SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
COVID-19
Policy Recommendations
Thira Woratanarat, Associate Professor*
Patarawan Woratanarat, Associate Professor#
Thirawat Woratanarat, Medical student$
*Department of Preventive and Social Medicine,
Faculty of Medicine, Chulalongkorn University
#Department of Orthopedics,
Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University
$College of Medicine, Rangsit University
Golden period
100
200
500
1000
5000
10000
50000
Confirmedcases
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Days of reports
Japan Korea
Italy Singapore
Hongkong Germany
Thailand
Germany
Italy
Korea
Thailand
Japan
Singapore
Hong Kong
100
200
500
1000
5000
10000
50000
Confirmedcases
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Days of reports
Japan Korea
Italy Singapore
Hongkong Germany
Thailand
33% increase
32.7 cases/day
100
200
500
1000
5000
10000
50000
Confirmedcases
0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24
Days of reports
Japan Korea
Italy Singapore
Hongkong Germany
Thailand
15 มีนาคม 2563: 114 ราย
15 มีนาคม 2563: 114 ราย
33%
20%
24,269 ราย
351,948 ราย
ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อระบบสาธารณสุข
33% daily increase
(European scenario)
20% daily increase
(Thailand’s better scenario)
จํานวนผู้ป่วยติดเชื้อภายใน 30 วัน
หลังจาก 15 มีนาคม 2563
351,948 24,269
จํานวนผู้ป่วยต้องรับเข้ารักษาใน
โรงพยาบาลภายใน 30 วันหลังจาก 15
มีนาคม 2563
52,792 (15%) 3,640 (15%)
จํานวนผู้ป่วยวิกฤติภายใน 30 วัน
หลังจาก 15 มีนาคม 2563
17,597 (5%) 1,213 (5%)
คาดประมาณจํานวนผู้เสียชีวิต 7,039 (2%) 485 (2%)
ธรรมชาติของโรคระบาด และมาตรการที่ควรใช้
• ระยะที่ 1: มีคนติดเชื้อจากข้างนอกมาสู่พื้นที่ของเรา
มาตรการที่ควรใช้คือ การทํา containment ปิดกั้นไม่ให้เข้ามา เช่น การระงับการเดินทางของ
คนจากพื้นที่เสี่ยงเข้ามาในประเทศเรา
แต่ประเทศไทยไม่ได้แบน
ธรรมชาติของโรคระบาด และมาตรการที่ควรใช้
• ระยะที่ 2: คนที่ติดเชื้อได้แพร่ให้คนของเรา
มาตรการที่ควรใช้คือ การตรวจจับคนติดเชื้อให้ได้และนําไปกักกัน เพื่อแยกออกจากคนในสังคม
(Isolation) และการนําคนที่มีประวัติไปสัมผัสกับคนที่ติดเชื้อ ไปกักกันเพื่อเฝ้าระวังจนกว่าจะพ้นระยะฟัก
ตัวของโรค (Quarantine)
มาตรการทั้งสองนั้น ไทยเลือกที่จะใช้วิธีคัดกรองด้วยการวัดไข้ ซึ่งไม่มีความไวเพียงพอ ทําให้มีโอกาสที่ผู้ติด
เชื้อหลุดรอดไปได้
อีกมาตรการที่ควรทําในระยะที่ 2 คือ การปิดพื้นที่เสี่ยง (Mitigation) เช่น สถานศึกษา สถานบันเทิง ที่มี
คนติดเชื้อ...แต่เราเพิ่งเลือกมาใช้ตอนสถานการณ์เป็นระยะที่ 3 ไปแล้วระยะหนึ่ง
ธรรมชาติของโรคระบาด และมาตรการที่ควรใช้
• ระยะที่ 3: คนในพื้นที่ของเราได้แพร่ไปให้แก่กันและกัน ขยายวงไปเรื่อยๆ ดังเช่นปัจจุบัน
มาตรการที่ต้องรีบทําคือ ปิดประเทศ ปิดเมือง ไม่ให้คนติดเชื้อใหม่จากข้างนอกเข้ามา และไม่ให้คนติดเชื้อของ
เราออกไปแพร่ให้ประเทศอื่น ร่วมกับการให้คนในประเทศพยายามอยู่ในบ้าน ไม่เดินทางพรํ่าเพรื่อ สังเกต
อาการตนเองและครอบครัว เพราะเชื้อมีอยู่ทั่วไป มีโอกาสติดได้เสมอ
หากรีบทําดังกล่าว จะช่วยตัดวงจรของการระบาดได้ โดยควรมีระยะเวลาอย่างน้อยเท่ากับระยะฟักตัวบวก
ระยะเวลาที่สามารถแพร่เชื้อได้คือราว 2 สัปดาห์เป็นอย่างน้อย
ผลของนโยบายปิดประเทศของจีน
• หลังจากประกาศนโยบายจนถึงกลางกุมภาพันธ์ สามารถลดการเล็ดรอดออกนอกประเทศของ
กลุ่มผู้ติดเชื้อ COVID-19 ไปได้ 70.5% (95%CI = 68.8-72%) หากไม่ประกาศนโยบายห้าม
เดินทางเข้าออกประเทศ คาดว่าจะมีเคสอย่างน้อย 779 รายที่ออกนอกประเทศไปก่อน
กลางเดือนกุมภาพันธ์
• ในช่วง 3.5 สัปดาห์แรก การประกาศนโยบายนี้สามารถลดการเล็ดรอดของเคสออกนอก
ประเทศไปได้ถึง 81.3% (95%CI = 80.5-82.1%)
Wells CR et al. Impact of international travel and border control measures on the global spread of the
novel 2019 coronavirus outbreak. Proc Natl Acad Sci U S A. 2020 Mar 13.

More Related Content

More from Thira Woratanarat

Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Thira Woratanarat
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodThira Woratanarat
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Thira Woratanarat
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์Thira Woratanarat
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlThira Woratanarat
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future directionThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandThira Woratanarat
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Thira Woratanarat
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017Thira Woratanarat
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsThira Woratanarat
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองThira Woratanarat
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559Thira Woratanarat
 

More from Thira Woratanarat (20)

Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's method
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and control
 
Health literacy research and future direction
Health literacy research and future directionHealth literacy research and future direction
Health literacy research and future direction
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: Thailand
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
 
SDG AND Songs
SDG AND SongsSDG AND Songs
SDG AND Songs
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
 
Commed2 2017
Commed2 2017Commed2 2017
Commed2 2017
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problems
 
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมืองการพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
การพัฒนารูปแบบและระบบบริการปฐมภูมิเขตเมือง
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
 

Thailand Covid19 Situation

  • 1. COVID-19 Policy Recommendations Thira Woratanarat, Associate Professor* Patarawan Woratanarat, Associate Professor# Thirawat Woratanarat, Medical student$ *Department of Preventive and Social Medicine, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University #Department of Orthopedics, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University $College of Medicine, Rangsit University
  • 2.
  • 3.
  • 5. 100 200 500 1000 5000 10000 50000 Confirmedcases 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 Days of reports Japan Korea Italy Singapore Hongkong Germany Thailand Germany Italy Korea Thailand Japan Singapore Hong Kong
  • 6. 100 200 500 1000 5000 10000 50000 Confirmedcases 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 Days of reports Japan Korea Italy Singapore Hongkong Germany Thailand 33% increase 32.7 cases/day
  • 7. 100 200 500 1000 5000 10000 50000 Confirmedcases 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 Days of reports Japan Korea Italy Singapore Hongkong Germany Thailand
  • 9. 15 มีนาคม 2563: 114 ราย 33% 20% 24,269 ราย 351,948 ราย
  • 10. ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อระบบสาธารณสุข 33% daily increase (European scenario) 20% daily increase (Thailand’s better scenario) จํานวนผู้ป่วยติดเชื้อภายใน 30 วัน หลังจาก 15 มีนาคม 2563 351,948 24,269 จํานวนผู้ป่วยต้องรับเข้ารักษาใน โรงพยาบาลภายใน 30 วันหลังจาก 15 มีนาคม 2563 52,792 (15%) 3,640 (15%) จํานวนผู้ป่วยวิกฤติภายใน 30 วัน หลังจาก 15 มีนาคม 2563 17,597 (5%) 1,213 (5%) คาดประมาณจํานวนผู้เสียชีวิต 7,039 (2%) 485 (2%)
  • 11.
  • 12. ธรรมชาติของโรคระบาด และมาตรการที่ควรใช้ • ระยะที่ 1: มีคนติดเชื้อจากข้างนอกมาสู่พื้นที่ของเรา มาตรการที่ควรใช้คือ การทํา containment ปิดกั้นไม่ให้เข้ามา เช่น การระงับการเดินทางของ คนจากพื้นที่เสี่ยงเข้ามาในประเทศเรา แต่ประเทศไทยไม่ได้แบน
  • 13. ธรรมชาติของโรคระบาด และมาตรการที่ควรใช้ • ระยะที่ 2: คนที่ติดเชื้อได้แพร่ให้คนของเรา มาตรการที่ควรใช้คือ การตรวจจับคนติดเชื้อให้ได้และนําไปกักกัน เพื่อแยกออกจากคนในสังคม (Isolation) และการนําคนที่มีประวัติไปสัมผัสกับคนที่ติดเชื้อ ไปกักกันเพื่อเฝ้าระวังจนกว่าจะพ้นระยะฟัก ตัวของโรค (Quarantine) มาตรการทั้งสองนั้น ไทยเลือกที่จะใช้วิธีคัดกรองด้วยการวัดไข้ ซึ่งไม่มีความไวเพียงพอ ทําให้มีโอกาสที่ผู้ติด เชื้อหลุดรอดไปได้ อีกมาตรการที่ควรทําในระยะที่ 2 คือ การปิดพื้นที่เสี่ยง (Mitigation) เช่น สถานศึกษา สถานบันเทิง ที่มี คนติดเชื้อ...แต่เราเพิ่งเลือกมาใช้ตอนสถานการณ์เป็นระยะที่ 3 ไปแล้วระยะหนึ่ง
  • 14. ธรรมชาติของโรคระบาด และมาตรการที่ควรใช้ • ระยะที่ 3: คนในพื้นที่ของเราได้แพร่ไปให้แก่กันและกัน ขยายวงไปเรื่อยๆ ดังเช่นปัจจุบัน มาตรการที่ต้องรีบทําคือ ปิดประเทศ ปิดเมือง ไม่ให้คนติดเชื้อใหม่จากข้างนอกเข้ามา และไม่ให้คนติดเชื้อของ เราออกไปแพร่ให้ประเทศอื่น ร่วมกับการให้คนในประเทศพยายามอยู่ในบ้าน ไม่เดินทางพรํ่าเพรื่อ สังเกต อาการตนเองและครอบครัว เพราะเชื้อมีอยู่ทั่วไป มีโอกาสติดได้เสมอ หากรีบทําดังกล่าว จะช่วยตัดวงจรของการระบาดได้ โดยควรมีระยะเวลาอย่างน้อยเท่ากับระยะฟักตัวบวก ระยะเวลาที่สามารถแพร่เชื้อได้คือราว 2 สัปดาห์เป็นอย่างน้อย
  • 15. ผลของนโยบายปิดประเทศของจีน • หลังจากประกาศนโยบายจนถึงกลางกุมภาพันธ์ สามารถลดการเล็ดรอดออกนอกประเทศของ กลุ่มผู้ติดเชื้อ COVID-19 ไปได้ 70.5% (95%CI = 68.8-72%) หากไม่ประกาศนโยบายห้าม เดินทางเข้าออกประเทศ คาดว่าจะมีเคสอย่างน้อย 779 รายที่ออกนอกประเทศไปก่อน กลางเดือนกุมภาพันธ์ • ในช่วง 3.5 สัปดาห์แรก การประกาศนโยบายนี้สามารถลดการเล็ดรอดของเคสออกนอก ประเทศไปได้ถึง 81.3% (95%CI = 80.5-82.1%) Wells CR et al. Impact of international travel and border control measures on the global spread of the novel 2019 coronavirus outbreak. Proc Natl Acad Sci U S A. 2020 Mar 13.