SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
Augmented Reality
      AR Code




                Phanicha Doeichuenngam
                               13510194
Augmented Reality (AR-Code)

       Augmented Reality หรื อ AR-Code เป็ นเทคโนโลยีที่ผสานเอาโลกแห่ งความเป็ นจริ ง และความ
เสมือนจริ ง ผสานเข้าด้วยกัน ผ่านอุปกรณ์กล้อง Webcam, Computer และ Pattern โดยภาพที่ปรากฎให้เห็น
ในจอภาพ หรื อ Monitor จะเป็ นภาพที่มีลกษณะเป็ น 3 มิติ มุมมอง 360 องศา สามารถมองได้รอบด้าน
                                      ั




            ขณะนี้ โลกกาลังก้าวเข้าสู่ ยุคของสภาพเสมือนจริ ง (Virtual Reality) ซึ่ งเปรี ยบได้วาเป็ นเขตแดน
                                                                                               ่
บุ ก เบิ ก ของคริ ส ต์ว รรษที่ 21 เราจะพบว่า ประกอบด้ว ยถนนอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ป ระกอบด้ว ย เครื อ ข่ า ย
อินเทอร์ เน็ต (Internet) ซึ่ งมี ท้ งนิ วส์ ก รุ๊ ป (Newsgroup) เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) และบริ การ
                                    ั
สารสนเทศต่าง ๆ รวมถึง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เอกชนอีกมากมาย คาว่า ทางด่วน สารสนเทศ นั้นมักอ้างถึง
ระบบเชื่อมโยงทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ครอบคลุมทัวโลก ในปั จจุบน บางครั้งก็มีการใช้คาว่า โครงสร้างพื้นฐาน
                                                        ่              ั
สารสนเทศของประเทศ (National Information Infrastructure) บางครั้งสื่ อมวลชนก็ใช้คาว่า ไซเบอร์ สเปซ
(Cyberspace) ในเขตแดนใหม่ที่กล่าวถึ งนี้ มีกิจกรรมอีกหลายอย่างที่กาลังเปลี่ ยนแปลงสังคมที่เราเคยรู ้ จก     ั
    ่ ั
อยูท้ งในด้านการบันเทิง การศึกษา ธุ รกิจ ฯลฯ และมีปัญหาเกิดขึ้นตามมาอีกหลายอย่างที่จะต้องมีการแก้ไข
กันต่อไป เช่น ในเรื่ องการละเมิดกฎหมาย หรื ออาชญากรรมที่กระทาผ่านไซเบอร์ สเปซ (Cyberspace) ใน
อนาคตกิจกรรมในชี วิตประจาวันแทบทุกอย่างของมนุษย์ที่อาศัยอยูในสังคมสมัยใหม่จะเกี่ยข้องกับการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และการประยุก ต์ใช้วิชาการหุ่ นยนต์ (Robotics) ที่วาด้วยการใช้หุ่นยนต์ที่
                                                                                        ่
ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่ งทางานโต้ตอบกันเป็ นภาษาพูดของมนุ ษย์ (Human Language Interaction) การที่
                                                                   ุ่
ต้องเรี ยนรู ้ภาษาคอมพิวเตอร์ หรื อวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ ที่ยงยากซับซ้อนนั้นจะหมดไป
AR แบ่ งออกเป็ น 4 ชนิด
   1. Optical See-Through AR
         ผูใช้เห็นชัดเจนด้วย Head-mounted display (ผูใช้จะต้องสวมหมวกที่มีจอภาพไว้บนศรี ษะ) เพื่อ
           ้                                           ้
แสดงสิ่ งแวดล้อมเสมือนได้ (VE) โดยตรงมากกว่าโลกจริ ง
   2. Projector Based AR
         ใช้วตถุโลกจริ งเช่นเดียวกับการออกแบบพื้นผิวสาหรับ VE
             ั
   3. Video See-Through
         AR ใช้ MHD ทึบแสงในการแสดงผสมผสานกับวิดีโอของ VE และมองจากกล้องถ่ายรู ปบน HMD
   4. Monitor-Based AR
         ใช้ผสมผสานกับวิดีโอสตรี ม แต่การแสดงน่าจะติดตามมากกว่าปกติ หรื อจับสิ่ งแสดงได้ Monitor-
Based AR คือ ความเป็ นได้ยากที่จะติดตั้งเพราะมันจากัดเนื้อหา HMD

หลักการของ AR ประกอบด้ วย

                                         1.   กล้อง webcam, มือถือ หรื อตัวจับ sensor อื่น ๆ
                                         2.   AR CODE, ตัว Marker (บางคนเรี ยกว่า Markup) ต่าง ๆ
                                         3.   ส่ วนแสดงผลอาจเป็ นจอภาพทางคอมพิวเตอร์ มือถือ หรื ออื่น ๆ
                                         4.   ส่ วนประมวลผลเพื่อสร้าง object 3D เช่น software



ข้ อดีจากการนาระบบ AR มาใช้
     1. เป็ นการสร้างประสบการณ์ ที่แปลกใหม่ให้แก่ผบริ โภค ถื อเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งในการเข้าถึงกลุ่ม
                                                             ู้
         ลูกค้าที่เป็ นรุ่ นใหม่ท่ีชอบและสนใจเทคโนโลยี
     2. ผูใช้บริ การสามารถค้นหาตาแหน่งและรายละเอียดของสิ นค้าที่ตนต้องการได้อย่างถกต้อง ชัดเจน
           ้
     3. บริ ษทสามารถสร้าง Campaign ต่าง ๆ เพื่อสร้างความน่าสนใจในตัวสิ นค้า จึงสามารถดึงดูดลูกค้า
                ั
         และเพิ่มยอดขายได้มากขึ้น
     4. เพิ่มโอกาสของการค้าทาง Internet (E-commerce) เนื่องจากการที่ผซ้ื อสามารถเก็นภาพจาลองของ
                                                                                  ู้
         ตนและสิ นค้าก่อนทาการสั่งซื้ อ จึงเป็ นการเปิ ดตลาดให้มีผใช้บริ การช่องทางนี้ เพิ่มมากขึ้น ซึ่ งทั้งนี้
                                                                        ู้
         ยัง ส่ ง ผลต่ อไปยัง ผูท่ี ต้องการลงทุ นทางธุ ร กิ จ โดยช่ ว ยลดค่ า ใช้จ่ า ยในการลงทุ น เนื่ องจากไม่
                                 ้
         จาเป็ นต้องมีหน้าร้านเพื่อให้บริ การ จึงไม่ตองเสี ยค่าเช่าสถานที่ ค่าน้ า ค่าไฟฟ้ า ฯลฯ
                                                     ้
ข้ อเสี ยจากการนาระบบ AR มาใช้
     1. ไม่เหมาะกับกลุ่มคนที่ low technology หรื อกลุ่มคนที่อาจไม่ได้มีความรู ้ ดานเทคโนโลยีมากนัก
                                                                                       ้
          เนื่ องจากว่าการนาเสนอด้วยรู ปแบบนี้ ผูใช้จาเป็ นต้องมีกล้อง Web Cam และเครื่ องพิมพ์ในกรณี ที่
                                                       ้
          เป็ นการ print ตัว Marker ผ่านหน้าเว็บไซต์
     2. เข้าถึงผูบริ โภคในกลุ่มที่จากัด โดยผูใช้บริ การต้องมีสถานะที่ค่อนข้างดี เนื่ องจากการใช้เทคโนโลยี
                   ้                           ้
          AR ต้องอาศัยอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์หลายอย่าง
     3. การที่ มี ก ลุ่ ม ผูบ ริ โภคจากัด อาจไม่คุ ้ม กับการลงทุ นของบริ ษ ทในการวางระบบเครื อข่า ยต่า ง ๆ
                            ้                                              ั
          รวมทั้งการทาฐานข้อมูล เช่น การทาฐานข้อมูลของร้านค้าหรื อสถานที่
     4. ยังขาดการสนับสนุนจากภาครัฐบาล เนื่องจากในการใช้งานอย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ ต้องใช้ระบบ
          3G ซึ่ งระบบดังกล่ าวยังไม่ครอบคลุ มพื้นที่ ให้บริ การส่ วนใหญ่ของประเทศ ทาให้การใช้งาน
                                   ่
          เทคโนโลยี AR ยังอยูในวงที่จากัด

ชนิดความแตกต่ างของความเป็ นจริงเสมือน
    1. Immersive First-Person

                                                                       โดยปกติเมื่อเราคิดถึงความเป็ นจริ ง
                                                                  เสมื อ น เราจะคิ ด ถึ ง ระบบ immersive
                                                                  ร ว ม ถึ ง อุ ป ก ร ณ์ ส่ ว น เ ชื่ อ ม ต่ อ
                                                                  คอม พิ ว เ ตอร์ เช่ นเดี ย วกั บ Head-
                                                                  mounted display ถุ งมื อที่ ติดตั้งระบบ
                                                                  สายลวดไฟเบอร์ ออฟติก (Fiber optic)
                                                                  ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง เ ส มื อ น Immersive
                                                                  จัดเตรี ยมโดยตรงประสบการณ์ บุคคล
                                                                  แรกกับ การประยุ ก ต์ บ างอย่ า งมี ท าง
เชื่ อมต่อไปสู่ การเลียนแบบประสบการณ์ และในบริ เวณ HMD นี้ คือสิ่ งที่ผดู BOOM จาก Fake Space Labs
                                                                            ู้
           ่ ้
ซึ่ งลอยอยูดานหน้าของผูใช้งาน ดังนั้นมันจึงไม่หนักและไม่ได้ทาให้เหน็ดเหนื่ อยเวลาที่สวมใส่ HMD ใน
                          ้
immersive VR ผูใช้คือผูอยู่ตาแหน่ งด้านในภาพ รู ปภาพ จะถูกกาหนดคุ ณสมบัติซ่ ึ งจะทาให้มนดูเหมือน
                    ้       ้                                                                      ั
กระทาจริ ง ในการจะมองเห็ น สั ญญาณและในบางกรณี ที่ แสงสว่า ง (aural) และการเข้าใจสัมผัส เด็กจะ
คุนเคยกับเทคโนโลยีน้ ี จากเกมส์ วิดีโอ Mattel’s Power GloveTM ใช้ในการเชื่ อมต่อกับ Nintendo Games
    ้
ราคาไม่แพง ออกแบบโดยอาศัย Data GloveTM จาก VPL Research บริ ษท Power GloveTM ล้มเหลวจาก
                                                                          ั
การผลิ ตของเล่น แต่ประสบความสาเร็ จมาจากอุปกรณ์ในการเชื่ อมต่อระบบความเป็ นจริ งเสมือน ราคาต่อ
                                             ่
จานวนหนึ่งในปี 1990s โดยเฉพาะสิ่ งที่เรารู ้วาระบบความเป็ นจริ งเสมือน homebrew หรื อ garage ซอฟแวร์
ราคาไม่แพง และการ์ ดคอมพิวเตอร์ หาง่าย มันเป็ นไปได้ที่จะใช้ Power GloveTM เป็ นอุปกรณ์ที่นาเข้ากับ
คอมพิวเตอร์ IBM

    2. Augmented Reality เทคนิคเพิมความเสมือนจริง
                                  ่

                                                       การเปลี่ยนแปลงความเป็ นจริ ง เสมือน immersive
                                                 คือเทคนิคเพิ่มความเสมือนจริ ง Augmented Reality ที่
                                                 ซึ่ งดูเหมือนจะสนับสนุนระดับความสาเร็ จของกราฟิ ก
                                                 คอมพิวเตอร์ เนื่องจากของจริ งเน้นลักษณะเฉพาะและ
                                                 ยกระดับ ขยายความเข้า จัย เทคโนโลยี AR คื อ วิธี
                                                 จัดเตรี ย มวิธีก ารนาเสนอข้อมูล โดยเพิ่ม สถานการณ์
                                                 เพิ่มความรู ้ความเข้าใจของโลกจริ ง สิ่ งนี้ ถูกยอมรับการ
แทนวัตถุเสมือน หรื อสอดแทรกข้อมูลข่าวสารเข้าไปในโลกที่เป็ นจริ ง ผูใช้จะต้องเป็ นผูมองเห็น สามารถ
                                                                        ้              ้
จัดแบ่งชนิดของเทคนิคเพิ่มความเสมือนจริ ง (AR) ออกเป็ น 4 ชนิด สิ่ งนั้นสามารถแยกชนิดได้ ดังนั้น
        1. Optical See-Through AR ผูใช้เห็นชัดเจนด้วย Head-mounted display (ผูใช้จะต้องสวมหมวกที่
                                     ้                                          ้
            มีจอภาพไว้บนศีรษะ) เพื่อแสดงสิ่ งแวดล้อมเสมือนได้
        2. Projector Based AR ใช้วตถุโลกจริ ง
                                   ั
        3. Video See-Through AR ใช้ HMD ทึบแสงและมองจากกล้องถ่ายรู ปบน HMD
        4. Monitor-Based AR ใช้ผสมผสานกับวิดีโอสตรี ม แต่การแสดงน่าติดตามมากกว่าปกติ หรื อจับ
            สิ่ งที่แสดงไว้

    3. Through the Window

                                                      ชนิ ด ของระบบนี้ เกี่ ย วกับ ความรู้ โ ดยเฉพาะ
                                                “desktop VR” ผู้ใ ช้ ไ ด้ ดู ผ่ า นหน้ า ต่ า งของ
                                                                                        ่
                                                จอคอมพิวเตอร์ และนาทางผ่านที่วางกับการควบคุ ม
                                                อุปกรณ์ เช่ น เม้าส์ เหมื อนกับความเป็ นจริ งเสมื อน
                                                immersive สิ่ งนี้ได้เตรี ยมประสบการณ์ให้บุคคลแรก
                                                ระบบความเป็ นจริ งเสมือน Through the Window คือ
                                                เค รื่ อ ง มื อ ใ น กา ร ว า ง แ ผ น ก าร อ อ ก แ บ บ 3 D
                                                architecture เครื่ องมือ Virtus WalkThrough มันใช้
สารวจความเป็ นจริ งเสมือนบน Macintosh หรื อคอมพิวแตอร์ IBM ถูกพัฒนาให้เป็ นเครื่ องมือคอมพิวเตอร์
มาให้เห็ นภาพ (visualization) ช่ วยออกแบบเทคโนโลยีช้ ันสู ง ที่ ซับซ้อนส าาหรับ ผูส ร้ างภาพยนตร์ The
                                                                                  ้
Abyss Virtus WalkThrough คือการใช้ในการออกแบบและเปนเครื่ องมือวางแผนสาหรับภาพยนตร์ ฮอลลีวด          ู
มากมายและงานโฆษณารวมถึ ง วางแผนด้านสถาปั ตยกรรมและประยุก ต์ใ ช้ใ นการศึ ก ษาซึ่ งคล้า ยกับ
โปรแกรมซับซ้อนเล็กน้อย สิ่ งนี้ กาลังเริ่ มจัดหาให้ใช้ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ไดแก่ Virtus
VR

       4. Mirror World (โครงงานทีเ่ ป็ นจริง)
       เป็ นการจัดเตรี ย มประสบการณ์ บุ ค คลที่ 2 ในสิ่ ง ซึ่ ง ผูดูยืน ภายนอกในโลกเพ้อฝั น แต่ ไ ม่ ติดต่ อกับ
                                                                  ้
ตัวอักษรหรื อวัตถุ ขางในมัน ระบบ Mirror World ใชกล้องวิดีโอเป็ นอุปกรณ์สิ่งนาเข้า ผูใช้จะมองเห็นภาพ
                       ้                                                                  ้
เพิ่มขึ้นบนหรื อผสมผสานกับโลกเสมือนบนจอวิดีโอขนาดใหญ่ การใช้เป็ นข้อมูลดิจิตอลคอมพิวเตอร์ จะ
ประมวลผลรู ปภาพของผูใช้ไปสู่ การคัดลอกแบบให้ตรงกับตาแหน่งของเขา การเคลื่ อนไหวรวมทั้งจานวน
                            ้
นิ้วมือสู งขึ้น โดยปกติระบบนี้ ราคาไม่แพงไปกว่าระบบการแช่ (immersion) และผูใช้ไม่มีการภาระกับ
                                                                                       ้
เครื่ องสวมหัว ถุงมือที่ติดตั้งระบบขดลวดหรื อส่ วนติดต่ออื่น ๆ (Lantz, 1992)

    5. Waldo World (Virtual Characters)




     เป็ นการประยุกต์ใช้ความเป็ นจริ งเสมือนชนิ ดนี้ มาจากหุ ้นดิจิตอลตัวเล็ก แอนนิ เมชันคอมพิวเตอร์ เวลา
                                                                                        ่
จริ ง ชื่ อ Waldo การประยุก ต์ใช้ล่าสุ ดของ VR ชนิ ดนี้ คือ Virtual ActorsTM พัฒนาโดย SimGraphics
Engineering สิ่ งนี้ คือคอมพิวเตอร์ ควบคุมบทบาทความมีชีวิตชีวา โดยนักแสดงชายในเวลาจริ งเพื่อนาไปสู่
นักแสดงเสมือน (VA) นักแสดงสวม Waldo ตามคิ้ว ตาของนักแสดง แก้ม หัว คาง และการเคลื่อนไหว ริ ม
ฝี ปาก พวกเขายอมให้ควบคุมความสามารถดวยคอมพิวเตอร์ ที่สร้างบทบาทกับการเคลื่อนไหวของเขา เป็ น
ต้นว่า เมื่อนักแสดงยิ้มตัวบทบาทก็จะมีชีวิตชี วามีรอยยิ้มตรงกัน กล้องถ่ายรู ปวิดีโอซอนไว้มีเป้ าหมายให้
ผ่านเข้าไปในภาพคอมพิวเตอร์ แอนนิเมชันเพื่อให้นกแสดงชายดูและพูดถึงสมาชิ กผ่านรู ปเคลื่อนไหวลิฟซิ่ ง
                                          ่      ั
(lip-synced) ของบทบาทที่แสดงบนจอ การประยุก ต์ใช้หุ้นดิจิตอลนี่เหมือน Wizard of Oz ทาปฏิกิริยากับ
                                                          ่
Dorothy และเพื่อน ๆ ร่ วมงานของเธอ “Pay ไม่สนใจผูชายที่อยูหลังม่านนั้น”
                                                 ้

    6. Chamber World

                                                      คือโรงภาพยนตร์ เสมือนจริ งขนาดเล็กที่ควบคุมโดย
                                                 คอมพิวเตอร์ มากกว่า 2 ตัว นันทาให้ความรู้ สึกของผูใช้
                                                                                ่                      ้
                                                 เป็ นอิสระและให้ความรู ้ สึกยิ่งใหญ่กว่าการแชร์ รูปภาพ
                                                 คือโครงงานบนกาแพงทั้งหมดที่สามารถดูดวย 3D กับ
                                                                                             ้
                                                 Head-mounted display แสดงรอยต่อสิ่ งแวดล้อมเสมือน
                                                 ครั้งแรกของระบบนี้ คือ CAVE ถูกพัฒนาที่ Electronic
                                                 Visualization Laboratory เมือง University of Illinois
                                                      The CAVE คือโครงการจริ ง (real-projection) ของ
                                                 โรงภาพยนตร์ 3D มี 3 กาแพงและ 1 พื้น ในโครงการใช้
                                                                              ั
                                                 ระบบเสี ยงสเตอรริ โอและดูกบแทน Stereo glasses มัน
                                                                    ่
                                                 หนักเล็กน้อยและยุงยากกว่า head-mounted display ที่ใช้
                                                 กับ immersive VR The CAVE จัดเตรี ยมประสบการณ์
                                                 ให้บุคคลแรก ผูดู CAVE จะเคลื่อนยายไปในเขตของการ
                                                                ้
                                                 แสดง (สวมใสตัวจับสั ญญาณตาแหน่ ง และใส่ แว่นตา
3D) เทคนิคภาพเหมือนจริ งที่ถูก ต้องและโครงการระบบเสี ยงสเตอรริ โอถูกปรับปรุ งและภาพเคลื่อนยาย
โดยผูดูสามารถดูได้รอบทิศทาง The CAVE ถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอรกราฟิ ก Four Silicon สิ่ งซึ่ งถูกใช้
     ้
กับการประยุกต์ทาให้เห็นภาพ (visualization) เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เช่นกันกับดาราศาสตร์

     7. Cab Simulator Environment
     คือเทคโนโลยีความเป็ นจริ งเสมือนของบุคคลแรก (first person) ชนิดหนึ่ง นันคือการขยายสิ่ งที่จาเป็ น
                                                                            ่
ของการจาลองแบบดั้งเดิ ม Hanit (1993) ใหคาจากัดความ Cab Simulator Environment คือโดยปกติสิ่ง
บันเทิงหรื อการจาลองประสบการณ์ จากความเปนจริ งเสมือน สิ่ งซึ่ งสามารถถูกใช้โดยกลุ มเล็กหรื อคนคน
เดียว สิ่ งลวงตานาเสนอสภาพแวดล้อมเสมือนโดยใช้ส่วนประกอบสาคัญที่ใหญ่กว่าไฟล์ของการมอง เสี ยง
นาเข้ามี 3 มิติ พื้นฐานการเคลื่ อนที่ถูกควบคุ มโดยคอมพิวเตอรและที่โรงภาพยนตร์ มีบทบาทมากกว่านั้น
Cab Simulator เป็ นเครื่ องมือที่ประยุกต์ใช้ได้มากมายทั้งในการอบรมและสิ่ งบันเทิ งเป็ นต้นว่า AGG
Simulation Products พัฒนาจากระบบการอบรมแบบ Cab Simulator ในการอบรมเจ้าหน้าที่ตารวจในการ
ปฏิบติการขับขี่ดวยความเร็ วสู งและสภาวะอันตราย SIMNET คือระบบเครื อข่ายของ Cab Simulators ที่ใช้
      ั
ในการฝึ กหัดทางทหาร สิ่ งบันเทิงโลกเสมือนได้ถูกพัฒนาโดย BattleTech ระบบสิ่ งบันเทิงบนฐานที่ เครื่ อง
เล่น 6 แคป ถูกเชื่อมด้วยเกม ในการเลียนแบบบทละครด้วยกัน

    8. Cyberspace

                                                            คือโลกความจริ งที่ สร้ างขึ้ น สิ่ งนี้ สามารถเข้า
                                                       ไปเยี่ ย มชมพร้ อ มกัน มากมายผ่า นทางเครื อ ข่ า ย
                                                       คอมพิวเตอร์ Cyberspace คือที่ซ่ ึ งถูกครอบงาด้วย
                                                       เครื อข่ า ยคอมพิ วเตอร์ หรื อฐานข้อมู ล อิ เลิ ก ทรอ
                                                       นิกส์ หรื อการคุยบนโทรศัพท์

                                                                               ่
                                                            ระยะเวลา 10 ปี ที่ผานมาเราได้เห็นการนาสิ่ ง
ใหม่มากมายนั้นกาลังเปลี่ยนโฉมหน้าของ cyberspace การเข้ามาของ www ในระหว่างปี 1990 ได้ขยาย
ขอบเขตของ cyberspace ไปสู่ พ้ืนที่กว้างขวางขึ้น นอกจากการให้ขอความ กราฟิ กเสี ยง มัลติมีเดีย วิดี โอ
                                                                   ้
และสื่ อสตรี มทั้งหลายซึ่ งมีอย่างรวดเร็ วและหาง่ายทุกขณะ และมีมากมายในโลก และมันช่วยเพิ่มประโยชน์
ให้กบเทคโนโลยีไร้สายและเข้าทางอินเตอรเน็ตที่มีพ้ืนฐานผ่านสายเคเบิลกาลังขยายไปสู่ cyberspace
    ั



    แหล่งอ้างอิง
    - http://th.wikipedia.org/wiki/Augmented_reality
    - En.wikipedia.org/wiki/Augmented_reality
    - www.ipad-thailand.com/การผลิตสื่ อ-ar-และ-qr
    - Gotoknow.org/blog/augmented-reality/333211

More Related Content

Similar to 13510194

Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality Ferin Bell
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บtanongsak
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
3 multimedia apply
3 multimedia apply3 multimedia apply
3 multimedia applyApida Runvat
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7Winwin Nim
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศYongyut Nintakan
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศPungka' Oil
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้Yongyut Nintakan
 
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้Yongyut Nintakan
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศYongyut Nintakan
 

Similar to 13510194 (20)

Augmented reality
Augmented reality Augmented reality
Augmented reality
 
้html
้html้html
้html
 
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บหน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
หน่วยที่ 1 การทำงานกับระบบเว็บ
 
Unit1new
Unit1newUnit1new
Unit1new
 
Unit1new (1)
Unit1new (1)Unit1new (1)
Unit1new (1)
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
3 multimedia apply
3 multimedia apply3 multimedia apply
3 multimedia apply
 
ใบงานท 7
ใบงานท   7ใบงานท   7
ใบงานท 7
 
คอม2
คอม2คอม2
คอม2
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Multi2
Multi2Multi2
Multi2
 
Multi
MultiMulti
Multi
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
Seven
SevenSeven
Seven
 
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
 
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
เผยเทคโนโลยีใหม่ ใช้
 
13510163
1351016313510163
13510163
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสานเทศ
 

13510194

  • 1. Augmented Reality AR Code Phanicha Doeichuenngam 13510194
  • 2. Augmented Reality (AR-Code) Augmented Reality หรื อ AR-Code เป็ นเทคโนโลยีที่ผสานเอาโลกแห่ งความเป็ นจริ ง และความ เสมือนจริ ง ผสานเข้าด้วยกัน ผ่านอุปกรณ์กล้อง Webcam, Computer และ Pattern โดยภาพที่ปรากฎให้เห็น ในจอภาพ หรื อ Monitor จะเป็ นภาพที่มีลกษณะเป็ น 3 มิติ มุมมอง 360 องศา สามารถมองได้รอบด้าน ั ขณะนี้ โลกกาลังก้าวเข้าสู่ ยุคของสภาพเสมือนจริ ง (Virtual Reality) ซึ่ งเปรี ยบได้วาเป็ นเขตแดน ่ บุ ก เบิ ก ของคริ ส ต์ว รรษที่ 21 เราจะพบว่า ประกอบด้ว ยถนนอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ป ระกอบด้ว ย เครื อ ข่ า ย อินเทอร์ เน็ต (Internet) ซึ่ งมี ท้ งนิ วส์ ก รุ๊ ป (Newsgroup) เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) และบริ การ ั สารสนเทศต่าง ๆ รวมถึง เครื อข่ายคอมพิวเตอร์ เอกชนอีกมากมาย คาว่า ทางด่วน สารสนเทศ นั้นมักอ้างถึง ระบบเชื่อมโยงทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ครอบคลุมทัวโลก ในปั จจุบน บางครั้งก็มีการใช้คาว่า โครงสร้างพื้นฐาน ่ ั สารสนเทศของประเทศ (National Information Infrastructure) บางครั้งสื่ อมวลชนก็ใช้คาว่า ไซเบอร์ สเปซ (Cyberspace) ในเขตแดนใหม่ที่กล่าวถึ งนี้ มีกิจกรรมอีกหลายอย่างที่กาลังเปลี่ ยนแปลงสังคมที่เราเคยรู ้ จก ั ่ ั อยูท้ งในด้านการบันเทิง การศึกษา ธุ รกิจ ฯลฯ และมีปัญหาเกิดขึ้นตามมาอีกหลายอย่างที่จะต้องมีการแก้ไข กันต่อไป เช่น ในเรื่ องการละเมิดกฎหมาย หรื ออาชญากรรมที่กระทาผ่านไซเบอร์ สเปซ (Cyberspace) ใน อนาคตกิจกรรมในชี วิตประจาวันแทบทุกอย่างของมนุษย์ที่อาศัยอยูในสังคมสมัยใหม่จะเกี่ยข้องกับการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) และการประยุก ต์ใช้วิชาการหุ่ นยนต์ (Robotics) ที่วาด้วยการใช้หุ่นยนต์ที่ ่ ควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ ซึ่ งทางานโต้ตอบกันเป็ นภาษาพูดของมนุ ษย์ (Human Language Interaction) การที่ ุ่ ต้องเรี ยนรู ้ภาษาคอมพิวเตอร์ หรื อวิธีการใช้คอมพิวเตอร์ ที่ยงยากซับซ้อนนั้นจะหมดไป
  • 3. AR แบ่ งออกเป็ น 4 ชนิด 1. Optical See-Through AR ผูใช้เห็นชัดเจนด้วย Head-mounted display (ผูใช้จะต้องสวมหมวกที่มีจอภาพไว้บนศรี ษะ) เพื่อ ้ ้ แสดงสิ่ งแวดล้อมเสมือนได้ (VE) โดยตรงมากกว่าโลกจริ ง 2. Projector Based AR ใช้วตถุโลกจริ งเช่นเดียวกับการออกแบบพื้นผิวสาหรับ VE ั 3. Video See-Through AR ใช้ MHD ทึบแสงในการแสดงผสมผสานกับวิดีโอของ VE และมองจากกล้องถ่ายรู ปบน HMD 4. Monitor-Based AR ใช้ผสมผสานกับวิดีโอสตรี ม แต่การแสดงน่าจะติดตามมากกว่าปกติ หรื อจับสิ่ งแสดงได้ Monitor- Based AR คือ ความเป็ นได้ยากที่จะติดตั้งเพราะมันจากัดเนื้อหา HMD หลักการของ AR ประกอบด้ วย 1. กล้อง webcam, มือถือ หรื อตัวจับ sensor อื่น ๆ 2. AR CODE, ตัว Marker (บางคนเรี ยกว่า Markup) ต่าง ๆ 3. ส่ วนแสดงผลอาจเป็ นจอภาพทางคอมพิวเตอร์ มือถือ หรื ออื่น ๆ 4. ส่ วนประมวลผลเพื่อสร้าง object 3D เช่น software ข้ อดีจากการนาระบบ AR มาใช้ 1. เป็ นการสร้างประสบการณ์ ที่แปลกใหม่ให้แก่ผบริ โภค ถื อเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งในการเข้าถึงกลุ่ม ู้ ลูกค้าที่เป็ นรุ่ นใหม่ท่ีชอบและสนใจเทคโนโลยี 2. ผูใช้บริ การสามารถค้นหาตาแหน่งและรายละเอียดของสิ นค้าที่ตนต้องการได้อย่างถกต้อง ชัดเจน ้ 3. บริ ษทสามารถสร้าง Campaign ต่าง ๆ เพื่อสร้างความน่าสนใจในตัวสิ นค้า จึงสามารถดึงดูดลูกค้า ั และเพิ่มยอดขายได้มากขึ้น 4. เพิ่มโอกาสของการค้าทาง Internet (E-commerce) เนื่องจากการที่ผซ้ื อสามารถเก็นภาพจาลองของ ู้ ตนและสิ นค้าก่อนทาการสั่งซื้ อ จึงเป็ นการเปิ ดตลาดให้มีผใช้บริ การช่องทางนี้ เพิ่มมากขึ้น ซึ่ งทั้งนี้ ู้ ยัง ส่ ง ผลต่ อไปยัง ผูท่ี ต้องการลงทุ นทางธุ ร กิ จ โดยช่ ว ยลดค่ า ใช้จ่ า ยในการลงทุ น เนื่ องจากไม่ ้ จาเป็ นต้องมีหน้าร้านเพื่อให้บริ การ จึงไม่ตองเสี ยค่าเช่าสถานที่ ค่าน้ า ค่าไฟฟ้ า ฯลฯ ้
  • 4. ข้ อเสี ยจากการนาระบบ AR มาใช้ 1. ไม่เหมาะกับกลุ่มคนที่ low technology หรื อกลุ่มคนที่อาจไม่ได้มีความรู ้ ดานเทคโนโลยีมากนัก ้ เนื่ องจากว่าการนาเสนอด้วยรู ปแบบนี้ ผูใช้จาเป็ นต้องมีกล้อง Web Cam และเครื่ องพิมพ์ในกรณี ที่ ้ เป็ นการ print ตัว Marker ผ่านหน้าเว็บไซต์ 2. เข้าถึงผูบริ โภคในกลุ่มที่จากัด โดยผูใช้บริ การต้องมีสถานะที่ค่อนข้างดี เนื่ องจากการใช้เทคโนโลยี ้ ้ AR ต้องอาศัยอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์หลายอย่าง 3. การที่ มี ก ลุ่ ม ผูบ ริ โภคจากัด อาจไม่คุ ้ม กับการลงทุ นของบริ ษ ทในการวางระบบเครื อข่า ยต่า ง ๆ ้ ั รวมทั้งการทาฐานข้อมูล เช่น การทาฐานข้อมูลของร้านค้าหรื อสถานที่ 4. ยังขาดการสนับสนุนจากภาครัฐบาล เนื่องจากในการใช้งานอย่างเช่น โทรศัพท์มือถือ ต้องใช้ระบบ 3G ซึ่ งระบบดังกล่ าวยังไม่ครอบคลุ มพื้นที่ ให้บริ การส่ วนใหญ่ของประเทศ ทาให้การใช้งาน ่ เทคโนโลยี AR ยังอยูในวงที่จากัด ชนิดความแตกต่ างของความเป็ นจริงเสมือน 1. Immersive First-Person โดยปกติเมื่อเราคิดถึงความเป็ นจริ ง เสมื อ น เราจะคิ ด ถึ ง ระบบ immersive ร ว ม ถึ ง อุ ป ก ร ณ์ ส่ ว น เ ชื่ อ ม ต่ อ คอม พิ ว เ ตอร์ เช่ นเดี ย วกั บ Head- mounted display ถุ งมื อที่ ติดตั้งระบบ สายลวดไฟเบอร์ ออฟติก (Fiber optic) ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง เ ส มื อ น Immersive จัดเตรี ยมโดยตรงประสบการณ์ บุคคล แรกกับ การประยุ ก ต์ บ างอย่ า งมี ท าง เชื่ อมต่อไปสู่ การเลียนแบบประสบการณ์ และในบริ เวณ HMD นี้ คือสิ่ งที่ผดู BOOM จาก Fake Space Labs ู้ ่ ้ ซึ่ งลอยอยูดานหน้าของผูใช้งาน ดังนั้นมันจึงไม่หนักและไม่ได้ทาให้เหน็ดเหนื่ อยเวลาที่สวมใส่ HMD ใน ้ immersive VR ผูใช้คือผูอยู่ตาแหน่ งด้านในภาพ รู ปภาพ จะถูกกาหนดคุ ณสมบัติซ่ ึ งจะทาให้มนดูเหมือน ้ ้ ั กระทาจริ ง ในการจะมองเห็ น สั ญญาณและในบางกรณี ที่ แสงสว่า ง (aural) และการเข้าใจสัมผัส เด็กจะ คุนเคยกับเทคโนโลยีน้ ี จากเกมส์ วิดีโอ Mattel’s Power GloveTM ใช้ในการเชื่ อมต่อกับ Nintendo Games ้ ราคาไม่แพง ออกแบบโดยอาศัย Data GloveTM จาก VPL Research บริ ษท Power GloveTM ล้มเหลวจาก ั การผลิ ตของเล่น แต่ประสบความสาเร็ จมาจากอุปกรณ์ในการเชื่ อมต่อระบบความเป็ นจริ งเสมือน ราคาต่อ ่ จานวนหนึ่งในปี 1990s โดยเฉพาะสิ่ งที่เรารู ้วาระบบความเป็ นจริ งเสมือน homebrew หรื อ garage ซอฟแวร์
  • 5. ราคาไม่แพง และการ์ ดคอมพิวเตอร์ หาง่าย มันเป็ นไปได้ที่จะใช้ Power GloveTM เป็ นอุปกรณ์ที่นาเข้ากับ คอมพิวเตอร์ IBM 2. Augmented Reality เทคนิคเพิมความเสมือนจริง ่ การเปลี่ยนแปลงความเป็ นจริ ง เสมือน immersive คือเทคนิคเพิ่มความเสมือนจริ ง Augmented Reality ที่ ซึ่ งดูเหมือนจะสนับสนุนระดับความสาเร็ จของกราฟิ ก คอมพิวเตอร์ เนื่องจากของจริ งเน้นลักษณะเฉพาะและ ยกระดับ ขยายความเข้า จัย เทคโนโลยี AR คื อ วิธี จัดเตรี ย มวิธีก ารนาเสนอข้อมูล โดยเพิ่ม สถานการณ์ เพิ่มความรู ้ความเข้าใจของโลกจริ ง สิ่ งนี้ ถูกยอมรับการ แทนวัตถุเสมือน หรื อสอดแทรกข้อมูลข่าวสารเข้าไปในโลกที่เป็ นจริ ง ผูใช้จะต้องเป็ นผูมองเห็น สามารถ ้ ้ จัดแบ่งชนิดของเทคนิคเพิ่มความเสมือนจริ ง (AR) ออกเป็ น 4 ชนิด สิ่ งนั้นสามารถแยกชนิดได้ ดังนั้น 1. Optical See-Through AR ผูใช้เห็นชัดเจนด้วย Head-mounted display (ผูใช้จะต้องสวมหมวกที่ ้ ้ มีจอภาพไว้บนศีรษะ) เพื่อแสดงสิ่ งแวดล้อมเสมือนได้ 2. Projector Based AR ใช้วตถุโลกจริ ง ั 3. Video See-Through AR ใช้ HMD ทึบแสงและมองจากกล้องถ่ายรู ปบน HMD 4. Monitor-Based AR ใช้ผสมผสานกับวิดีโอสตรี ม แต่การแสดงน่าติดตามมากกว่าปกติ หรื อจับ สิ่ งที่แสดงไว้ 3. Through the Window ชนิ ด ของระบบนี้ เกี่ ย วกับ ความรู้ โ ดยเฉพาะ “desktop VR” ผู้ใ ช้ ไ ด้ ดู ผ่ า นหน้ า ต่ า งของ ่ จอคอมพิวเตอร์ และนาทางผ่านที่วางกับการควบคุ ม อุปกรณ์ เช่ น เม้าส์ เหมื อนกับความเป็ นจริ งเสมื อน immersive สิ่ งนี้ได้เตรี ยมประสบการณ์ให้บุคคลแรก ระบบความเป็ นจริ งเสมือน Through the Window คือ เค รื่ อ ง มื อ ใ น กา ร ว า ง แ ผ น ก าร อ อ ก แ บ บ 3 D architecture เครื่ องมือ Virtus WalkThrough มันใช้ สารวจความเป็ นจริ งเสมือนบน Macintosh หรื อคอมพิวแตอร์ IBM ถูกพัฒนาให้เป็ นเครื่ องมือคอมพิวเตอร์
  • 6. มาให้เห็ นภาพ (visualization) ช่ วยออกแบบเทคโนโลยีช้ ันสู ง ที่ ซับซ้อนส าาหรับ ผูส ร้ างภาพยนตร์ The ้ Abyss Virtus WalkThrough คือการใช้ในการออกแบบและเปนเครื่ องมือวางแผนสาหรับภาพยนตร์ ฮอลลีวด ู มากมายและงานโฆษณารวมถึ ง วางแผนด้านสถาปั ตยกรรมและประยุก ต์ใ ช้ใ นการศึ ก ษาซึ่ งคล้า ยกับ โปรแกรมซับซ้อนเล็กน้อย สิ่ งนี้ กาลังเริ่ มจัดหาให้ใช้ในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ไดแก่ Virtus VR 4. Mirror World (โครงงานทีเ่ ป็ นจริง) เป็ นการจัดเตรี ย มประสบการณ์ บุ ค คลที่ 2 ในสิ่ ง ซึ่ ง ผูดูยืน ภายนอกในโลกเพ้อฝั น แต่ ไ ม่ ติดต่ อกับ ้ ตัวอักษรหรื อวัตถุ ขางในมัน ระบบ Mirror World ใชกล้องวิดีโอเป็ นอุปกรณ์สิ่งนาเข้า ผูใช้จะมองเห็นภาพ ้ ้ เพิ่มขึ้นบนหรื อผสมผสานกับโลกเสมือนบนจอวิดีโอขนาดใหญ่ การใช้เป็ นข้อมูลดิจิตอลคอมพิวเตอร์ จะ ประมวลผลรู ปภาพของผูใช้ไปสู่ การคัดลอกแบบให้ตรงกับตาแหน่งของเขา การเคลื่ อนไหวรวมทั้งจานวน ้ นิ้วมือสู งขึ้น โดยปกติระบบนี้ ราคาไม่แพงไปกว่าระบบการแช่ (immersion) และผูใช้ไม่มีการภาระกับ ้ เครื่ องสวมหัว ถุงมือที่ติดตั้งระบบขดลวดหรื อส่ วนติดต่ออื่น ๆ (Lantz, 1992) 5. Waldo World (Virtual Characters) เป็ นการประยุกต์ใช้ความเป็ นจริ งเสมือนชนิ ดนี้ มาจากหุ ้นดิจิตอลตัวเล็ก แอนนิ เมชันคอมพิวเตอร์ เวลา ่ จริ ง ชื่ อ Waldo การประยุก ต์ใช้ล่าสุ ดของ VR ชนิ ดนี้ คือ Virtual ActorsTM พัฒนาโดย SimGraphics Engineering สิ่ งนี้ คือคอมพิวเตอร์ ควบคุมบทบาทความมีชีวิตชีวา โดยนักแสดงชายในเวลาจริ งเพื่อนาไปสู่ นักแสดงเสมือน (VA) นักแสดงสวม Waldo ตามคิ้ว ตาของนักแสดง แก้ม หัว คาง และการเคลื่อนไหว ริ ม ฝี ปาก พวกเขายอมให้ควบคุมความสามารถดวยคอมพิวเตอร์ ที่สร้างบทบาทกับการเคลื่อนไหวของเขา เป็ น ต้นว่า เมื่อนักแสดงยิ้มตัวบทบาทก็จะมีชีวิตชี วามีรอยยิ้มตรงกัน กล้องถ่ายรู ปวิดีโอซอนไว้มีเป้ าหมายให้ ผ่านเข้าไปในภาพคอมพิวเตอร์ แอนนิเมชันเพื่อให้นกแสดงชายดูและพูดถึงสมาชิ กผ่านรู ปเคลื่อนไหวลิฟซิ่ ง ่ ั
  • 7. (lip-synced) ของบทบาทที่แสดงบนจอ การประยุก ต์ใช้หุ้นดิจิตอลนี่เหมือน Wizard of Oz ทาปฏิกิริยากับ ่ Dorothy และเพื่อน ๆ ร่ วมงานของเธอ “Pay ไม่สนใจผูชายที่อยูหลังม่านนั้น” ้ 6. Chamber World คือโรงภาพยนตร์ เสมือนจริ งขนาดเล็กที่ควบคุมโดย คอมพิวเตอร์ มากกว่า 2 ตัว นันทาให้ความรู้ สึกของผูใช้ ่ ้ เป็ นอิสระและให้ความรู ้ สึกยิ่งใหญ่กว่าการแชร์ รูปภาพ คือโครงงานบนกาแพงทั้งหมดที่สามารถดูดวย 3D กับ ้ Head-mounted display แสดงรอยต่อสิ่ งแวดล้อมเสมือน ครั้งแรกของระบบนี้ คือ CAVE ถูกพัฒนาที่ Electronic Visualization Laboratory เมือง University of Illinois The CAVE คือโครงการจริ ง (real-projection) ของ โรงภาพยนตร์ 3D มี 3 กาแพงและ 1 พื้น ในโครงการใช้ ั ระบบเสี ยงสเตอรริ โอและดูกบแทน Stereo glasses มัน ่ หนักเล็กน้อยและยุงยากกว่า head-mounted display ที่ใช้ กับ immersive VR The CAVE จัดเตรี ยมประสบการณ์ ให้บุคคลแรก ผูดู CAVE จะเคลื่อนยายไปในเขตของการ ้ แสดง (สวมใสตัวจับสั ญญาณตาแหน่ ง และใส่ แว่นตา 3D) เทคนิคภาพเหมือนจริ งที่ถูก ต้องและโครงการระบบเสี ยงสเตอรริ โอถูกปรับปรุ งและภาพเคลื่อนยาย โดยผูดูสามารถดูได้รอบทิศทาง The CAVE ถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอรกราฟิ ก Four Silicon สิ่ งซึ่ งถูกใช้ ้ กับการประยุกต์ทาให้เห็นภาพ (visualization) เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เช่นกันกับดาราศาสตร์ 7. Cab Simulator Environment คือเทคโนโลยีความเป็ นจริ งเสมือนของบุคคลแรก (first person) ชนิดหนึ่ง นันคือการขยายสิ่ งที่จาเป็ น ่ ของการจาลองแบบดั้งเดิ ม Hanit (1993) ใหคาจากัดความ Cab Simulator Environment คือโดยปกติสิ่ง บันเทิงหรื อการจาลองประสบการณ์ จากความเปนจริ งเสมือน สิ่ งซึ่ งสามารถถูกใช้โดยกลุ มเล็กหรื อคนคน เดียว สิ่ งลวงตานาเสนอสภาพแวดล้อมเสมือนโดยใช้ส่วนประกอบสาคัญที่ใหญ่กว่าไฟล์ของการมอง เสี ยง นาเข้ามี 3 มิติ พื้นฐานการเคลื่ อนที่ถูกควบคุ มโดยคอมพิวเตอรและที่โรงภาพยนตร์ มีบทบาทมากกว่านั้น Cab Simulator เป็ นเครื่ องมือที่ประยุกต์ใช้ได้มากมายทั้งในการอบรมและสิ่ งบันเทิ งเป็ นต้นว่า AGG Simulation Products พัฒนาจากระบบการอบรมแบบ Cab Simulator ในการอบรมเจ้าหน้าที่ตารวจในการ ปฏิบติการขับขี่ดวยความเร็ วสู งและสภาวะอันตราย SIMNET คือระบบเครื อข่ายของ Cab Simulators ที่ใช้ ั
  • 8. ในการฝึ กหัดทางทหาร สิ่ งบันเทิงโลกเสมือนได้ถูกพัฒนาโดย BattleTech ระบบสิ่ งบันเทิงบนฐานที่ เครื่ อง เล่น 6 แคป ถูกเชื่อมด้วยเกม ในการเลียนแบบบทละครด้วยกัน 8. Cyberspace คือโลกความจริ งที่ สร้ างขึ้ น สิ่ งนี้ สามารถเข้า ไปเยี่ ย มชมพร้ อ มกัน มากมายผ่า นทางเครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ Cyberspace คือที่ซ่ ึ งถูกครอบงาด้วย เครื อข่ า ยคอมพิ วเตอร์ หรื อฐานข้อมู ล อิ เลิ ก ทรอ นิกส์ หรื อการคุยบนโทรศัพท์ ่ ระยะเวลา 10 ปี ที่ผานมาเราได้เห็นการนาสิ่ ง ใหม่มากมายนั้นกาลังเปลี่ยนโฉมหน้าของ cyberspace การเข้ามาของ www ในระหว่างปี 1990 ได้ขยาย ขอบเขตของ cyberspace ไปสู่ พ้ืนที่กว้างขวางขึ้น นอกจากการให้ขอความ กราฟิ กเสี ยง มัลติมีเดีย วิดี โอ ้ และสื่ อสตรี มทั้งหลายซึ่ งมีอย่างรวดเร็ วและหาง่ายทุกขณะ และมีมากมายในโลก และมันช่วยเพิ่มประโยชน์ ให้กบเทคโนโลยีไร้สายและเข้าทางอินเตอรเน็ตที่มีพ้ืนฐานผ่านสายเคเบิลกาลังขยายไปสู่ cyberspace ั แหล่งอ้างอิง - http://th.wikipedia.org/wiki/Augmented_reality - En.wikipedia.org/wiki/Augmented_reality - www.ipad-thailand.com/การผลิตสื่ อ-ar-และ-qr - Gotoknow.org/blog/augmented-reality/333211