทคนิคศรีสะเกษ
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูล
และ
อัลกอริทึม
ความหมายของข้อมูล
 ข้อมูล คือ ข้อเท็จจริงที่มีอยู่ในชีวิตประจาวันเกี่ยวกับบุคคล
สิ่งของ หรือ เหตุการณ์ที่สนใจศึกษา ข้อมูลอาจเป็นตัวเลข
(numeric) หรืออาจเป็นตัวอักษรหรือข้อความ (alphabetic)
และข้อความที่เป็นตัวเลขผสมข้อความ (alphanumeric) นอกจาก
นี้ ข้อมูลอาจเป็นภาพ (image) หรือ เสียง(sound) ก็ได้
โครงสร้างข้อมูล
 โครงสร้างข้อมูล (data structures) เกิดจากคาสองคา คือ โครงสร้าง และ
ข้อมูล
 โครงสร้าง เป็นความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่ม
 โครงสร้างข้อมูล หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลที่อยู่ในโครงสร้าง
นั้น
การศึกษาโครงสร้างข้อมูลประเภทต่างๆ จะต้องศึกษาสิ่งต่อไปนี้
1. นิยาม (definition) เป็นการศึกษาความหมาย ความสัมพันธ์
ระหว่างข้อมูล และการดาเนินการในโครงสร้างข้อมูลประเภทนั้น
2. การนาไปใช้จริงในเครื่องคอมพิวเตอร์ (implement)
โครงสร้างข้อมูลในภาษาคอมพิวเตอร์
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
 โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ (physical data structures)
 โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ (logical data structures)
โครงสร้างข้อมูลทางกายภาพ
เป็นโครงสร้างข้อมูลทั่วไปที่มีใช้ในภาษาคอมพิวเตอร์ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2
ประเภทตามลักษณะข้อมูล ดังนี้
1. ข้อมูลเบื้องต้น (primitive data types)
2. ข้อมูลโครงสร้าง (structured data types)
โครงสร้างข้อมูลทางตรรกะ
เป็นโครงสร้างข้อมูลที่เกิดจากจินตนาการของผู้ใช้เพื่อใช้แก้ปัญหาในโปรแกรมที่สร้าง
ขึ้น จาแนกได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. โครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น (linear data structures)
2. โครงสร้างข้อมูลแบบไม่ใช่เชิงเส้น (non-linear data
structures)
การแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจาหลัก
ข้อมูลที่ต้องการประมวลผลจะถูกนาไปเก็บในหน่วยความจาหลัก ดังนั้นเมื่อเราต้องใช้
โครงสร้างข้อมูล จึงต้องมีการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจาหลักด้วย โดยทั่วไปการ
เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์มีการแทนที่ข้อมูลในหน่วยความจาหลักอยู่ 2 วิธี คือ
1. การแทนที่ข้อมูลแบบสแตติก (static memory representation)
2. การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก (dynamic memory representation)
การแทนที่ข้อมูลแบบสแตติก
 เป็นการแทนที่ข้อมูลที่มีการจองเนื้ อที่แบบคงที่แน่นอน การแทนที่แบบนี้ ต้อง
มีการกาหนดขนาดก่อนการใช้งาน
 ข้อเสีย คือไม่สามารถปรับขนาดให้เพิ่มขึ้นหรือลดลงได้ ไม่สามารถเก็บข้อมูล
เกินขนาดเนื้ อที่ที่กาหนดไว้ ถ้ากาหนดขนาดเนื้ อที่ไว้มากเกินจาเป็นทั้งๆ ที่มี
ข้อมูลอยู่จานวนน้อยจะทาให้สูญเสียเนื้ อที่โดยเปล่าประโยชน์
การแทนที่ข้อมูลแบบไดนามิก
 เป็นการแทนที่ข้อมูลที่ไม่ต้องจองเนื้ อที่และขนาดของเนื้ อที่ก่อนการใช้
งาน สามารถยืดหยุ่นได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ถ้าข้อมูลมีน้อยก็ใช้
เนื้ อที่น้อย และถ้าข้อมูลมีมากก็สามารถใช้เนื้ อที่มากตามที่ใช้จริงได้
นอกจากนั้นส่วนเนื้ อที่ในหน่วยความจาหลักที่ไม่ใช้แล้วสามารถส่งคืน
เพื่อกลับมาใช้ใหม่ได้อีก
ขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรม (Steps in program development)
มีขั้นตอนหลักๆ ดังนี้
1. นิยามปัญหา
2. เขียนอัลกอริทึม
3. ทดสอบความถูกต้องของอัลกอริทึม
4. แปลงอัลกอริทึมเป็นภาษาคอมพิวเตอร์
5. ติดตั้งโปรแกรม
6. จัดทาคู่มือ
อัลกอริทึม
 ขั้นตอนการทางานที่มีลาดับ มีความชัดเจน สามารถทางานได้จริง และมีจุดเริ่มต้น
และจุดสิ้นสุดการทางาน
 อัลกอริทึมหนึ่งๆ สามารถสื่อออกมาด้วยภาษาใดๆ ก็ได้ เช่น
 ภาษาพูด (Natural Language) เช่น ภาษาไทย อังกฤษ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีฯลฯ
 ภาษาโปรแกรม (Programming Language) เช่น C/C++, Java ฯลฯ
การเขียนอัลกอริทึม
ทำได้2 วิธี
1. รหัสเทียม (Pseudo Code)
2. ผังงำน (Flowchart)
คอมพิวเตอร์ทาอะไรได้บ้าง
1. A computer can receive information
RAED and GET are used in pseudo code.
READ ใช้กรณีที่มีการอ่านข้อมูลจากแฟ้ มข้อมูล
GET ใช้กรณีรับข้อมูลจากแป้ นพิมพ์
2. A computer can put out information
PRINT , WRITE , PUT , OUTPUT or DISPLAY
are used in pseudo code.
PRINT ใช้กรณีแสดงผลลัพธ์ทำงแป้นพิมพ์
WRITE ใช้กรณีแสดงผลลัพธ์โดยเขียนลงแฟ้มข้อมูล
PUT , OUTPUT , DISPLAY ใช้กรณีแสดงผลลัพธ์ทำงหน้ำจอ
3. A computer can perform arithmetic
the following symbols can be written in pseudo code.
+ for Add
- for Subtract
* for Multiply
/ for Divide
() for Parentheses
COMPUTE หรือ CALCULATE ใช้หน้ำสูตร หรือคำสั่งคำนวณ
4. A computer can assign a value to a variable or memory
location.
กรณีกาหนดค่าเริ่มต้นให้ตัวแปร ให้ใช้คาว่า INITIALISE หรือ SET
กรณีกาหนดค่าที่เป็นผลจากการประมวลผลให้ตัวแปร ใช้สัญลักษณ์ = หรือ 
5. A computer can compare two variables and select one of
two alternate action.
keyword IF , THEN and ELSE are used
IF score < 50 THEN
grade = “F”
ELSE
grade = “P”
END IF
6. A computer can repeat a group of actions.
6.1 Leading decision loop
DOWHILE condition p is true
statement block
ENDDO
6.2 Trailing decision loop
REPEAT
statement
statement
UNTIL condition is true
6.3 Counted loop
DO loop_index = initial_value to final_value
statement_block
ENDDO
ตัวอย่าง Pseudo Code
Average of number
GET num1,num2,num2
COMPUTE sum=num1+num2+num3
COMPUTE average=sum/3
DISPLAY average
END
QUIZ (ให้เวลาทางาน 20 นาที)
จงเขียนอัลกอริทึมแบบ pseudo code เพื่อแสดงขั้นตอนของโจทย์ที่
กาหนดให้
1. รับค่าตัวเลขจานวนเต็ม 3 จานวนทางแป้ นพิมพ์ จากนั้นให้หาว่าตัวเลขที่มีค่ามาก
ที่สุดมีค่าเท่าไร แล้วแสดงบนหน้าจอ
2. รับค่าตัวเลขจานวนเต็ม 1 จานวนทางแป้ นพิมพ์ จากนั้นให้แสดงสูตรคูณของตัว
เลขที่รับ ทางหน้าจอภาพ
เขียนใส่กระดาษที่แจกให้ กระดาษสามารถเขียนได้ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
โครงสร้างข้อมูลแบบอาร์เรย์
 เป็นโครงสร้ำงข้อมูลที่ประกอบไปด้วยสมำชิกซึ่งมีรูปแบบข้อมูลเป็นแบบเดียวกัน เรียง
ติดต่อกันไป และมีจำนวนสมำชิกแน่นอน
 กำรอ้ำงถึงข้อมูลในหน่วยควำมจำจะใช้“ตัวบอกลำดับ” (Subscript) หรือ “ดรรชนี”
(Index)
 จำนวน ตัวบอกลำดับหรือดรรชนี จะเรียกว่ำ “มิติ” (Dimension)
 โดยทั่วไปตัวบอกลำดับจะเริ่มต้นจำก 0 เรียกว่ำ “ขอบเขตล่ำง” (Lower bound) ตัวบอก
ลำดับสุดท้ำย เรียกว่ำ “ขอบเขตบน” (Upper bound)
 กำรอ้ำงอิง หรือกำรเข้ำถึงสมำชิกตัวใด จะใช้ตัวบอกลำดับเพียงตัวเดียว
 โดยทั่วไปตัวบอกลำดับจะเริ่มต้นจำก 0 เรียกว่ำ “ขอบเขตล่ำง” (Lower bound)
 ตัวบอกลำดับสุดท้ำย เรียกว่ำ “ขอบเขตบน” (Upper bound)
อาร์เรย์ 1 มิติ
 อาร์เรย์หนึ่งมิติ เป็นอาร์เรย์ชนิดโครงสร้างที่สามารถจัดเก็บ
ข้อมูลชนิดเดียวกันเป็นกลุ่มหรือชุดที่เรียงต่อกันเป็นแถวใน
หน่วยความจาโดยใช้ตัวแปรชนิดเดียวกัน ชื่อเดียวกัน
82 61 43 56 78
Score[1] Score[2] Score[3] Score[4] Score[5]
Score
แต่ละเซลล์ในอาร์เรย์
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 1 มิติ ในภาษา C
รูปแบบ
ชนิดข้อมูล ตัวแปรอาร์เรย์[ขนาด];
เช่น
int num[10];
float area[5];
อาร์เรย์ 2 มิติ
 อาร์เรย์สองมิติเป็นอาร์เรย์ที่มีลักษณะเป็นตาราง ประกอบด้วย ช่อง
หลายช่องเรียงกันเป็นแถว ในแนวนอน(Row) และในแนวตั้ง(Column)
Lab 1 Lab 2 Lab 3 Lab 4 Lab 5
Student 1 82 61 43 56 78
Student 2 75 65 55 60 70
Student 3 80 75 85 65 75
Score
ชื่ออาร์เรย์
การอ้างถึงอาร์เรย์ 2 มิติ
 รูปแบบ
ชื่ออาร์เรย์[ดัชนีกากับแถว(row)][ดัชนีกากับคอลัมน์(column)]
 ตัวอย่าง
Score[1][2] ได้แก่ค่า 61
Score[3][4] ได้แก่ค่า 65
Score[2][5] ได้แก่ค่า 70
Score Lab 1 Lab 2 Lab 3 Lab 4 Lab 5
Student 1 82 61 43 56 78
Student 2 75 65 55 60 70
Student 3 80 75 85 65 75
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์ 2 มิติ ในภาษา C
รูปแบบ
ชนิดข้อมูล ตัวแปรอาร์เรย์[ขนาดแถว][ขนาดคอลัมน์];
เช่น
int num[2][3];
float area[5][4];
char stdname[5][20];

More Related Content

What's hot

การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)Fair Kung Nattaput
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)tumetr
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)Kroopop Su
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานPannathat Champakul
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์bpatra
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Jakkree Eiei
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานChittraporn Phalao
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมFon Edu Com-sci
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมhateriseup
 

What's hot (20)

การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)การเขียนผังงาน (Flowchart)
การเขียนผังงาน (Flowchart)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
 
การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)การเขียนผังงาน(Flowchart)
การเขียนผังงาน(Flowchart)
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
1122
11221122
1122
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
ผังงาน
ผังงานผังงาน
ผังงาน
 
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650Doc 40720.914467592650
Doc 40720.914467592650
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Chapter 05 Loop
Chapter 05 LoopChapter 05 Loop
Chapter 05 Loop
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
Chapter05
Chapter05Chapter05
Chapter05
 
โครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงานโครงสร้างผังงาน
โครงสร้างผังงาน
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรมหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การเขียนโปรแกรม
 
หลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรมหลักการเขียนโปรแกรม
หลักการเขียนโปรแกรม
 
Chapter 02 Flowchart
Chapter 02 FlowchartChapter 02 Flowchart
Chapter 02 Flowchart
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม

ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1Orapan Chamnan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1Orapan Chamnan
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลkruthanyaporn
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3KEk YourJust'one
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interactionajpeerawich
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลOrapan Chamnan
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelพัน พัน
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8Aungkana Na Na
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3Rattana Wongphu-nga
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม (20)

Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1ใบความรู้ที่1.1
ใบความรู้ที่1.1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1ใบความรู้ที่1
ใบความรู้ที่1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interaction
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excelการใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
การใช้สูตรในการคำนวณ โปรแกรม Microsoft Excel
 
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
Ass1 1
Ass1 1Ass1 1
Ass1 1
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8โครงงานพัฒนาเกม 8
โครงงานพัฒนาเกม 8
 
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
แก้ไข ประเภทของโครงงาน2
 
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
แก้ไข ประเภทของโครงงาน3
 
ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3ใบความรู้ที่3
ใบความรู้ที่3
 

More from waradakhantee

โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็กโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็กwaradakhantee
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์waradakhantee
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมwaradakhantee
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410waradakhantee
 

More from waradakhantee (6)

โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็กโครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
โครงสร้างข้อมูลแบบสแต็ก
 
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์โครงสร้างแบบอาร์เรย์
โครงสร้างแบบอาร์เรย์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอัลกอริทึม
 
Os02
Os02Os02
Os02
 
Os01
Os01Os01
Os01
 
01ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 2201241001ใบความรู้ 22012410
01ใบความรู้ 22012410
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม