SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
Internet History Jira Hongsamrerng JR 202
Father of the Internet  Tim Berners - Lee
Tim Berners - Lee ,[object Object],เซอร์ทิโมที จอห์น เบอร์เนิร์ส - ลี   (Sir Timothy John Berners-Lee, OM, KBE, FRS, FREng, FRSA) ( 8   มิถุนายน พ . ศ .  2498 )  ผู้คิดค้นและประดิษฐ์ เวิลด์ไวด์เว็บ ผู้อำนวยการ World Wide Web Consortium( ทำหน้าที่ดูแลการพัฒนาต่อเนื่องใหม่ ๆ เกี่ยวกับเว็บ )  นักวิจัย อาวุโสและผู้นั่งในตำแหน่ง  ทรีคอมฟาวน์เดอร์สแชร์   ( 3Com Founders Chair )  ที่หอทดลองวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์และปัญญาประดิษฐ์แห่ง เอ็มไอที   (CSAIL)
เซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส - ลี เกิดใน กรุงลอนดอน   ประเทศอังกฤษ  เป็นบุตรนายคอนเวย์ เบอร์เนิร์ส - ลี และนางแมรี ลี วูดส์ ทั้งบิดาและมารดาเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ทำงานอยู่ในทีมสร้างคอมพิวเตอร์ยุคแรก คือ  " แมนเชสเตอร์ มาร์ก  1 "  ด้วยกัน ทั้งสองได้สอนให้เบอร์เนิร์ส - ลีใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันไปทุกเรื่อง แม้แต่บนโต๊ะอาหาร เบอร์เนิร์ส - ลีเข้าโรงเรียนชั้นประถมที่โรงเรียน  " ชีนเมาท์ " ( ซึ่งต่อมาได้อุทิศห้องโถงใหม่ห้องหนึ่งเป็นเกียรติแก่เขา )  ก่อนที่จะย้ายไปเรียนต่อระดับโอ .  และระดับเอ .  ที่โรงเรียนเอ็มมานูเอล ที่วานสเวิร์ท Father of the Internet Tim Berners - Lee
[object Object],Father of the Internet Tim Berners - Lee
ขณะที่เป็นลูกจ้างอิสระอยู่ที่  " เซิร์น "   ระหว่างเดือนมิถุนายน  -  ธันวาคม พ . ศ .  2523   เบอร์เนิร์ส - ลีได้เสนอโครงการหนึ่งที่ใช้แนวคิด  " ข้อความหลายมิติ "  หรือ  hypertext   มาใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนและปรับสมัยข้อมูลระหว่างนักวิจัยด้วยกัน ขณะที่เบอร์เนิร์ส - ลีทำงานอยู่ที่นี่เขาได้สร้างระบบต้นแบบไว้แล้วเรียกชื่อว่า  ENQUIRE   หลังจากออกจากเซิร์นเมื่อ พ . ศ .  2523   เบอร์เนิร์ส - ลีไปร่วมงานกับบริษัท  " อิมเมจคอมพิวเตอร์ซิสเต็ม "  ของจอห์น พุล เบอร์เนิร์ส - ลีได้กลับมาทำงานที่เซิร์นอีกครั้งหนึ่งเมื่อ พ . ศ .  2527   ในตำแหน่ง สิกขบัณฑิต   ( Fellow ) Father of the Internet Tim Berners - Lee เมื่อถึง พ . ศ .  2532   เซิร์นได้กลายเป็นศุนย์อินเทอร์เน็ตที่ใหญ่ที่สุดใน ยุโรป  และเบอร์เนิร์ส - ลีได้เล็งเห็นโอกาสในการใช้  " ข้อความหลายมิติ "  ผนวกเข้ากับอินเทอร์เน็ต เบอร์เนิร์ส - ลีเขียนไว้ในข้อเสนอโครงการของเขาว่า  "... ผมเพียงเอาความคิดเรื่องข้อความหลายมิตินี้เขื่อมต่อเข้ากับความคิด  " ทีซีพี "  และ  " DNS "  และเท่านั้นก็จะได้  " เวิลด์ไวด์เว็บ .."
เบอร์เนิร์ส - ลีร่างข้อเสนอของเขาเมื่อเดือนมีนาคม พ . ศ .  2532   และในปี พ . ศ .  2533   ด้วยความช่วยเหลือของ โรเบิร์ต ไคลิยู  ช่วยปรับร่างโครงการให้  ไมค์ เซนดอลล์ ผู้จัดการของเบอร์เนิร์ส - ลีจึงรับข้อเสนอของเขา ในข้อเสนอนี้ เบอร์เนิร์ส - ลีได้ใช้ความคิเดียวกับระบบเอ็นไควร์มาใช้สร้างเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งเขาได้ออกแบบและสร้างเว็บเบราว์เซอร์และเอดิเตอร์ตัวแรก  ( เรียกว่า WorldWideWeb  และพัฒนาด้วย  NEXTSTEP ) และเว็บเซิร์บเวอร์ขึ้น เรียกว่า  httpd  ( ย่อมาจาก  HyperText Transfer Protocal Deamon ) เว็บไซต์แรกสุดสร้างขึ้นที่เซิร์น นำขึ้น ออนไลน์ เมื่อวันที่  6  สิงหาค ม พ . ศ .  2534   ให้คำอธิบายว่าเวิลด์ไวด์เว็บคืออะไร การที่จะเป็นเจ้าของเบราว์เซอร์ทำได้อย่างไรและจะติดตั้ง เว็บเซิร์บเวอร์ ได้อย่างไร นอกจากนี้ยังนับเป็น เว็บไดเร็กทอรี อันแรกของโลกด้วยเนื่องจากเบอร์เนิร์ส - ลีดูแลรายชื่อของเว็บไซต์อื่นๆ ทั้งหมด นอกจากของตนเองด้วย Father of the Internet Tim Berners - Lee
ในปี พ . ศ .  2537   เบอร์เนิร์ส - ลีได้ก่อตั้งกลุ่มบริษัทเวิลด์ไวด์เว็บ  ( W3C )  ขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเสตส์  หรือเอ็มไอที ประกอบด้วยบริษัทหลายบริษัทที่ยินยอมพร้อมใจมาร่วมสร้างมาตรฐานและข้อเสนอแนะสำหรับใช้เป็นหลักในการปรับปรุงคุณภาพของเว็บ ในเดือน ธันวาคม พ . ศ .  2547   เบอร์เนิร์ส - ลียอมรับตำแหน่งประธานสาขา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ที่คณะอีเล็กทรอนิกส์และวิยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ของ มหาวิทยาลัยเซาท์แธมตัน  สหราชอาณาจักรเพื่อดำเนินโครงการใหม่ นั่นคือ  " ซีแมนติกเว็บ " (Semantic Web) เบอร์เนิร์ส - ลีเปิดเผยให้ความคิดแก่ทุกคนและทุกองค์กรโดยไม่คิดมูลค่า เขาไม่เคยจดทะเบียนลิขสิทธิ์การค้นคิดของเขาเลย รวมทั้งไม่เรียกค่าตอบแทนหรือรางวัลอื่นใดจากใคร นอกจากเงินเดือนปกติ ดังนั้น กลุ่มบริษัทเวิลด์ไวด์เว็บจึงตัดสินใจไม่คิดมูลค่าใดๆ จากการนำมาตรฐานของกลุ่มบริษัทไปใช้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ประกอบการทุกรายยอมรับมาตรฐานเดียวกันได้บนพื้นฐานทางเทคโนโลยี ไม่ใช่พื้นฐานค่าสิขสิทธิ์ถูกหรือแพง  Father of the Internet Tim Berners - Lee
[object Object],[object Object],INTERNET
 
 
 
 
WORLD INTERNET USAGE AND POPULATION STATISTICS 219.8 % 100.0 % 17.6 % 1,154,358,778 WORLD TOTAL 146.7 % 1.6 % 54.5 % 18,796,490 Oceania / Australia 508.6 % 9.5 % 19.8 % 109,961,609 LatinAmerica/ Caribbean 115.2 % 20.2% 69.5 % 232,655,287 North America 494.8 % 1.7 % 10.1 % 19,539,300 Middle East 206.2 % 27.9% 39.8 % 321,853,477 Europe 265.7 % 36.2 % 11.3 % 418,007,015 Asia 643.1 % 2.9 % 3.6 % 33,545,600 Africa Usage Growth 2000-2007 Usage % of World % Population ( Penetration ) Internet Usage, Latest Data World Regions
 
Internet Usage in Asia 66.30% 2,421,800 1,200,000 3,654,103 Singapore 68.20% 4,878,713 2,283,000 7,150,254 Hong Kong  * 12.50% 8,420,000 2,300,000 67,249,456 Thailand 7.20% 12,000,000 133,900 167,806,831 Pakistan 47.80% 13,528,200 3,700,000 28,294,120 Malaysia 16.00% 14,000,000 2,000,000 87,236,532 Philippines 63.00% 14,500,000 6,260,000 23,001,442 Taiwan 18.50% 15,760,702 200,000 85,031,436 Vietnam 8.90% 20,000,000 2,000,000 224,481,720 Indonesia 66.50% 34,120,000 19,040,000 51,300,989 Korea, South 3.70% 42,000,000 5,000,000 1,129,667,528 Ind i a 67.10% 86,300,000 47,080,000 128,646,345 Japan 10.90% 144,000,000 22,500,000 1,317,431,495 China -- -- -- 23,510,379 Korea, North 1.10% 300,000 - 27,089,593 Afganistan (%  Population ) Latest Data ( Year 2000 ) (  2007 Est .) Penetration Internet Users, Internet Users, Population ASIA
Internet Usage in Asia 740.00% 3.70% 42,000,000 5,000,000 1,129,667,528 India 4900.00% 3.10% 25,000 500 812,184 Bhutan 130.50% 1.80% 350,000 121,500 19,796,874 Sri Lanka 350.00% 0.90% 225,000 50,000 25,874,519 Nepal 2315.00% 0.70% 48,000 2,000 6,886,825 Turkmenistan 29900.00% 0.50% 300,000 1,000 54,821,470 Myanmar 316.70% 0.40% 25,000 6,000 5,826,271 Laos 875.00% 0.30% 19,500 2,000 6,702,382 Tajikistan 633.30% 0.30% 44,000 6,000 15,507,538 Cambodia 270.00% 0.30% 370,000 100,000 137,493,990 Bangladesh 0.00% 0.10% 1,000 - 958,662 East Timor n / a  % 1.10% 300,000 - 27,089,593 Afganistan (  2000-2007  ) (%  Population ) Latest Data ( Year 2000 ) (  2007 Est .) Use Growth Penetration Internet Users, Internet Users, Population ASIA
ประเทศไทย ประชากร  67,249,456  คนผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ปี  2000  2,300,000  คนผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ปี  2007   8,420,000  คน คิดเป็น  12.5%  ของประชากร อัตราการเพิ่มของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต  ( ปี  2000-2007 )   266 %
22,689,300 11,602,523 2,900,000 Taiwan 9 59,595,900 34,874,469 3,335,000 United Kingdom 8 57,987,100 28,610,000 3,680,000 Italy 7 60,011,200 24,803,250 5,253,000 France 6 82,633,200 46,455,814 5,950,000 Germany 5 51,300,989 34,120,000 14,000,000 Korea,  ( South ) 4 127,853,600 66,586,234 12,739,564 Japan 3 1,288,307,100 94,000,000 25,800,000 China 2 293,271,500 199,861,345 33,900,000 United States 1 (  2007 Est . ) Latest Data Subscribers Population Internet Users DSL Broadband Country or Region # INTERNET BROADBAND SUBSCRIBERS TOP COUNTRIES WITH THE HIGHEST NUMBER OF
[object Object],[object Object],[object Object],Web Browser History   The development of the web was the key technology that popularized the  Internet  around the world .
NCSA Mosaic  ,[object Object],[object Object]
Netscape Navigator ,[object Object]
Netscape Navigator ,[object Object],[object Object],Jim Clark Marc Andreessen
Internet Explorer ,[object Object]
Internet Explorer ,[object Object],[object Object]
Internet Explorer ,[object Object],[object Object],[object Object]
Browser wars
 
[object Object]
 
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],WEB 2.0
[object Object],[object Object]
 

More Related Content

What's hot

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อุไรพร ศรีชนะ
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
Pp'dan Phuengkun
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
Meaw Sukee
 

What's hot (6)

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น อุไรพร ศรีชนะ เลขที่ 27
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
3.1 พัฒนาการของอินเทอร์เน็ต
 
Computer network security
Computer network securityComputer network security
Computer network security
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้าอินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
อินเทอร์เน็ต Day2 เช้า
 

Viewers also liked (9)

History of the internet
History of the internetHistory of the internet
History of the internet
 
Internet History
Internet HistoryInternet History
Internet History
 
Internet history
Internet historyInternet history
Internet history
 
Chhatrapati shivaji maharaj
Chhatrapati shivaji maharajChhatrapati shivaji maharaj
Chhatrapati shivaji maharaj
 
SHIVAJI MAHARAJ - The great Leader
SHIVAJI MAHARAJ - The great LeaderSHIVAJI MAHARAJ - The great Leader
SHIVAJI MAHARAJ - The great Leader
 
A Short History Of Internet
A Short History Of InternetA Short History Of Internet
A Short History Of Internet
 
Shivaji Maharaj –The Great Indian Leader
Shivaji Maharaj –The Great Indian LeaderShivaji Maharaj –The Great Indian Leader
Shivaji Maharaj –The Great Indian Leader
 
Internet ppt
Internet pptInternet ppt
Internet ppt
 
Ppt on internet
Ppt on internetPpt on internet
Ppt on internet
 

Similar to Internet History

อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Noomim
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
Samorn Tara
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
Pop Cholthicha
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
Sarocha Makranit
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
gotchagon
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
Ammarirat
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
Noomim
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
noooom
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
paween
 
อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1
peter dontoom
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
Suphattra
 

Similar to Internet History (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1ตัวอย่าง Report1
ตัวอย่าง Report1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
ICT for Rural
ICT for RuralICT for Rural
ICT for Rural
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเตอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้นอินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
 
อินเทอร์เนด
อินเทอร์เนดอินเทอร์เนด
อินเทอร์เนด
 
Business Vision of Internet Industry in Thailand
Business Vision of Internet Industry in ThailandBusiness Vision of Internet Industry in Thailand
Business Vision of Internet Industry in Thailand
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม1
งานคอม1งานคอม1
งานคอม1
 
อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1อินเตอร์เนต1
อินเตอร์เนต1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 

More from Jira Hongsamrerng

Writing News Online Sep 2009
Writing  News Online Sep 2009Writing  News Online Sep 2009
Writing News Online Sep 2009
Jira Hongsamrerng
 
Twitter & News กระแส Social Media ในสื่อ และสังคม
Twitter &  News กระแส  Social  Media ในสื่อ และสังคมTwitter &  News กระแส  Social  Media ในสื่อ และสังคม
Twitter & News กระแส Social Media ในสื่อ และสังคม
Jira Hongsamrerng
 
Social Business Network Work Shop
Social Business Network Work ShopSocial Business Network Work Shop
Social Business Network Work Shop
Jira Hongsamrerng
 
Social Business Seminar n Brief
Social Business Seminar n BriefSocial Business Seminar n Brief
Social Business Seminar n Brief
Jira Hongsamrerng
 
Social Media & Social Networking
Social Media & Social NetworkingSocial Media & Social Networking
Social Media & Social Networking
Jira Hongsamrerng
 
เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51
เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51
เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51
Jira Hongsamrerng
 
Intro To Jr Online Jr.202 June 2008
Intro To Jr Online Jr.202 June 2008Intro To Jr Online Jr.202 June 2008
Intro To Jr Online Jr.202 June 2008
Jira Hongsamrerng
 

More from Jira Hongsamrerng (17)

Facebook 4 sme by ชีพธรรม คำวิเศษณ์
Facebook 4 sme by ชีพธรรม คำวิเศษณ์Facebook 4 sme by ชีพธรรม คำวิเศษณ์
Facebook 4 sme by ชีพธรรม คำวิเศษณ์
 
e-MassCom profile
e-MassCom profilee-MassCom profile
e-MassCom profile
 
Writing News Online Sep 2009
Writing  News Online Sep 2009Writing  News Online Sep 2009
Writing News Online Sep 2009
 
Twitter & News กระแส Social Media ในสื่อ และสังคม
Twitter &  News กระแส  Social  Media ในสื่อ และสังคมTwitter &  News กระแส  Social  Media ในสื่อ และสังคม
Twitter & News กระแส Social Media ในสื่อ และสังคม
 
Social Business Network Work Shop
Social Business Network Work ShopSocial Business Network Work Shop
Social Business Network Work Shop
 
Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09Pea Workshop 2009 20 5 09
Pea Workshop 2009 20 5 09
 
Seminar Web 2.0 ,Social Business Network for SMEs Thai
Seminar Web 2.0 ,Social Business Network for SMEs ThaiSeminar Web 2.0 ,Social Business Network for SMEs Thai
Seminar Web 2.0 ,Social Business Network for SMEs Thai
 
Social Business Seminar n Brief
Social Business Seminar n BriefSocial Business Seminar n Brief
Social Business Seminar n Brief
 
Social Media & Social Networking
Social Media & Social NetworkingSocial Media & Social Networking
Social Media & Social Networking
 
Social Media
Social MediaSocial Media
Social Media
 
Newspaper & News Online
Newspaper & News OnlineNewspaper & News Online
Newspaper & News Online
 
News Online Trends 2
News Online Trends 2News Online Trends 2
News Online Trends 2
 
News Online Trends 1 Case
News Online Trends 1 CaseNews Online Trends 1 Case
News Online Trends 1 Case
 
เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51
เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51
เลือกตั้งผู้ว่า กทม 51
 
Newspaper & It Development
Newspaper & It DevelopmentNewspaper & It Development
Newspaper & It Development
 
Intro To Jr Online Jr.202 June 2008
Intro To Jr Online Jr.202 June 2008Intro To Jr Online Jr.202 June 2008
Intro To Jr Online Jr.202 June 2008
 
Changing Channels 1
Changing Channels 1Changing Channels 1
Changing Channels 1
 

Internet History

  • 1. Internet History Jira Hongsamrerng JR 202
  • 2. Father of the Internet Tim Berners - Lee
  • 3.
  • 4. เซอร์ทิม เบอร์เนิร์ส - ลี เกิดใน กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ เป็นบุตรนายคอนเวย์ เบอร์เนิร์ส - ลี และนางแมรี ลี วูดส์ ทั้งบิดาและมารดาเป็นนักคณิตศาสตร์ที่ทำงานอยู่ในทีมสร้างคอมพิวเตอร์ยุคแรก คือ " แมนเชสเตอร์ มาร์ก 1 " ด้วยกัน ทั้งสองได้สอนให้เบอร์เนิร์ส - ลีใช้คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวันไปทุกเรื่อง แม้แต่บนโต๊ะอาหาร เบอร์เนิร์ส - ลีเข้าโรงเรียนชั้นประถมที่โรงเรียน " ชีนเมาท์ " ( ซึ่งต่อมาได้อุทิศห้องโถงใหม่ห้องหนึ่งเป็นเกียรติแก่เขา ) ก่อนที่จะย้ายไปเรียนต่อระดับโอ . และระดับเอ . ที่โรงเรียนเอ็มมานูเอล ที่วานสเวิร์ท Father of the Internet Tim Berners - Lee
  • 5.
  • 6. ขณะที่เป็นลูกจ้างอิสระอยู่ที่ " เซิร์น " ระหว่างเดือนมิถุนายน - ธันวาคม พ . ศ . 2523 เบอร์เนิร์ส - ลีได้เสนอโครงการหนึ่งที่ใช้แนวคิด " ข้อความหลายมิติ " หรือ hypertext มาใช้สำหรับการแลกเปลี่ยนและปรับสมัยข้อมูลระหว่างนักวิจัยด้วยกัน ขณะที่เบอร์เนิร์ส - ลีทำงานอยู่ที่นี่เขาได้สร้างระบบต้นแบบไว้แล้วเรียกชื่อว่า ENQUIRE หลังจากออกจากเซิร์นเมื่อ พ . ศ . 2523 เบอร์เนิร์ส - ลีไปร่วมงานกับบริษัท " อิมเมจคอมพิวเตอร์ซิสเต็ม " ของจอห์น พุล เบอร์เนิร์ส - ลีได้กลับมาทำงานที่เซิร์นอีกครั้งหนึ่งเมื่อ พ . ศ . 2527 ในตำแหน่ง สิกขบัณฑิต ( Fellow ) Father of the Internet Tim Berners - Lee เมื่อถึง พ . ศ . 2532 เซิร์นได้กลายเป็นศุนย์อินเทอร์เน็ตที่ใหญ่ที่สุดใน ยุโรป และเบอร์เนิร์ส - ลีได้เล็งเห็นโอกาสในการใช้ " ข้อความหลายมิติ " ผนวกเข้ากับอินเทอร์เน็ต เบอร์เนิร์ส - ลีเขียนไว้ในข้อเสนอโครงการของเขาว่า "... ผมเพียงเอาความคิดเรื่องข้อความหลายมิตินี้เขื่อมต่อเข้ากับความคิด " ทีซีพี " และ " DNS " และเท่านั้นก็จะได้ " เวิลด์ไวด์เว็บ .."
  • 7. เบอร์เนิร์ส - ลีร่างข้อเสนอของเขาเมื่อเดือนมีนาคม พ . ศ . 2532 และในปี พ . ศ . 2533 ด้วยความช่วยเหลือของ โรเบิร์ต ไคลิยู ช่วยปรับร่างโครงการให้ ไมค์ เซนดอลล์ ผู้จัดการของเบอร์เนิร์ส - ลีจึงรับข้อเสนอของเขา ในข้อเสนอนี้ เบอร์เนิร์ส - ลีได้ใช้ความคิเดียวกับระบบเอ็นไควร์มาใช้สร้างเวิลด์ไวด์เว็บ ซึ่งเขาได้ออกแบบและสร้างเว็บเบราว์เซอร์และเอดิเตอร์ตัวแรก ( เรียกว่า WorldWideWeb และพัฒนาด้วย NEXTSTEP ) และเว็บเซิร์บเวอร์ขึ้น เรียกว่า httpd ( ย่อมาจาก HyperText Transfer Protocal Deamon ) เว็บไซต์แรกสุดสร้างขึ้นที่เซิร์น นำขึ้น ออนไลน์ เมื่อวันที่ 6 สิงหาค ม พ . ศ . 2534 ให้คำอธิบายว่าเวิลด์ไวด์เว็บคืออะไร การที่จะเป็นเจ้าของเบราว์เซอร์ทำได้อย่างไรและจะติดตั้ง เว็บเซิร์บเวอร์ ได้อย่างไร นอกจากนี้ยังนับเป็น เว็บไดเร็กทอรี อันแรกของโลกด้วยเนื่องจากเบอร์เนิร์ส - ลีดูแลรายชื่อของเว็บไซต์อื่นๆ ทั้งหมด นอกจากของตนเองด้วย Father of the Internet Tim Berners - Lee
  • 8. ในปี พ . ศ . 2537 เบอร์เนิร์ส - ลีได้ก่อตั้งกลุ่มบริษัทเวิลด์ไวด์เว็บ ( W3C ) ขึ้นที่ สถาบันเทคโนโลยีแห่งแมสซาชูเสตส์ หรือเอ็มไอที ประกอบด้วยบริษัทหลายบริษัทที่ยินยอมพร้อมใจมาร่วมสร้างมาตรฐานและข้อเสนอแนะสำหรับใช้เป็นหลักในการปรับปรุงคุณภาพของเว็บ ในเดือน ธันวาคม พ . ศ . 2547 เบอร์เนิร์ส - ลียอมรับตำแหน่งประธานสาขา วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ ที่คณะอีเล็กทรอนิกส์และวิยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ของ มหาวิทยาลัยเซาท์แธมตัน สหราชอาณาจักรเพื่อดำเนินโครงการใหม่ นั่นคือ " ซีแมนติกเว็บ " (Semantic Web) เบอร์เนิร์ส - ลีเปิดเผยให้ความคิดแก่ทุกคนและทุกองค์กรโดยไม่คิดมูลค่า เขาไม่เคยจดทะเบียนลิขสิทธิ์การค้นคิดของเขาเลย รวมทั้งไม่เรียกค่าตอบแทนหรือรางวัลอื่นใดจากใคร นอกจากเงินเดือนปกติ ดังนั้น กลุ่มบริษัทเวิลด์ไวด์เว็บจึงตัดสินใจไม่คิดมูลค่าใดๆ จากการนำมาตรฐานของกลุ่มบริษัทไปใช้ ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ประกอบการทุกรายยอมรับมาตรฐานเดียวกันได้บนพื้นฐานทางเทคโนโลยี ไม่ใช่พื้นฐานค่าสิขสิทธิ์ถูกหรือแพง Father of the Internet Tim Berners - Lee
  • 9.
  • 10.  
  • 11.  
  • 12.  
  • 13.  
  • 14. WORLD INTERNET USAGE AND POPULATION STATISTICS 219.8 % 100.0 % 17.6 % 1,154,358,778 WORLD TOTAL 146.7 % 1.6 % 54.5 % 18,796,490 Oceania / Australia 508.6 % 9.5 % 19.8 % 109,961,609 LatinAmerica/ Caribbean 115.2 % 20.2% 69.5 % 232,655,287 North America 494.8 % 1.7 % 10.1 % 19,539,300 Middle East 206.2 % 27.9% 39.8 % 321,853,477 Europe 265.7 % 36.2 % 11.3 % 418,007,015 Asia 643.1 % 2.9 % 3.6 % 33,545,600 Africa Usage Growth 2000-2007 Usage % of World % Population ( Penetration ) Internet Usage, Latest Data World Regions
  • 15.  
  • 16. Internet Usage in Asia 66.30% 2,421,800 1,200,000 3,654,103 Singapore 68.20% 4,878,713 2,283,000 7,150,254 Hong Kong * 12.50% 8,420,000 2,300,000 67,249,456 Thailand 7.20% 12,000,000 133,900 167,806,831 Pakistan 47.80% 13,528,200 3,700,000 28,294,120 Malaysia 16.00% 14,000,000 2,000,000 87,236,532 Philippines 63.00% 14,500,000 6,260,000 23,001,442 Taiwan 18.50% 15,760,702 200,000 85,031,436 Vietnam 8.90% 20,000,000 2,000,000 224,481,720 Indonesia 66.50% 34,120,000 19,040,000 51,300,989 Korea, South 3.70% 42,000,000 5,000,000 1,129,667,528 Ind i a 67.10% 86,300,000 47,080,000 128,646,345 Japan 10.90% 144,000,000 22,500,000 1,317,431,495 China -- -- -- 23,510,379 Korea, North 1.10% 300,000 - 27,089,593 Afganistan (% Population ) Latest Data ( Year 2000 ) ( 2007 Est .) Penetration Internet Users, Internet Users, Population ASIA
  • 17. Internet Usage in Asia 740.00% 3.70% 42,000,000 5,000,000 1,129,667,528 India 4900.00% 3.10% 25,000 500 812,184 Bhutan 130.50% 1.80% 350,000 121,500 19,796,874 Sri Lanka 350.00% 0.90% 225,000 50,000 25,874,519 Nepal 2315.00% 0.70% 48,000 2,000 6,886,825 Turkmenistan 29900.00% 0.50% 300,000 1,000 54,821,470 Myanmar 316.70% 0.40% 25,000 6,000 5,826,271 Laos 875.00% 0.30% 19,500 2,000 6,702,382 Tajikistan 633.30% 0.30% 44,000 6,000 15,507,538 Cambodia 270.00% 0.30% 370,000 100,000 137,493,990 Bangladesh 0.00% 0.10% 1,000 - 958,662 East Timor n / a % 1.10% 300,000 - 27,089,593 Afganistan ( 2000-2007 ) (% Population ) Latest Data ( Year 2000 ) ( 2007 Est .) Use Growth Penetration Internet Users, Internet Users, Population ASIA
  • 18. ประเทศไทย ประชากร 67,249,456 คนผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ปี 2000 2,300,000 คนผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ปี 2007 8,420,000 คน คิดเป็น 12.5% ของประชากร อัตราการเพิ่มของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต ( ปี 2000-2007 ) 266 %
  • 19. 22,689,300 11,602,523 2,900,000 Taiwan 9 59,595,900 34,874,469 3,335,000 United Kingdom 8 57,987,100 28,610,000 3,680,000 Italy 7 60,011,200 24,803,250 5,253,000 France 6 82,633,200 46,455,814 5,950,000 Germany 5 51,300,989 34,120,000 14,000,000 Korea, ( South ) 4 127,853,600 66,586,234 12,739,564 Japan 3 1,288,307,100 94,000,000 25,800,000 China 2 293,271,500 199,861,345 33,900,000 United States 1 ( 2007 Est . ) Latest Data Subscribers Population Internet Users DSL Broadband Country or Region # INTERNET BROADBAND SUBSCRIBERS TOP COUNTRIES WITH THE HIGHEST NUMBER OF
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 28.  
  • 29.
  • 30.  
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.