SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
5/05/2554                                                                                                                                                             1 

 




                            ความมั่นคงศึกษา – เมื่อถึงเวลาทหารกลับบ้ าน แล้วไปเลือกประธานาธิบดี

                                                                                                                                 พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง
                                                                                                                                    นักวิชาการด้านความมันคง
                                                                                                                                                         ่



              ข่าวการเสี ยชีวิตของ อุซามะห์ บิน ลาดิน (Osama Bin Laden) ผูเ้ ป็ นหนึ่ งในผูก่อตั้งและหัวหน้า
                                                                                           ้
กลุ่ ม อัล กออิ ด ะห์ ซึ่ งเป็ นกลุ่ ม ก่ อ การร้ า ยสากลมุ ส ลิ ม นิ ก ายซุ น นี จากการปฏิ บ ัติ ก ารทางทหารของ
สหรัฐอเมริ กา ได้ปรากฏเป็ นข่าวที่ตามสื่ อทัวโลก นอกจากนี้ได้มีประชาชนสหรัฐฯ จํานวนมากออกมาเฉลิม
                                            ่
ฉลอง แสดงความยินดีเป็ นจํานวนมาก ส่ วนหนึ่ งที่เป็ นเช่นนี้ เพราะ มีความรู ้สึกสะใจ หรื อ ดีใจ ที่ความรู ้สึก
เจ็บปวดจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรม 11 ก.ย. 44 ได้รับการสะสางหรื อแก้แค้น

              อย่างไรก็ตามความดีใจเกิดขึ้นได้ไม่นานก็ปรากฏข่าวสารต่างๆ ที่ทะยอยออกตามมา ภายหลังจาก
การประกาศอย่า งเป็ นการว่า บิ น ลาดิ น ได้เ สี ย ชี วิต โดย บารั ก โอบามา ประธานาธิ บดี สหรั ฐ ฯ ว่าให้
ระมัดระวังการก่อการร้ายในระดับที่สูงสุ ด เนื่ องจากมีความเป็ นไปได้ว่าจะมีการแก้แค้นให้กบ บิน ลาดิน
                                                                                        ั
โดยกลุ่มก่อการร้าย

              นอกจากนี้ การเสี ยชีวิตของบิน ลาดิน กับกลายมาเป็ นคําถามว่าเขาเสี ยชีวิตจริ งหรื อไม่ เพราะมีการ
ส่ งภาพที่ตกแต่งโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แพร่ กระจายอยู่บนอินเตอร์ เน็ต ประกอบกับการปฏิบติการ
                                                                                     ั
ต่างๆ เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว รวมถึงการฝังศพ และ การตรวจ DNA ยืนยัน ทําให้หลายๆ ฝ่ ายต่างกังขากับ
ข่าวสารที่ออกมา ถึงแม้จะมีการแถลงการณ์อย่างเป็ นทางการของประธานาธิบดี โอบามา ยืนยันก็ตาม แต่ไม่
ว่าจะอย่างไร ผลกระทบจากการแถลงการณ์ฯ และการเสี ยชีวิตของ บิน ลาดิน จะนําไปสู่ อะไรนั้นเป็ นเรื่ องที่
ต้องรอการพิสูจน์ต่อไป แต่จากนี้ ไป กองกําลังของสหรัฐฯ คงจะได้กลับบ้านเพราะภารกิจที่สาคัญได้เสร็ จ
                                                                                    ํ
สิ้ นลงแล้ว

สถานะปัจจุบันของทหารสหรั ฐฯ ในอัฟกานิสถาน และอิรัก

                                       ํ
              ปั จจุบนกองทัพสหรั ฐฯ มีกาลังพลประจําการในอัฟกานิ สถาน 90,000 นาย ภายใต้การนําของ
                     ั
องค์การสนธิสัญญาป้ องกันแอตแลนติกเหนื อ (North Atlantic Treaty Organization : NATO) หรื อที่เรี ยกว่า
5/05/2554                                                                                                                                                             2 

 

นาโต้ โดย สหรัฐฯ ได้สูญเสี ยกําลังไปในสมรภูมิอฟกานิสถาน 1,406 นาย บาดเจ็บ 10,944 นาย กองกําลัง
                                              ั
รับจ้างของสหรัฐฯ (Private Military Company or Contractors) เสี ยชีวิต 1,764 คน และบาดเจ็บ 11,758 คน
(ยอดวันที่ 4/5/54 จากเวบ Wikipedia) นับตั้งแต่สหรัฐฯ เริ่ มส่ งกําลังเข้าไปในอัฟกานิสถาน เมื่อเกือบ 10 ปี
ก่อนหน้านี้ ภายหลังจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรม 11 ก.ย. 44 ด้วยข้อกล่าวหาให้ที่พกพิงผูก่อการร้าย
                                                                            ั     ้

              ส่ วนในพื้นทีใกล้เคียงอย่างอิรัก ปั จจุบน สหรัฐฯ มีทหารประจําการอยู่ 47,000 นาย เสี ยชีวิตทหาร
                                                      ั
ไป 4.444 นาย บาดเจ็บ 32,051 นาย เป็ นทหารชาย 98% ชั้นประทวน 91% ทหารประจําการ 82% กองกําลัง
ทหารป้ องกันชาติ (National Guard) 11% ทหารที่เสี ยชีวิตที่อายุต่ากว่า 25 ปี 54% ทหารบกเสี ยชีวิตมากที่สุด
                                                                ํ
72% สําหรับผูบาดเจ็บ ที่สาหัสนั้นมีถึง 20% (ข้อมูลจาก เวบ usliberals.about.com)
             ้

              สําหรั บค่าใช้จ่ายของสหรั ฐฯ ในส่ งกองกําลังทหารออกมาประจําการในอัฟกานิ สถาน ทางส่ วน
งานวิจยของสภาสหรัฐฯ (The Congressional Research Service (CRS)) ประมาณค่าใช้จ่ายอยูที่ประมาณ 3.6
      ั                                                                           ่
พันล้านเหรี ยญสหรัฐต่อเดือน (ประมาณ 108 พันล้านบาทต่อเดือน) และรวมค่าใช้จ่ายตั้งแต่เริ่ มส่ งกําลังเข้า
ไปในอิรัก นั้นปัจจุบน ใช้งปประมาณไปกว่า 4.01 แสนล้านเหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 120.3 ล้านล้านบาท)
                    ั

              ส่ วนอิรักนั้นสหรัฐฯ มีคาใช้จ่ายที่สูงกว่า โดยทางส่ วนงานวิจยของสภาสหรัฐฯ (The Congressional
                                      ่                                   ั
Research Service (CRS)) และ อิโคโนมิสต์ (The Economist) ได้ประมาณการค่าใช้จ่ายของสหรัฐฯ ว่าใช้
งบประมาณ 2 พันล้านเหรี ยญสหรัฐต่อสัปดาห์ (ประมาณ 6 หมื่นล้านบาทต่อสัปดาห์) ไปจนถึง 12 พันล้าน
เหรี ยญสหรัฐต่อเดือน (ประมาณ 36 หมื่นล้านบาทต่อเดือน) และรวมค่าใช้จ่ายตั้งแต่เริ่ มส่ งกําลังเข้าไปใน
อิรัก นั้นปัจจุบน ใช้งปประมาณไปกว่า 7.88 แสนล้านเหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 236.4 ล้านล้านบาท)
                ั

              ค่าใช้จ่ายรวมทั้งในอัฟกานิ สถานและอิรักจนถึงปั จจุบนนั้นสหรัฐฯ ใช้งบประมาณรวม 11.89 แสน
                                                                 ั
ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 356.7 ล้านล้านบาท) หากอยากทราบว่าเป็ นงบประมาณทีมากแค่ไหน ให้ลอง
               ั                            ่
เปรี ยบเทียบดูกบ GDP ของประเทศไทยในปี 53 อยูที่ 584.768 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ ซึ่งเมื่อเปรี ยบเทียบกัน
แล้ว สหรั ฐ ฯ จะมี ค่า ใช้จ่ ายในสงครามอิ รัก และอัฟกานิ สถาน ต่ อปี นั้นประมาณหนึ่ งในสามของ GDP
ประเทศไทย

              ส่ วนสาเหตุที่ค่าใช้จ่ายในอิรักของสหรัฐฯ ใช้งบประมาณที่สูงกว่าค่าใช้จ่ายในอัฟกานิสถาน เพราะ
สหรั ฐฯ รับผิดชอบการปฏิ บติการในอิ รักทั้งหมด ส่ วนในอัฟกานิ สถานนั้น องค์การสนธิ สัญญาป้ องกัน
                         ั
แอตแลนติกเหนื อ จะเป็ นผูที่รับผิดชอบหลัก สหรัฐฯ นั้นเพียงแต่ส่งกําลังทหารเข้าร่ วม (เข้าร่ วมในสัดส่ วน
                         ้
5/05/2554                                                                                                                                                             3 

 

มากที่สุด) โดยในสหรัฐฯ นั้นมีหน่ วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลสหรัฐฯ ในการส่ งกําลัง
ทหารเข้าไปใน อิรักและอัฟกานิ สถาน ได้พยายามเผยแพร่ ขอมูลงบประมาณ และการสู ญเสี ย ตัวอย่างเช่น
                                                    ้
ในเวบไซต์ cost of war ได้แสดงค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลาในหลักวินาที

นโยบายพาทหารกลับบ้ าน

              หากย้อนไปในช่วงก่อนที่ประธานาธิ บดี โอบามา จะขึ้นรับตําแหน่งนั้น สิ่ งที่ปรากฏให้เห็นชัดเจน
คือ เขามีนโยบายที่สวนทางกับ อดี ตประธานาธิ บดี จอร์ จ ดับเบิ ลยู. บุ ช ในเรื่ องการทําสงครามกับอิรัก
ประธานาธิ บดี โอบามา นั้นมีท่าที่ต่อต้านการทําสงครามกับอิรัก และยังเคยหาเสี ยงด้วยซํ้าว่า หากเขาได้รับ
เลือกตั้งเป็ นประธานธิบดีสหรัฐฯ เขาจะถอนกําลังออกจากอิรักภายใน 16 เดือน

              นอกจากนี้ ประธานาธิ บดี โอบามา ยังได้แสดงเจตจํานงค์ตอนหาเสี ยงเลือกตั้งประธานาธิ บดีว่า ถ้า
หากเขาได้รับเลือกตั้ง เขาจะออกกฎหมายตัดงบประมาณประมาณ 10,000 ล้านเหรี ยญสหรัฐ เพื่อยุติการ
จัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ไม่สามารถพิสูจน์ที่มาได้ เพื่อนํามาใช้ในระบบการป้ องกันประเทศ มีแนวคิดที่จะ
ลดการพัฒนาขีดความสามารถทางการรบและระบบอาวุธลง รวมถึงการกําจัดอาวุธนิ วเคลียร์ ท้ งหมด โดย
                                                                                 ั
เริ่ มจากการลดการสังสมอาวุธนิวเคลียร์ที่มีประจําการในปั จจุบนลง อีกทั้งออกกฎหมายห้ามการผลิตหรื อหา
                   ่                                        ั
วัตถุดิบในการผลิตอาวุธ จากทังโลก รวมถึงความพยายามในการหาทางเจรจากับรัสเซี ยเพื่อลด ขีปนาวุธติด
                            ่
หัวรบนิวเคลียร์ เพื่อนําไปสู่ ความสัมพันธ์ที่ดีข้ ึนระหว่าง สหรัฐฯ กับรัสเซีย

              ต่อมาเมื่อโอบามาได้รับเลือกตั้งเป็ นประธานาธิ บดี และเข้ารับตําแหน่ งเมื่อ 19 ม.ค.52 และ เมื่อ
เม.ย.52 ประธานาธี บดี โอบามา ได้เดินทางไปที่อิรัก และกล่าวว่า เขาจะลดทหารสหรัฐฯ และถอนกําลัง
ทหารออกจากอิ รักลงในห้วงเวลา 18                                      เดื อนข้างหน้า และให้ชาวอิรัก เลื อกแนวทางความมันคงและ
                                                                                                                     ่
รับผิดชอบตนเอง หลังจากการตัดสิ นใจยุติภารกิจในอิรัก โดยการค่อยๆ ลดกําลังทหารสหรัฐฯ ที่ประจําการ
ลง ทําให้สหรัฐฯ สามารถที่จะเพิ่มกําลังทหารเข้าไปในอัฟกานิ สถานได้ ต่อมาเมื่อ ธ.ค.52 ประธานาธิบดี โอ
บามา ได้ประกาศเพิ่มทหารเข้าไปในอัฟกานิ สถานจํานวน 35,000 นาย ตามที่ผบญชาการกองทัพสหรัฐฯ
                                                                    ู้ ั
และองค์การนาโตในอัฟกานิสถาน ร้องขอ
5/05/2554                                                                                                                                                             4 

 




              ภาพที่ 1 สถิติการเสี ยชีวต International Security Assistance Forc: ISAF ในนอัฟกานิสถาน
                                       ิ

              ในภาพที่ 1 แสดงให้เห็นระดับความรุ นแรงของสถานการณ์ที่มีทิศทางที่รุนแรงมาในห้วง ปี 50 และ
สถานการณ์มีความรุ นแรงขึ้นเรื่ อย จนกระทั้ง สหรัฐฯ เพิ่มกําลังเข้าไปในอัฟกานิ สถาน ในปี 53 โดยการ
ปฏิบติการทางทหารที่เพิ่มมากขึ้นได้ส่งผลให้ กองกําลัง ISAF เริ่ มทําการรุ ก ทําให้กลุ่มตาลีบาน เสี ยชีวิตไป
    ั
กว่า 900 คน และในช่วงดังกล่าวมีการใช้ ระเบิดแสวงเครื่ อง (Improvised Explosive Device) จํานวนมาก
และส่ งผลให้ทหารของ ISAF ที่มีสหรัฐฯ ประจําการเป็ นจํานวนมาก และมีผเู ้ สี ยชีวิตมากขึ้นตามไปด้วย

              แต่บนการปฏิบติการทางหหารที่เพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกัน ก็เริ่ มมีการผลักดันใหเกิดการเจรจา
                          ั
โดยประธานาธิ บดี ฮามิด การ์ ไซ (Hamid Karzai) ของอัฟกานิ สถาน เพื่อให้เกิดสันติภาพมากขึ้นไป โดย
ความพยายามจะเจรจากับกลุ่มตาลีบาน พร้อมๆ กับการปฏิบติการทางทหารของสหรัฐฯ แต่ในช่วงเดือน ก.ค
                                                  ั
53 สหรัฐฯ ก็เริ่ มประสบปั ญหาในการปฏิบติการพอสมควร เนื่องจากชาวบ้านไม่ชอบทหาร ไม่ยอมรับความ
                                      ั
ช่วยเหลือต่างๆ จากกองทัพสหรัฐฯ และรวมไปถึงการขว้างปาหิ นใส่ กองกําลังทหารสหรัฐฯ ขณะกําลังลาด
ตระเวณ

              แต่อย่างไรก็ตามตลอดช่วงปี 53 สหรัฐฯ ได้เพิ่มระดับการปฏิบติการทางทหารจํานวนมาก เพื่อ
                                                                      ั
กดดันกับกลุ่มตาลีบาน และสหรัฐฯ ยังมีแผนที่จะถอนกําลังออกจาก อัฟกานิ สถาน โดยส่ งมอบการรักษา
             ั
เสถียรภาพให้กบกองกําลังรักษาความปลอดภัยของอัฟกานิสถาน ในเดือน ก.ค.54 ดังจะเห็นได้จากการเร่ ง
5/05/2554                                                                                                                                                             5 

 

สร้ างกองทัพกองทัพบกอัฟกานิ สถาน จํานวน 134,000 นาย เมื่ อ ต.ค.53                                                              และมีเป้ าหมายให้กองทัพ
              ํ
อัฟกานิสถานมีกาลังทหารบก 171,000 นาย ภายในปี 54




                                           ภาพที่ 2 แสดงระดับกําลังสหรัฐฯ ที่ประจําการในอิรัก

              ในสําหรับสถานการณ์ในอิรัก ภาพที่ 2 จะแสดงให้เห็นถึงกําลังทหารประจําการในอิรักมีแนวโน้ม
ที่ลดลงตามนโยบายของ ประธานาธิบดี โอบามา ประกาศไว้เมื่อ 1 ก.ย.53 อย่างเป็ นทางการว่าจะยุติภารกิจสู ้
รบของทหารอเมริ กันในอิ รักที่ ดาเนิ นมานาน 7 ปี และบอกกับชาวอเมริ กัน ว่าภารกิ จหลัก คือการฟื้ นฟู
                               ํ
เศรษฐกิจสหรัฐ โดยกล่าวชมกองทัพว่าได้ปฏิบติหน้าที่อย่างกล้าหาญ เสี ยสละ รวมถึงกล่าวว่าภารกิจสู ้รบ
                                        ั
              ั
ของทหารอเมริ กนในอิรักได้ยุติลงแล้ว ต่อจากนี้ ไปสหรัฐฯ จะเริ่ มถอนกําลังออกจากอิรัก และให้ชาวอิรัก
จัดการและรับผิดชอบดูแลความมันคงของประเทศตนเอง และเขายังได้กล่าวยืนยันว่าเขาได้ทาตามสัญญาที่
                            ่                                                  ํ
ให้ไว้ก่อนการเลือกตั้งว่าเขาจะนําทหารสหรัฐฯ กลับบ้าน

              ผลจากการประกาศยุติการส่ งทหารเข้าไปประจําการในอิ รัก ของประธานาธิ บดี โอบามา ได้มี
นักวิเคราะห์หลายคนได้มองว่าการตัดสิ นใจของประธานาธิบดี โอบามา ครั้งนี้จะส่ งผลต่อคะแนนนิยมของ
เขา 4 ด้านคือ
5/05/2554                                                                                                                                                             6 

 

              1) เป็ นการทําตามนโยบายที่ได้ให้ไว้ก่อนการเลือกตั้ง ทําให้ได้คะแนนนิยมในด้านการเป็ นผูนา
                                                                                                    ้ ํ

              2) เป็ นการประหยัดงบประมาณจํานวนมหาศาลที่สหรัฐฯ ต้องจ่ายเพื่อทําสงคราม ซึ่งจะส่ งผลให้
ได้คะแนนนิยมในด้านเศรษฐกิจ

              3) เป็ นการสงวนทรั พยากรทางทหารเพื่อให้สหรั ฐฯ สามารถบริ หารจัดการกิ จการด้านความ
มันคงได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น ซึ่งจะส่ งผลให้ได้รับคะแนนนิยมในด้านความมันคง
  ่                                                                          ่

              4) เป็ นการเพิ่ม บทบาทที่ดีข้ ึนกับประเทศมุสลิม หากมีการถอนทหารออกจากพื้นที่ตะวันออก
กลางจริ ง ซึ่งจะส่ งผลให้ได้รับคะแนนนิยมในด้านกิจการต่างประเทศและการทูต

ผลจากการปฏิบัติการสังหารบิน ลาเดน

              จากที่กล่าวมาในข้างต้น จะเห็นได้ว่าการที่สหรัฐฯ ส่ งกําลังทหารออกมายังตะวันออกกลาง เป็ น
ระยะเวลานาน ด้วยสาเหตุเริ่ มแรกคือ ภายหลังจากการก่อวินาศกรรม 11 ก.ย.44 ด้วยการกล่าวหาว่ากลุ่มอัล
กออิดะห์ ที่มี นาย บิน ลาเดน เป็ นผูอยู่เบื้องหลัง จากวันนั้นถึงวันนี้ ผ่านมากว่า 10 ปี สหรัฐฯ ได้สูญเสี ย
                                    ้
งบประมาณ จํานวนมหาศาล และชี วิตทหารจํานวมาก และยังไม่มีแนวโน้มที่สถานการณ์ ต่างๆ จะดี ข้ ึน
ประกอบกับการเข้าการส่ งกําลังออกไปยังอัฟกานิ สถานและอิรัก นั้นเป็ นนโยบายของอดีตประธานาธิ บดี
                                    ั ั
จอร์ จ ดับเบิลยู. บุช สังกัดพรรคริ พบลิกน แต่ปัจจุบน เก้าอี้ประธานาธิ บดี ได้เป็ นของ โอบามา สังกัดพรรค
                                                   ั
           ้                ั                          ่
เดโมแครต ผูซ่ ึงมีนโยบายที่ชดเจนว่าจะพาทหาสหรัฐฯ ที่อยูในอิรัก และอัฟกานิสถาน กลับบ้าน

              ประกอบกับเดือน ก.ค.54 นี้ สหรัฐฯ มีแผนที่จะถอนกําลังออกจาก อัฟกานิสถาน การเสี ยชีวิตครั้งนี้
ของ บิน ลาเดน จึงเป็ นเรื่ องที่สามารถตอบคําถามการถอนกําลังกลับได้เป็ นอย่างดียิ่ง เพราะสาเหตุของการ
ส่ งทหารออกเพื่อ 10 กว่าปี ที่แล้ว ได้บรรลุผล เป็ นการแสดงให้เห็นว่า สหรัฐฯ ไม่ได้กลับบ้านมือเปล่า
                             ั
สามารถซื้อใจประชาชนชาวอเมริ กนไว้ได้

              ความจริ งหากเข้าใจการเพิ่มกําลังทหารสหรัฐฯ ในปี 53 และการเพิ่มระดับการปฏิบติการทางทหาร
                                                                                        ั
ที่ ไ ล่ล่า ผูนําตาลี บาน จวบจนกระทังเจอบิ น ลาเดน และสังหารได้ในที่ สุดนั้น เป็ นเหตุ การณ์ ที่มีความ
              ้                     ่
ต่อเนื่ องและสมเหตุสมผล สหรัฐฯ สามารถสังหารผูนาตาลีบานได้ถึง 900 คน นันก็หมายถึง การสลายขีด
                                             ้ ํ                      ่
ความสามารถของตาลี บาน ซึ่ ง เป็ นกลุ่ มที่ ค อยคุ มครองให้ก ลุ่ มอัลกออิ ด ะห์ ทํา ให้ปรากฏการณ์ เ หล่ านี้
                                                  ้
สะท้อนให้เห็นชัดเจนและสอดคล้องกับแผนการถอนทหารที่จะเกิดขึ้น ใน ก.ค.54 นี้
5/05/2554                                                                                                                                                             7 

 

              ถึ งแม้การเสี ยชี วิตของบิ น ลาเดนนั้น หลายฝ่ ายอาจจะมีขอสงสัยว่าเขาเสี ยชี วิตจริ งหรื อไม่ เขา
                                                                      ้
อาจจะยังไม่เสี ยชีวิต หรื อเสี ยชีวิตไปนานแล้ว แต่นนก็ไม่สาคัญ เพราะไม่ว่าจะอย่างไรการเสี ยชีวิตของ บิน
                                                   ั่     ํ
ลาดิ น โดยการประกาศอย่างเป็ นทางการในครั้ งนี้ ได้กลายมาเป็ นสัญญาลักษณ์ ของการสิ้ นสุ ดภารกิ จที่
                                         ั
ยาวนาน และเสี ยงบประมาณและชี วิตคนอเมริ กน ไปจํานวนมาก และกองทัพสหรัฐฯ ภายใต้การนําของ
                                                       ั       ั
ประธานาธิบดี โอบามา ได้เป็ นวีรบุรุษผูที่ได้แก้แค้นให้กบอเมริ กนชน
                                      ้

              แต่ความจริ งแล้วถึงแม้ สหรัฐฯ จะถอนกําลังออกจากอัฟกานิ สถานแล้ว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า
สหรัฐฯ จะทิ้งอัฟกานิ สถานไปอย่างถาวร แต่ในทางกลับกัน สหรัฐฯ ได้ลงทุนสร้างสิ่ งปลูกสร้างสํารับการ
                                                                   ่
เป็ นฐานทัพถาวรในอัฟกานิ สถาน สองถึงสามแห่ ง ประกอบกับ ในปี 53 ที่ผานมาได้มีการประกาศจาก เพน
ตากอน ว่ามีการค้นพบสิ นแร่ ที่มีมูลค่า กว่า 1 ล้านล้านเหรี ยญสหรัฐฯ จนมีการกล่าวกันว่า อัฟกานิสถาน จะ
กลายเป็ น “Saudi Arabia of lithium” หรื อ เป็ นประเทศที่อุดมไปด้วยลิเทียม

              ไม่เพียงแต่มีแร่ ธาตุที่อุดมสมบูรณ์ แล้ว อัฟกานิ สถานยังเป็ นประเทศที่มีภูมิรัฐศาสตร์ ดีในแง่ภูมิ
ประเทศสู งข่ม เพราะเป็ นประเทศที่มีชายแดนติดกับประเทศอิหร่ าน ชายแดนติ ดประเทศปากี สถานที่มี
ชายแดนติดกับอินเดีย และประเทศทาจิกิสถานที่มีชายแดนติดกับจีน ซึ่ งหากมองผ่านมิติภูมิรัฐศาสตร์ แล้ว
อัฟกานสถานเป็ นประเทศที่มี ภูมิยทธศาสตร์ดี ที่เชื่อมโยงกับ 3 ประเทศที่มีความเกี่ยวพันเชิงผลประโยชน์
                                ุ
กับ สหรัฐฯ คือ อิหร่ าน จีน และ อินเดีย

              ดังนั้นการปฏิบติการทางทหารของสหรัฐฯ ที่เข้าสังหาร บิน ลาเดน จึงกลายมาเป็ น จุดเริ่ มที่ทหาร
                            ั
สหรั ฐ ฯ จะได้ก ลับ บ้า นเกิ ด ไม่ ต ้อ งมาเสี่ ย งชี วิ ต ต่ อ จากนี้ ไปจะทํา การโอนความเสี่ ย งให้กับ กองทัพ
อัฟกานิ สถานให้สู้รบกับตาลีบานต่อไป ส่ วนสหรัฐฯ ก็อาจจะคงกําลังไว้ในลักษณะของการเป็ นที่ปรึ กษา
ทางทหาร และ อาจจะได้ประโยชน์จากการเข้าไปมีสมปทาน แร่ ลิเทียม ในอัฟกานิสถาน และหลังจากทหาร
                                           ั
กลับบ้าน ทหารเหล่านั้นและพ่อแม่ญาติพี่นองของทหารเหล่านั้น ก็จะพากันไปเลือกตั้งประธานาธิ บดี ผูที่
                                       ้                                                      ้
                          ั                       ั
เป็ นวีรบุรุษของชาวอเมริ กนชน ที่สามารถแก้แค้นให้กบคนทั้งชาติ เรื่ องเหล่านี้ เป็ นแค่นิทานที่ผมเล่า อย่า
                             ั
เชื่อเรื่ องเล่าผมแต่ตองรอดูกนต่อไป ...................เอวังครับ
                      ้

More Related Content

More from Teeranan

National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politicsTeeranan
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTeeranan
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Teeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTeeranan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflictTeeranan
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar warTeeranan
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfareTeeranan
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155Teeranan
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าTeeranan
 

More from Teeranan (20)

National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar war
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfare
 
World issues 160155
World issues 160155World issues 160155
World issues 160155
 
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้าบทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า
 

Binladen

  • 1. 5/05/2554                                                                                                                                                             1    ความมั่นคงศึกษา – เมื่อถึงเวลาทหารกลับบ้ าน แล้วไปเลือกประธานาธิบดี พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง นักวิชาการด้านความมันคง ่ ข่าวการเสี ยชีวิตของ อุซามะห์ บิน ลาดิน (Osama Bin Laden) ผูเ้ ป็ นหนึ่ งในผูก่อตั้งและหัวหน้า ้ กลุ่ ม อัล กออิ ด ะห์ ซึ่ งเป็ นกลุ่ ม ก่ อ การร้ า ยสากลมุ ส ลิ ม นิ ก ายซุ น นี จากการปฏิ บ ัติ ก ารทางทหารของ สหรัฐอเมริ กา ได้ปรากฏเป็ นข่าวที่ตามสื่ อทัวโลก นอกจากนี้ได้มีประชาชนสหรัฐฯ จํานวนมากออกมาเฉลิม ่ ฉลอง แสดงความยินดีเป็ นจํานวนมาก ส่ วนหนึ่ งที่เป็ นเช่นนี้ เพราะ มีความรู ้สึกสะใจ หรื อ ดีใจ ที่ความรู ้สึก เจ็บปวดจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรม 11 ก.ย. 44 ได้รับการสะสางหรื อแก้แค้น อย่างไรก็ตามความดีใจเกิดขึ้นได้ไม่นานก็ปรากฏข่าวสารต่างๆ ที่ทะยอยออกตามมา ภายหลังจาก การประกาศอย่า งเป็ นการว่า บิ น ลาดิ น ได้เ สี ย ชี วิต โดย บารั ก โอบามา ประธานาธิ บดี สหรั ฐ ฯ ว่าให้ ระมัดระวังการก่อการร้ายในระดับที่สูงสุ ด เนื่ องจากมีความเป็ นไปได้ว่าจะมีการแก้แค้นให้กบ บิน ลาดิน ั โดยกลุ่มก่อการร้าย นอกจากนี้ การเสี ยชีวิตของบิน ลาดิน กับกลายมาเป็ นคําถามว่าเขาเสี ยชีวิตจริ งหรื อไม่ เพราะมีการ ส่ งภาพที่ตกแต่งโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แพร่ กระจายอยู่บนอินเตอร์ เน็ต ประกอบกับการปฏิบติการ ั ต่างๆ เป็ นไปอย่างรวดเร็ ว รวมถึงการฝังศพ และ การตรวจ DNA ยืนยัน ทําให้หลายๆ ฝ่ ายต่างกังขากับ ข่าวสารที่ออกมา ถึงแม้จะมีการแถลงการณ์อย่างเป็ นทางการของประธานาธิบดี โอบามา ยืนยันก็ตาม แต่ไม่ ว่าจะอย่างไร ผลกระทบจากการแถลงการณ์ฯ และการเสี ยชีวิตของ บิน ลาดิน จะนําไปสู่ อะไรนั้นเป็ นเรื่ องที่ ต้องรอการพิสูจน์ต่อไป แต่จากนี้ ไป กองกําลังของสหรัฐฯ คงจะได้กลับบ้านเพราะภารกิจที่สาคัญได้เสร็ จ ํ สิ้ นลงแล้ว สถานะปัจจุบันของทหารสหรั ฐฯ ในอัฟกานิสถาน และอิรัก ํ ปั จจุบนกองทัพสหรั ฐฯ มีกาลังพลประจําการในอัฟกานิ สถาน 90,000 นาย ภายใต้การนําของ ั องค์การสนธิสัญญาป้ องกันแอตแลนติกเหนื อ (North Atlantic Treaty Organization : NATO) หรื อที่เรี ยกว่า
  • 2. 5/05/2554                                                                                                                                                             2    นาโต้ โดย สหรัฐฯ ได้สูญเสี ยกําลังไปในสมรภูมิอฟกานิสถาน 1,406 นาย บาดเจ็บ 10,944 นาย กองกําลัง ั รับจ้างของสหรัฐฯ (Private Military Company or Contractors) เสี ยชีวิต 1,764 คน และบาดเจ็บ 11,758 คน (ยอดวันที่ 4/5/54 จากเวบ Wikipedia) นับตั้งแต่สหรัฐฯ เริ่ มส่ งกําลังเข้าไปในอัฟกานิสถาน เมื่อเกือบ 10 ปี ก่อนหน้านี้ ภายหลังจากเหตุการณ์ก่อวินาศกรรม 11 ก.ย. 44 ด้วยข้อกล่าวหาให้ที่พกพิงผูก่อการร้าย ั ้ ส่ วนในพื้นทีใกล้เคียงอย่างอิรัก ปั จจุบน สหรัฐฯ มีทหารประจําการอยู่ 47,000 นาย เสี ยชีวิตทหาร ั ไป 4.444 นาย บาดเจ็บ 32,051 นาย เป็ นทหารชาย 98% ชั้นประทวน 91% ทหารประจําการ 82% กองกําลัง ทหารป้ องกันชาติ (National Guard) 11% ทหารที่เสี ยชีวิตที่อายุต่ากว่า 25 ปี 54% ทหารบกเสี ยชีวิตมากที่สุด ํ 72% สําหรับผูบาดเจ็บ ที่สาหัสนั้นมีถึง 20% (ข้อมูลจาก เวบ usliberals.about.com) ้ สําหรั บค่าใช้จ่ายของสหรั ฐฯ ในส่ งกองกําลังทหารออกมาประจําการในอัฟกานิ สถาน ทางส่ วน งานวิจยของสภาสหรัฐฯ (The Congressional Research Service (CRS)) ประมาณค่าใช้จ่ายอยูที่ประมาณ 3.6 ั ่ พันล้านเหรี ยญสหรัฐต่อเดือน (ประมาณ 108 พันล้านบาทต่อเดือน) และรวมค่าใช้จ่ายตั้งแต่เริ่ มส่ งกําลังเข้า ไปในอิรัก นั้นปัจจุบน ใช้งปประมาณไปกว่า 4.01 แสนล้านเหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 120.3 ล้านล้านบาท) ั ส่ วนอิรักนั้นสหรัฐฯ มีคาใช้จ่ายที่สูงกว่า โดยทางส่ วนงานวิจยของสภาสหรัฐฯ (The Congressional ่ ั Research Service (CRS)) และ อิโคโนมิสต์ (The Economist) ได้ประมาณการค่าใช้จ่ายของสหรัฐฯ ว่าใช้ งบประมาณ 2 พันล้านเหรี ยญสหรัฐต่อสัปดาห์ (ประมาณ 6 หมื่นล้านบาทต่อสัปดาห์) ไปจนถึง 12 พันล้าน เหรี ยญสหรัฐต่อเดือน (ประมาณ 36 หมื่นล้านบาทต่อเดือน) และรวมค่าใช้จ่ายตั้งแต่เริ่ มส่ งกําลังเข้าไปใน อิรัก นั้นปัจจุบน ใช้งปประมาณไปกว่า 7.88 แสนล้านเหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 236.4 ล้านล้านบาท) ั ค่าใช้จ่ายรวมทั้งในอัฟกานิ สถานและอิรักจนถึงปั จจุบนนั้นสหรัฐฯ ใช้งบประมาณรวม 11.89 แสน ั ล้านเหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 356.7 ล้านล้านบาท) หากอยากทราบว่าเป็ นงบประมาณทีมากแค่ไหน ให้ลอง ั ่ เปรี ยบเทียบดูกบ GDP ของประเทศไทยในปี 53 อยูที่ 584.768 พันล้านเหรี ยญสหรัฐ ซึ่งเมื่อเปรี ยบเทียบกัน แล้ว สหรั ฐ ฯ จะมี ค่า ใช้จ่ ายในสงครามอิ รัก และอัฟกานิ สถาน ต่ อปี นั้นประมาณหนึ่ งในสามของ GDP ประเทศไทย ส่ วนสาเหตุที่ค่าใช้จ่ายในอิรักของสหรัฐฯ ใช้งบประมาณที่สูงกว่าค่าใช้จ่ายในอัฟกานิสถาน เพราะ สหรั ฐฯ รับผิดชอบการปฏิ บติการในอิ รักทั้งหมด ส่ วนในอัฟกานิ สถานนั้น องค์การสนธิ สัญญาป้ องกัน ั แอตแลนติกเหนื อ จะเป็ นผูที่รับผิดชอบหลัก สหรัฐฯ นั้นเพียงแต่ส่งกําลังทหารเข้าร่ วม (เข้าร่ วมในสัดส่ วน ้
  • 3. 5/05/2554                                                                                                                                                             3    มากที่สุด) โดยในสหรัฐฯ นั้นมีหน่ วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ไม่เห็นด้วยกับรัฐบาลสหรัฐฯ ในการส่ งกําลัง ทหารเข้าไปใน อิรักและอัฟกานิ สถาน ได้พยายามเผยแพร่ ขอมูลงบประมาณ และการสู ญเสี ย ตัวอย่างเช่น ้ ในเวบไซต์ cost of war ได้แสดงค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลาในหลักวินาที นโยบายพาทหารกลับบ้ าน หากย้อนไปในช่วงก่อนที่ประธานาธิ บดี โอบามา จะขึ้นรับตําแหน่งนั้น สิ่ งที่ปรากฏให้เห็นชัดเจน คือ เขามีนโยบายที่สวนทางกับ อดี ตประธานาธิ บดี จอร์ จ ดับเบิ ลยู. บุ ช ในเรื่ องการทําสงครามกับอิรัก ประธานาธิ บดี โอบามา นั้นมีท่าที่ต่อต้านการทําสงครามกับอิรัก และยังเคยหาเสี ยงด้วยซํ้าว่า หากเขาได้รับ เลือกตั้งเป็ นประธานธิบดีสหรัฐฯ เขาจะถอนกําลังออกจากอิรักภายใน 16 เดือน นอกจากนี้ ประธานาธิ บดี โอบามา ยังได้แสดงเจตจํานงค์ตอนหาเสี ยงเลือกตั้งประธานาธิ บดีว่า ถ้า หากเขาได้รับเลือกตั้ง เขาจะออกกฎหมายตัดงบประมาณประมาณ 10,000 ล้านเหรี ยญสหรัฐ เพื่อยุติการ จัดหาอาวุธยุทโธปกรณ์ที่ไม่สามารถพิสูจน์ที่มาได้ เพื่อนํามาใช้ในระบบการป้ องกันประเทศ มีแนวคิดที่จะ ลดการพัฒนาขีดความสามารถทางการรบและระบบอาวุธลง รวมถึงการกําจัดอาวุธนิ วเคลียร์ ท้ งหมด โดย ั เริ่ มจากการลดการสังสมอาวุธนิวเคลียร์ที่มีประจําการในปั จจุบนลง อีกทั้งออกกฎหมายห้ามการผลิตหรื อหา ่ ั วัตถุดิบในการผลิตอาวุธ จากทังโลก รวมถึงความพยายามในการหาทางเจรจากับรัสเซี ยเพื่อลด ขีปนาวุธติด ่ หัวรบนิวเคลียร์ เพื่อนําไปสู่ ความสัมพันธ์ที่ดีข้ ึนระหว่าง สหรัฐฯ กับรัสเซีย ต่อมาเมื่อโอบามาได้รับเลือกตั้งเป็ นประธานาธิ บดี และเข้ารับตําแหน่ งเมื่อ 19 ม.ค.52 และ เมื่อ เม.ย.52 ประธานาธี บดี โอบามา ได้เดินทางไปที่อิรัก และกล่าวว่า เขาจะลดทหารสหรัฐฯ และถอนกําลัง ทหารออกจากอิ รักลงในห้วงเวลา 18 เดื อนข้างหน้า และให้ชาวอิรัก เลื อกแนวทางความมันคงและ ่ รับผิดชอบตนเอง หลังจากการตัดสิ นใจยุติภารกิจในอิรัก โดยการค่อยๆ ลดกําลังทหารสหรัฐฯ ที่ประจําการ ลง ทําให้สหรัฐฯ สามารถที่จะเพิ่มกําลังทหารเข้าไปในอัฟกานิ สถานได้ ต่อมาเมื่อ ธ.ค.52 ประธานาธิบดี โอ บามา ได้ประกาศเพิ่มทหารเข้าไปในอัฟกานิ สถานจํานวน 35,000 นาย ตามที่ผบญชาการกองทัพสหรัฐฯ ู้ ั และองค์การนาโตในอัฟกานิสถาน ร้องขอ
  • 4. 5/05/2554                                                                                                                                                             4    ภาพที่ 1 สถิติการเสี ยชีวต International Security Assistance Forc: ISAF ในนอัฟกานิสถาน ิ ในภาพที่ 1 แสดงให้เห็นระดับความรุ นแรงของสถานการณ์ที่มีทิศทางที่รุนแรงมาในห้วง ปี 50 และ สถานการณ์มีความรุ นแรงขึ้นเรื่ อย จนกระทั้ง สหรัฐฯ เพิ่มกําลังเข้าไปในอัฟกานิ สถาน ในปี 53 โดยการ ปฏิบติการทางทหารที่เพิ่มมากขึ้นได้ส่งผลให้ กองกําลัง ISAF เริ่ มทําการรุ ก ทําให้กลุ่มตาลีบาน เสี ยชีวิตไป ั กว่า 900 คน และในช่วงดังกล่าวมีการใช้ ระเบิดแสวงเครื่ อง (Improvised Explosive Device) จํานวนมาก และส่ งผลให้ทหารของ ISAF ที่มีสหรัฐฯ ประจําการเป็ นจํานวนมาก และมีผเู ้ สี ยชีวิตมากขึ้นตามไปด้วย แต่บนการปฏิบติการทางหหารที่เพิ่มมากขึ้น ในทางกลับกัน ก็เริ่ มมีการผลักดันใหเกิดการเจรจา ั โดยประธานาธิ บดี ฮามิด การ์ ไซ (Hamid Karzai) ของอัฟกานิ สถาน เพื่อให้เกิดสันติภาพมากขึ้นไป โดย ความพยายามจะเจรจากับกลุ่มตาลีบาน พร้อมๆ กับการปฏิบติการทางทหารของสหรัฐฯ แต่ในช่วงเดือน ก.ค ั 53 สหรัฐฯ ก็เริ่ มประสบปั ญหาในการปฏิบติการพอสมควร เนื่องจากชาวบ้านไม่ชอบทหาร ไม่ยอมรับความ ั ช่วยเหลือต่างๆ จากกองทัพสหรัฐฯ และรวมไปถึงการขว้างปาหิ นใส่ กองกําลังทหารสหรัฐฯ ขณะกําลังลาด ตระเวณ แต่อย่างไรก็ตามตลอดช่วงปี 53 สหรัฐฯ ได้เพิ่มระดับการปฏิบติการทางทหารจํานวนมาก เพื่อ ั กดดันกับกลุ่มตาลีบาน และสหรัฐฯ ยังมีแผนที่จะถอนกําลังออกจาก อัฟกานิ สถาน โดยส่ งมอบการรักษา ั เสถียรภาพให้กบกองกําลังรักษาความปลอดภัยของอัฟกานิสถาน ในเดือน ก.ค.54 ดังจะเห็นได้จากการเร่ ง
  • 5. 5/05/2554                                                                                                                                                             5    สร้ างกองทัพกองทัพบกอัฟกานิ สถาน จํานวน 134,000 นาย เมื่ อ ต.ค.53 และมีเป้ าหมายให้กองทัพ ํ อัฟกานิสถานมีกาลังทหารบก 171,000 นาย ภายในปี 54 ภาพที่ 2 แสดงระดับกําลังสหรัฐฯ ที่ประจําการในอิรัก ในสําหรับสถานการณ์ในอิรัก ภาพที่ 2 จะแสดงให้เห็นถึงกําลังทหารประจําการในอิรักมีแนวโน้ม ที่ลดลงตามนโยบายของ ประธานาธิบดี โอบามา ประกาศไว้เมื่อ 1 ก.ย.53 อย่างเป็ นทางการว่าจะยุติภารกิจสู ้ รบของทหารอเมริ กันในอิ รักที่ ดาเนิ นมานาน 7 ปี และบอกกับชาวอเมริ กัน ว่าภารกิ จหลัก คือการฟื้ นฟู ํ เศรษฐกิจสหรัฐ โดยกล่าวชมกองทัพว่าได้ปฏิบติหน้าที่อย่างกล้าหาญ เสี ยสละ รวมถึงกล่าวว่าภารกิจสู ้รบ ั ั ของทหารอเมริ กนในอิรักได้ยุติลงแล้ว ต่อจากนี้ ไปสหรัฐฯ จะเริ่ มถอนกําลังออกจากอิรัก และให้ชาวอิรัก จัดการและรับผิดชอบดูแลความมันคงของประเทศตนเอง และเขายังได้กล่าวยืนยันว่าเขาได้ทาตามสัญญาที่ ่ ํ ให้ไว้ก่อนการเลือกตั้งว่าเขาจะนําทหารสหรัฐฯ กลับบ้าน ผลจากการประกาศยุติการส่ งทหารเข้าไปประจําการในอิ รัก ของประธานาธิ บดี โอบามา ได้มี นักวิเคราะห์หลายคนได้มองว่าการตัดสิ นใจของประธานาธิบดี โอบามา ครั้งนี้จะส่ งผลต่อคะแนนนิยมของ เขา 4 ด้านคือ
  • 6. 5/05/2554                                                                                                                                                             6    1) เป็ นการทําตามนโยบายที่ได้ให้ไว้ก่อนการเลือกตั้ง ทําให้ได้คะแนนนิยมในด้านการเป็ นผูนา ้ ํ 2) เป็ นการประหยัดงบประมาณจํานวนมหาศาลที่สหรัฐฯ ต้องจ่ายเพื่อทําสงคราม ซึ่งจะส่ งผลให้ ได้คะแนนนิยมในด้านเศรษฐกิจ 3) เป็ นการสงวนทรั พยากรทางทหารเพื่อให้สหรั ฐฯ สามารถบริ หารจัดการกิ จการด้านความ มันคงได้อย่างมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น ซึ่งจะส่ งผลให้ได้รับคะแนนนิยมในด้านความมันคง ่ ่ 4) เป็ นการเพิ่ม บทบาทที่ดีข้ ึนกับประเทศมุสลิม หากมีการถอนทหารออกจากพื้นที่ตะวันออก กลางจริ ง ซึ่งจะส่ งผลให้ได้รับคะแนนนิยมในด้านกิจการต่างประเทศและการทูต ผลจากการปฏิบัติการสังหารบิน ลาเดน จากที่กล่าวมาในข้างต้น จะเห็นได้ว่าการที่สหรัฐฯ ส่ งกําลังทหารออกมายังตะวันออกกลาง เป็ น ระยะเวลานาน ด้วยสาเหตุเริ่ มแรกคือ ภายหลังจากการก่อวินาศกรรม 11 ก.ย.44 ด้วยการกล่าวหาว่ากลุ่มอัล กออิดะห์ ที่มี นาย บิน ลาเดน เป็ นผูอยู่เบื้องหลัง จากวันนั้นถึงวันนี้ ผ่านมากว่า 10 ปี สหรัฐฯ ได้สูญเสี ย ้ งบประมาณ จํานวนมหาศาล และชี วิตทหารจํานวมาก และยังไม่มีแนวโน้มที่สถานการณ์ ต่างๆ จะดี ข้ ึน ประกอบกับการเข้าการส่ งกําลังออกไปยังอัฟกานิ สถานและอิรัก นั้นเป็ นนโยบายของอดีตประธานาธิ บดี ั ั จอร์ จ ดับเบิลยู. บุช สังกัดพรรคริ พบลิกน แต่ปัจจุบน เก้าอี้ประธานาธิ บดี ได้เป็ นของ โอบามา สังกัดพรรค ั ้ ั ่ เดโมแครต ผูซ่ ึงมีนโยบายที่ชดเจนว่าจะพาทหาสหรัฐฯ ที่อยูในอิรัก และอัฟกานิสถาน กลับบ้าน ประกอบกับเดือน ก.ค.54 นี้ สหรัฐฯ มีแผนที่จะถอนกําลังออกจาก อัฟกานิสถาน การเสี ยชีวิตครั้งนี้ ของ บิน ลาเดน จึงเป็ นเรื่ องที่สามารถตอบคําถามการถอนกําลังกลับได้เป็ นอย่างดียิ่ง เพราะสาเหตุของการ ส่ งทหารออกเพื่อ 10 กว่าปี ที่แล้ว ได้บรรลุผล เป็ นการแสดงให้เห็นว่า สหรัฐฯ ไม่ได้กลับบ้านมือเปล่า ั สามารถซื้อใจประชาชนชาวอเมริ กนไว้ได้ ความจริ งหากเข้าใจการเพิ่มกําลังทหารสหรัฐฯ ในปี 53 และการเพิ่มระดับการปฏิบติการทางทหาร ั ที่ ไ ล่ล่า ผูนําตาลี บาน จวบจนกระทังเจอบิ น ลาเดน และสังหารได้ในที่ สุดนั้น เป็ นเหตุ การณ์ ที่มีความ ้ ่ ต่อเนื่ องและสมเหตุสมผล สหรัฐฯ สามารถสังหารผูนาตาลีบานได้ถึง 900 คน นันก็หมายถึง การสลายขีด ้ ํ ่ ความสามารถของตาลี บาน ซึ่ ง เป็ นกลุ่ มที่ ค อยคุ มครองให้ก ลุ่ มอัลกออิ ด ะห์ ทํา ให้ปรากฏการณ์ เ หล่ านี้ ้ สะท้อนให้เห็นชัดเจนและสอดคล้องกับแผนการถอนทหารที่จะเกิดขึ้น ใน ก.ค.54 นี้
  • 7. 5/05/2554                                                                                                                                                             7    ถึ งแม้การเสี ยชี วิตของบิ น ลาเดนนั้น หลายฝ่ ายอาจจะมีขอสงสัยว่าเขาเสี ยชี วิตจริ งหรื อไม่ เขา ้ อาจจะยังไม่เสี ยชีวิต หรื อเสี ยชีวิตไปนานแล้ว แต่นนก็ไม่สาคัญ เพราะไม่ว่าจะอย่างไรการเสี ยชีวิตของ บิน ั่ ํ ลาดิ น โดยการประกาศอย่างเป็ นทางการในครั้ งนี้ ได้กลายมาเป็ นสัญญาลักษณ์ ของการสิ้ นสุ ดภารกิ จที่ ั ยาวนาน และเสี ยงบประมาณและชี วิตคนอเมริ กน ไปจํานวนมาก และกองทัพสหรัฐฯ ภายใต้การนําของ ั ั ประธานาธิบดี โอบามา ได้เป็ นวีรบุรุษผูที่ได้แก้แค้นให้กบอเมริ กนชน ้ แต่ความจริ งแล้วถึงแม้ สหรัฐฯ จะถอนกําลังออกจากอัฟกานิ สถานแล้ว แต่ก็ไม่ได้หมายความว่า สหรัฐฯ จะทิ้งอัฟกานิ สถานไปอย่างถาวร แต่ในทางกลับกัน สหรัฐฯ ได้ลงทุนสร้างสิ่ งปลูกสร้างสํารับการ ่ เป็ นฐานทัพถาวรในอัฟกานิ สถาน สองถึงสามแห่ ง ประกอบกับ ในปี 53 ที่ผานมาได้มีการประกาศจาก เพน ตากอน ว่ามีการค้นพบสิ นแร่ ที่มีมูลค่า กว่า 1 ล้านล้านเหรี ยญสหรัฐฯ จนมีการกล่าวกันว่า อัฟกานิสถาน จะ กลายเป็ น “Saudi Arabia of lithium” หรื อ เป็ นประเทศที่อุดมไปด้วยลิเทียม ไม่เพียงแต่มีแร่ ธาตุที่อุดมสมบูรณ์ แล้ว อัฟกานิ สถานยังเป็ นประเทศที่มีภูมิรัฐศาสตร์ ดีในแง่ภูมิ ประเทศสู งข่ม เพราะเป็ นประเทศที่มีชายแดนติดกับประเทศอิหร่ าน ชายแดนติ ดประเทศปากี สถานที่มี ชายแดนติดกับอินเดีย และประเทศทาจิกิสถานที่มีชายแดนติดกับจีน ซึ่ งหากมองผ่านมิติภูมิรัฐศาสตร์ แล้ว อัฟกานสถานเป็ นประเทศที่มี ภูมิยทธศาสตร์ดี ที่เชื่อมโยงกับ 3 ประเทศที่มีความเกี่ยวพันเชิงผลประโยชน์ ุ กับ สหรัฐฯ คือ อิหร่ าน จีน และ อินเดีย ดังนั้นการปฏิบติการทางทหารของสหรัฐฯ ที่เข้าสังหาร บิน ลาเดน จึงกลายมาเป็ น จุดเริ่ มที่ทหาร ั สหรั ฐ ฯ จะได้ก ลับ บ้า นเกิ ด ไม่ ต ้อ งมาเสี่ ย งชี วิ ต ต่ อ จากนี้ ไปจะทํา การโอนความเสี่ ย งให้กับ กองทัพ อัฟกานิ สถานให้สู้รบกับตาลีบานต่อไป ส่ วนสหรัฐฯ ก็อาจจะคงกําลังไว้ในลักษณะของการเป็ นที่ปรึ กษา ทางทหาร และ อาจจะได้ประโยชน์จากการเข้าไปมีสมปทาน แร่ ลิเทียม ในอัฟกานิสถาน และหลังจากทหาร ั กลับบ้าน ทหารเหล่านั้นและพ่อแม่ญาติพี่นองของทหารเหล่านั้น ก็จะพากันไปเลือกตั้งประธานาธิ บดี ผูที่ ้ ้ ั ั เป็ นวีรบุรุษของชาวอเมริ กนชน ที่สามารถแก้แค้นให้กบคนทั้งชาติ เรื่ องเหล่านี้ เป็ นแค่นิทานที่ผมเล่า อย่า ั เชื่อเรื่ องเล่าผมแต่ตองรอดูกนต่อไป ...................เอวังครับ ้