SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
หน่ วยการเรี ยนที 1
                                     การทํางานของระบบเว็บเพจ


สาระการเรียนร้ ู
          เว็ บ เพจเป็ นข้อ มู ล เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ดู ไ ด้จ ากโปรแกรมเว็ บ บราวเซอร์ ซ่ ึ งใช้เ ปิ ด
อินเทอร์ เน็ต ในการเรี ยนรู ้ระบบการทํางานของเว็บเพจ เพื่อให้นกเรี ยนที่จะศึกษาการสร้างเว็บเพจได้
                                                                            ั
                 ่ ่                                                              ่
ทําความเข้าใจกอนวา เราสร้างเว็บเพจไปใช้ที่ไหน รู ปแบบการใช้งานเป็ นอยางไร มีขอแนะนําควรระวัง
                                                                                           ้
                                                 ี่ ั                    ่
อะไรบ้าง นักเรี ยนจึงต้องมีความพื้นฐานรู ้เกยวกบระบบเครื อขายอินเทอร์ เน็ต เข้าใจระบบการเชื่อมโยง
                     ่                                             ่
เอกสารเว็บในเครื อขายอินเทอร์เน็ต รู ปแบบการใช้บริ การตาง ๆในอินเทอร์เน็ต รวมทั้ งจรรยาบรรณและ
คําแนะนําการใช้งาน ที่ควรทราบ ซึ่ งเป็ นการปูพ้ืนฐานความรู ้ก่อนที่จะเรี ยนรู ้การสร้างเว็บในหนวยการ    ่
       ่
เรี ยนตอไป


ผังความคิด (Mind Mapping)

                        2.1 รูปแบบการให้ บริการ           2.2 จรรยาบรรณและข้ อแนะนําการใช้ ’


                                 ่
                2. การใช้บริ การตาง ๆ ในอินเทอร์เน็ต          1. ความรู้พืนฐานเกี่ยวกับอินเทอร์ เน็ต


                                       การทํางานของระบบเว็บเพจ

                                                                 ่
                              3. มาตรฐานการสื อสารข้อมูลในเครื อขายอินเทอร์เน็ต


                          3.1 โปรโตคอล             3.2 ระบบ IP          3.3 ระบบ Domain name
2



จดประสงค์ การเรียนรู้
 ุ
                         ่
เมื่อนักเรี ยนเรี ยนจบหนวยการเรี ยนนี้ แล้ว นักเรี ยนคงจะมีความรู ้ความสามารถดังนี้
          1. บอกความหมายและความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต ได้
          2. บอกรูปแบบของการให้ บริ การในอินเทอร์ เน็ตได้
          3. บอกสิงที่ควรระวังและข้ อควรปฏิบตในการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตได้
                     ่                          ัิ
          4. บอกมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูลในอินเทอร์เน็ต
          5. บอกความหมายและความสําคัญของโปรโตคอล ได้
          6. บอกความหมายและความสําคัญของไอพี( IP) ได้
          7. บอกความหมายและการใช้งานโดเมนเนม(DNS) ได้
          8. สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูลได้
                       ่
          9. สามารถสงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตโดย อีเมล์ได้
3


                                   การทํางานของระบบเว็บเพจ

          การสร้างเว็บเพจ เพื่อนําผลงานไปแสดงผลในอินเทอร์เน็ต นักเรี ยนจึงต้องมีความรู ้ และความ
                                     ่ ่                    ่
เข้าใจการทํางานของระบบเว็บเพจ กอนวาเราสร้างงานไปใช้ในสวนใดของระบบ และจะแสดงผลได้
    ่
อยางไร ดังมีหวข้อดังนี้
             ั

           1. ความรู้ พนฐานเกียวกับอินเทอร์ เน็ต
                       ื้     ่

                                                         ่                    ่
               อินเทอร์ เน็ต(Internet)เป็ นระบบเครื อขายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญที่ครอบคลุมไปทัวโลก เป็ น
                                                                                                  ่
                  ่                              ่                ั
การนําเครื อขายระดับแวนหลาย ๆ เครื อขายมารวมเข้าด้วยกน เพื่ออํานวยความสะดวกในการให้บริ การ
         ่                             ่                                                  ่
ข้อมูลขาวสาร Internet เป็ นคํายอของ Inter connection network หมายถึงเครื อขายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่
ที่สุดในโลก การทํางานของอินเทอร์ เน็ตจะอยู่ภายใต้กฎมาตรฐานหรื อโปรโตคอลเดี ยวกนทัวโลก 3             ั ่
มาตรฐาน คือ อินเทอร์ เน็ตโปรโตคอล (Internet Protocol :IP) ซิ มเปิ ลเมล์ทรานซ์เฟอร์ โปรโตคอล
(Simple Mail Transfer Protocol:SMTP) และ โดเมนเนมซีสเต็ม(Doman Name System:DNS) ทําให้
                                                   ่                            ่
เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมตอเข้าระบบทุกระบบสามารถติดตอรับ-สงข้อมูลกนได้ ่       ั
                                 ่                     ่              ่
               การแสดงข้อมูลขาวสาร สารสนเทศตาง ๆ ในเครื อขายอินเทอร์เน็ตที่แสดงทางจอคอมพิวเตอร์
                                   ่
หรื ออุปกรณ์แสดงผลอื่น ๆ เชน โทรศัพท์มือถือ แฟกซ์ ฯลฯ เป็ นข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่อาจมีท้ ง       ั
ข้อมูลที่เป็ นข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อวิดีโอ เราเรี ยกชื่อเอกสารอิเล็กทรอนิ กส์น้ ี ว่า เอกสารเว็บ โดย
                    ่                                      ่ ้
จะ เรี ยกสั้ น ๆ วา “เว็บเพจ” ด้วยเหตุที่เว็บเพจเหลานี้ ตองนําไปแสดงในอินเทอร์ เน็ต ที่ผชมทัวทั้ งโลก
                                                                                               ู้ ่
สามารถเข้าชมได้ อี กทั้ งต้องมี ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง วิดีโอ นอกจากนี้ ย งต้องสามารถติ ดตอสื่ อสาร
                                                                                  ั                   ่
        ่ ั                                                                           ่
ระหวางกนได้อีกด้วย การสร้างหน้าเว็บเพจจึงต้องใช้ความรู ้ ความสามารถมากกวาการสร้างหน้าเอกสาร
                                                                    ่
ธรรมดาทัวไปและการที่มีความต้องการใช้งานมาก การสร้างคอนข้างยาก อาชีพการสร้างเว็บจึงเป็ นอาชีพ
             ่
ที่สร้างรายได้สูงจึงเป็ นอาชีพที่น่าเรี ยนรู ้ที่สาคัญอาชีพหนึ่งในโลกไอทียคปัจจุบน
                                                     ํ                    ุ         ั


1.1 ประวัตความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต
          ิ
                                           ่                           ่
          อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ นเครื อ ขายคอมพิ ว เตอร์ ที่ เริ่ ม กอตั้ ง โดย กระทรวงกลาโหมสหรั ฐ อเมริ ก า
 ่ ั
รวมกบมหาวิยาลัยในมลรัฐแคลิฟอร์ เนี ย ประมาณปี ค.ศ. 1969(พ.ศ.2512) สาเหตุสาคัญเนื่ องมาจาก     ํ
     ่                                   ่                                       ั
ระหวางนั้ น มี ส งครามเย็น ระหวางฝ่ ายคอมมิ ว นิ ส ต์นํา โดยรั ส เซี ย กบฝ่ ายเสรี ป ระชาธิ ป ไตยนํา โดย
                          ่        ่                                 ่
สหรัฐอเมริ กา โดยแตละฝ่ ายตางระวังขีปนาวุธที่อาจยิงถลมจุดยุทธศาสตร์ สหรัฐฯ กลัววาหากศูนย์       ่
ควบคุมคอมพิวเตอร์ ถูกทําลายจะทําให้ขอมูลเสี ยหายจึงคิดสร้างศูนย์คอมพิวเตอร์ ออกเป็ นหลายจุดและ
                                               ้
                                       ั                                                    ็
สามารถเชื่ อ มโยงข้อ มู ลเข้า หากนได้ท้ ง หมด หากศูน ย์คอมพิว เตอร์ ใ ดถูก ทํา ลาย กสามารถ ใช้ศู น ย์
                                             ั
4


                                                ั
คอมพิวเตอร์ อื่นซึ่ งมีขอมูลเหมือนกนได้ จึงได้มอบหมายให้มหาวิยาลัยในมลรัฐแคลิฟอร์ เนี ย 4 แหง
                               ้                                                                                 ่
 ่ ั                                                ่
รวมกนทําการวิจยทดลองสร้ างเครื อขายคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่ อมโยงข้อมูลเข้าหากน โดยให้หนวย
                     ั                                                                            ั          ่
งานวิจยทางทหารชื่อ อาร์ปา (ARPA : Advanced Research Project Agency ) เป็ นผูรับผิดชอบ ใช้ชื่อใหม่
           ั                                                                                ้
  ่
วา ARPAnet (Advanced Research Project Agency Network) เมื่อโครงการทดลองสําเร็ จ โครงการ
                                                                           ่
ARPAnet จึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็ น DARPAnet ถือเป็ นเครื อขายที่ใช้งานจริ ง มหาวิทยาลัยตาง ๆ ใน               ่
                                     ่                        ่                         ั
สหรัฐอเมริ กาได้ขอเข้ารวมโครงการและขอเชื่อมตอระบบคอมพิวเตอร์เข้ากบเครื อขาย DAPAnet เพื่อใช้  ่
ในการศึกษาและวิจยมากขึ้ น ในปี ค.ศ.1975 (พ.ศ.2518) DARPAnet ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง
                           ั
               ่
ให้แก่ หนวยการสื่ อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency ปั จจุบนคือ Defense              ั
                                                          ่             ่       ิ
Information’s Systems Agency) เมื่อเครื อขายขยายใหญมากทําให้เกดปั ญหาความปลอดภัย ในปี ค.ศ.
                                                                      ่
1983 ทางการทหารของสหรัฐอเมริ กาจึ งแยกเครื อขายเฉพาะของกองทัพออกมาบริ หาร โครงการ
                       ่                      ่                                       ่
DARPAnet จึงแบงเป็ น 2 เครื อขายคือ ด้านงานวิจยใช้ชื่อ ดาร์ปาเน็ต สวนเครื อขายของกองทัพใช้ชื่อ
                                                                    ั                           ่
                                                            ํ
มิลเน็ต (MILNET: Military Network) และเพื่อกาหนดมาตรฐานการสร้างข้อมูล สารสนเทศตางๆ ให้ทุก                ่
         ่                       ่         ั
เครื อขายสามารถรับ-สงข้อมูลกนได้ใน ค.ศ.1983 (พ.ศ.2526) DARPAnet ได้ประกาศใช้ โปรโตคอล
TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็ นมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูลในอินเทอร์ เน็ต
DARPAnet ได้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบอินเทอร์เน็ตเรื่ อยมาจนถึง ค.ศ.1980 (พ.ศ.2533) จึงให้
                         ํ
                             ่
มูลนิ ธิวิทยาศาสตร์ แหงชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนรวม กบอีกหลาย          ่ ั
     ่                             ่                  ่ ่                         ่
หนวยงาน นับตั้ งแตนั้ นมาได้มีเครื อขายยอยของสถาบันและองค์กรตางๆ ทั้ งในประเทศสหรัฐอเมริ กา
                 ่                                                ่
และประเทศตางๆ ที่มีความสัมพันธ์ เข้ามาเชื่ อมตอเพิ่มขึ้ นไปเรื่ อย ๆ ความต้องการใช้อินเทอร์ เน็ตได้
             ่                                    ่
เพิ่มขึ้ นอยางรวดเร็ วจนปั จจุ บนเครื อขายอิ นเทอร์ เน็ตได้ครอบคลุมไปทัวโลกในการควบคุมจํานวนใช้
                                       ั                                            ่
                                             ่ ั                                          ่
หมายเลขไอพีประจําเครื่ องที่ ไมซํ้ ากนซึ่ งสหรัฐอมริ กาจะเป็ นผูควบคุมให้เทานั้ น การที่ "ไอพี" หรื อ
                                                                              ้
                                         ่
อินเทอร์เน็ตโปรโตคอล เป็ นสวนที่ใช้ควบคุมเครื่ องคอมพิวเตอร์ในระบบและเป็ นมาตรฐานการเชื่อมตอ                   ่
                   ่                                            ่         ่ ่
สําคัญของเครื อขายอินเทอร์เน็ตจึงใช้ชื่อเรี ยกเครื อขายนี้แบบยอวา "อินเทอร์เน็ต" มาจนปัจจุบน           ั
(ที่มา : http://www.krujongrak.com/internet/internet.html)




                                    รูปที่ 1.1 แสดงเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต
                                    ที่มา : www. school.obec.go.th
5


1.2 อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย
                                                     ่                                              ่
                   ประเทศไทยมีการติดตอใช้งานอินเทอร์เน็ตตั้ งแตปี พ.ศ.2530 ในลักษณะการใช้บริ การจดหมาย
อิเล็กทรอนิ กส์หรื ออีเมล์ เป็ นการติดตอระหวางมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (PSU)
                                                         ่             ่
                                       ่
และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียหรื อสถาบันเอไอที (AIT) การติดตออินเทอร์เน็ตของทั้ งสองสถาบันเป็ น                      ่
                                                                             ่
การใช้บริ การจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยความรวมมือกบประเทศออสเตรเลีย ตามโครงการ IDP ซึ่งเป็ น        ั
               ่                     ่
การติดตอเชื่อมโยงเครื อขายด้วยสายโทรศัพท์ จนกระทังปี พ.ศ.2531 มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์วิทยา    ่
เขตหาดใหญ่ ได้ยื่น ขอที่ อยู่อิ น เทอร์ เ น็ ต (Url) ในประเทศไทย และได้รั บ ที่ อ ยู่อิ น เทอร์ เ น็ ต ใช้ชื่ อ วา                                      ่
                                   ่                       ่
Sritrang.psu.th ซึ่งนับวาเป็ น Url แหงแรกของประเทศไทย ตอมาปี พ.ศ.2534 บริ ษท DEC (Thailand)                  ่                      ั
       ั                                     ิ
จํากด ได้ขอ Url เพื่อใช้ในกจกรรมของบริ ษท และได้รับ Url เป็ น dect.co.th ถือเป็ นการใช้ในภาคธุรกจ
                                                                   ั                                                                                  ิ
รายแรก ปี พ.ศ.2535 นับว่าเป็ นปี ที่อินเทอร์ เน็ตเข้ามาในประเทศไทยอยางเต็มตัว กลาวคือจุฬาลงกรณ์                            ่          ่
                                           ่                                                ่
มหาวิทยาลัยได้จดตั้ งเครื อขายคอมพิวเตอร์ข้ ึนและได้เชาสายลีสไลน์ (leased line) ซึ่ งเป็ นสายความเร็ วสู ง
                           ั
                   ่ ั                                         ่     ั                    ่
เพื่อเชื่อมตอกบอินเทอร์ เน็ต โดยเชื่อมตอเข้ากบเครื อขาย ยูยเู น็ต (UUNET) ของบริ ษท ยูยเู น็ตเทคโนโลยี                            ั
     ั                                                                   ่
จํากด (UUNET Technologies Co., Ltd.) ตั้ งอยูที่มลรัฐเวอร์จิเนียประเทศสหรัฐอเมริ กา ตั้ งชื่อเครื อขายวา                                         ่ ่
                                                                                      ่
จุฬาเน็ต (ChulaNet) มีสถาบันการศึกษาขอเชื่อมตอเครื อขายอินเทอร์ เน็ตผานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย              ่                  ่
ได้แก่ สถาบันเอไอที มหาวิทยาลัยมหิ ดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริ หารธุรกจ ใช้ชื่อเครื อขายนี้ ว่าเครื อขาย                        ิ                ่         ่
                                                             ่
"ไทยเน็ต" (THAInet) ปั จจุบนเครื อขายไทยเน็ตประกอบด้วยสถาบันการศึกษาเพียง 4 แหงเทานั้ น
                                                   ั                                                                                          ่ ่
                 ่           ่
เนื่องจากสวนใหญย้ายการเชื่อมโยงมาที่เนคเทค (NECTEC) เครื อขายไทยเน็ตนับเป็ นเครื อขายที่มีเกตเวย์                ่                          ่
(gateway) หรื อประตูสู่เครื อขายอินเทอร์เน็ตเป็ นแหงแรกของประเทศไทย ปี พ.ศ.2535 เนคเทคได้จดตั้ ง
                                                 ่                                 ่                                                              ั
กลุ่มจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษาและวิจยโดยมีชื่อวา NWG : NECTEC E-mail Working Group
                                                                               ั                        ่
                         ่       ่                               ่
ได้จดตั้ งเครื อขายชื่อวา ไทยสาร เครื อขายไทยสารได้พฒนาอยางตอเนื่องการที่มีความต้องการ ในการใช้
         ั                                                                                    ั             ่ ่
                                                                                        ่
อินเทอร์เน็ตมากขึ้ น ในปี พ.ศ. 2537 การสื่ อสารแหงประเทศไทย (กสท.) ซึ่ งดูแลการให้บริ การชองทาง                                                ่
การสงข้อมูลในระบบเครื อขาย (Bandwidth) จึงได้ร่ วมมือกบบริ ษทเอกชนเปิ ดบริ การอินเทอร์ เน็ตให้แก่
            ่                                  ่                                                      ั        ั
                                         ่                                           ่ ั
บุคคลและผูสนใจทัวไป ตอมามีการให้สัมปทานแกบริ ษทเพื่อให้รับชวงการบริ การดูแลหมายเลข IP ขึ้ น
                    ้          ่                                                                                     ่
           ั ้                                                             ่
บริ ษทผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์ เรี ยกวา ISP (Internet Service Provider) ปั จจุบนประเทศไทยมี                                 ั
  ้                                                    ํ                         ่
ผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์จานวน 18 แหง คือ A-Net, Asia Access, AsiaNet, CS-Coms, CWN,
FarEast, IDN, JI-Net, Internet Thailand, KSC, Line Thai, Loxinfo, Samart, SGA, WorldNet, EZNet,
RoyNet, และ CWT และศูนย์บริ การอินเทอร์ เน็ตเพื่อการศึกษาและวิจยจํานวน 5 ศูนย์ ได้แก่ Scoolet,                         ั
UniNet, PubNet, ThaiSarn และ GITS จากสถิติที่เนคเทคสํารวจ ในปี พ.ศ.2547 มีผใช้ประมาณ 6.9 ล้าน                                  ู้
                       ั
คน ในเดือนกนยายน 2551 มีถึง 13.4 ล้านคน (ที่มา : http://www.bloggang.com 13 ต.ค. 2551) นับวา                                                              ่
เพิ่มขึ้ นเร็ วมาก จํานวนความต้องการใช้อินเทอร์ เน็ตถือเป็ นตัวชี้ ให้เห็นการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่ อสาร
6


                                   ่              ิ
ของประเทศยุคโลกาภิวตน์ ที่มีการแขงขันทางเศรษฐกจสู ง ด้านการศึกษาจะต้องให้ความสําคัญพัฒนา
                        ั
                      ้                                                       ่
นักเรี ยน นักศึกษาให้กาวทันการพัฒนาของโลกที่รัฐบาลจะต้องให้ความสําคัญและพัฒนาตอไป

            2. การบริการต่ าง ๆ ในอินเทอร์ เน็ต

                                          ่                       ่ ั ่
          การที่อินเทอร์ เน็ต เป็ นเครื อขายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมตอกนทัวโลก สามารถใช้ประโยชน์ ทั้ ง
                                     ิ
การพัฒนาประเทศ สังคม เศรษฐกจ การศึกษา ด้วยเหตุน้ ี จึงมีการคิดสร้างโปรแกรมการให้บริ การ ใน
        ่
รู ปแบบตาง ๆ ขึ้ นหลากหลายรู ปแบบ เพื่อสนองความต้องการของผูใช้และประโยชน์ทางธุรกจ
                                                                     ้                 ิ

2.1 รปแบบการบริการบนระบบอินเทอร์ เน็ต แบงออกเป็ น 5 ลักษณะ (ณัฐกร สงคราม. 2543) คือ
     ู                                       ่
       2.1.1 บริการด้ านการรับส่ งข่ าวสารและแสดงความคิดเห็น
                           ่ ่
                การรับสงขาวสารและแสดงความคิดเห็ น เป็ นบริ การที่ได้รับความนิ ยมมากที่สุดในระบบ
                                             ่ ่                                          ่ ้
อินเทอร์ เน็ต จะมีเครื่ องมือในการรับสงขาวสาร และแสดงความคิดเห็นระหวางผูใช้บริ การอินเทอร์ เน็ต
มีหลายวิธีดงนี้  ั
                ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)                                             ่
                                                           เป็ นการให้บริ การพื้ นที่รับ-สงจดหมายหรื อข้อความ
มีท้ งแบบจัดตั้ ง Mail-Server ขึ้ นเฉพาะกลุ่ม ผูใช้ตองเสี ยคาใช้จ่าย และแบบให้บริ การพื้ นที่ฟรี เจ้าของ
          ั                                            ้ ้            ่
                     ็         ่                                            ่      ่
Server จะเกบเงินจากคาโฆษณา ซึ่งการใช้บริ การ E-Mail สวนใหญจะใช้บริ การแบบฟรี ซึ่ งนอกจาก
        ่                                                               ่
ไมเสี ยเงินแล้วอาจเพราะมาตรฐานการดูแล และความเร็ วคอนข้างสู ง ผูรับจะได้รับข้อมูลในเวลาเกอบ
                                                                                     ้                     ื
ทันทีที่ส่ งไป ผูให้บริ การ E-Mail ฟรี ของตางประเทศ เชน hotmail หรื อ yahoo mail ในประเทศไทย
                         ้                         ่                ่
      ่
เชน thaimail.com chaiyo.com E-Mail ฟรี เหล่านี้ จะให้บริ การไปเรื่ อย ๆ การหมดอายุหรื อตัดการใช้ จะ
    ิ                                    ิ                                     ั ้
เกดได้เมื่อผูใช้เลิกใช้เป็ นเวลานานเกนไป การขอใช้ E-Mail กบผูให้บริ การฟรี ผูใช้จะต้องสมัครเป็ น
                   ้                                                                              ้
สมาชิกขอใช้บริ การ และจะได้รับ user id และ password ประจําตัว เพื่อ login เข้าใช้บริ การ E-Mail
                กลุ่มอภิปราย (Newsgroup) หรือ ยสเน็ต (Use Net) กลุ่มอภิปรายเป็ นการรวมกลุ่มของผูใช้
                                                        ู                                                      ้
อินเทอร์ เน็ตที่มีความสนใจในเรื่ องเดียวกน เชน กลุ่มที่สนใจเรื่ องคอมพิวเตอร์ รถยนต์ การเลี้ ยงปลา
                                                 ั ่
                                    ่ ่                                                ่ ั
การปลูกไม้ประดับ เป็ นต้น เพื่อสงขาวสารหรื อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหวางกน ในลักษณะของกระดาน
  ่
ขาว (Bulletin Board) บนอินเทอร์ เน็ต ผูใช้สามารถเลือกหัวข้อที่สนใจและสามารถแสดงความคิดเห็นได้
                                               ้
โดยการสงข้อความไปยังกลุ่มและผูอ่านภายในกลุ่ม จะมีการรวมกนอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสง
              ่                        ้                                      ่ ั                                  ่
ข้อความกลับมายังผูส่ งโดยตรง หรื อสงเข้าไปในกลุ่ม เพื่อให้ผอื่นอานด้วยกได้ ตัวอยาง เชน กระดานขาว
                            ้              ่                              ู้ ่          ็        ่ ่             ่
พันทิพ ที่ URL : www.pantip.com
                                                                                                ั ้
                การสนทนา (Talk) การสนทนาเป็ นบริ การที่ผใช้สามารถพูดคุยโต้ตอบกบผูใช้คนอื่น โดยการ
                                                                 ู้
                       ่                             ่
พิมพ์ขอความผานทางแป้ นพิมพ์ หรื อพูดคุยผานทางคอมพิวเตอร์ มีการตอบโต้กนทันที การสนทนาผาน
            ้                                                                                 ั              ่
7


                                                        ่
ทางอินเทอร์ เน็ตนี้ สามารถใช้โปรแกรมได้หลายโปรแกรม เชน โปรแกรม Talk สําหรับการสนทนา เพียง
2 คน โปรแกรม Chat หรื อ IRC (Internet Relay Chat) สําหรับการสนทนาเป็ นกลุ่ม หรื อโปรแกรม ICQ
          ่                             ่ ่
(มาจากคําวา I Seek You: ฉันหาคุณ) ตัวอยางเชน โปรแกรม Pirch, ICQ, Windows Messenger (MSN),
Yahoo Messenger เป็ นต้น

          2.1.2 บริการด้ านการติดต่ อสื่ อสาร
                                            ่           ั                                        ั่ ่
             เป็ นบริ การที่ผใช้สามารถติดตอสื่ อสารกบเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่อื่นได้ ในขณะที่นงอยูที่หน้าจอ
                                 ู้
                                                  ่
คอมพิวเตอร์ของตนเอง ซึ่งบริ การด้านการติดตอสื่ อสารมีหลายลักษณะ ดังนี้
             Telnet เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ บนอินเทอร์เน็ต และ สามารถ
                          ่               ่
ใช้บริ การสาธารณะตาง ๆ เชน บริ การห้องสมุด ข้อมูลการวิจย และสารสนเทศของเครื่ องคอมพิวเตอร์
                                                                     ั
เหลานั้ นได้ราวกบวากาลังทํางานอยู่บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ น้ ัน ๆ ชวยให้ไมต้องเดิ นทางไปทํางานอยู่
        ่            ั ่ ํ                                                   ่         ่
                   ่                                                   ่
หน้าเครื่ องเหลานั้ นโดยตรง จึงถือเป็ นบริ การหลักที่สําคัญอยางยิ่งของอินเทอร์ เน็ต การใช้โปรแกรม
              ่ ั                                                                                   ่
Telnet ติดตอกบคอมพิวเตอร์ ในอินเทอร์ เน็ตนั้ น จําเป็ นต้องได้รับสิ ทธิ เป็ นผูใช้ในระบบนั้ นกอน แตกมี
                                                                                     ้                 ่ ็
                                        ่
ระบบคอมพิวเตอร์ในเครื อขายจํานวนมากที่อนุญาตให้ผใช้ทวไปเข้าใช้บริ การได้โดยไมต้องรับอนุญาต
                                                              ู ้ ั่                       ่
             The Internet Telephone และ The Videophone ปกติการสื่ อสารทางโทรศัพท์
ผูใช้จะต้องยกหู จากเครื่ องรั บโทรศัพท์และพูดข้อความตาง ๆ ระหวางผูรับและผูส่ งแตเมื่ อใช้บริ การ
    ้                                                             ่            ่ ้       ้   ่
                                    ่
อินเทอร์ เน็ ตซึ่ งเป็ นเครื อขายการสื่ อสารทัวโลกผูใช้สามารถเลื อกหมายเลขโทรศัพท์ที่ตองการติ ดตอ
                                               ่      ้                                        ้         ่
          ่                                               ่
โดยพูดผานไมโครโฟนเล็กๆ และฟั งเสี ยงสนทนาผานทางลําโพง ทั้ งนี้ ผใช้จะต้องมีโปรแกรมสําหรับใช้
                                                                                ู้
                                                                         ่
งานรวมทั้ งใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นระบบมัลติมีเดี ย ตัวอยางการบริ การแบบ Telephone เช่ น
โปรแกรม Net2Phone นอกจากนี้ หากมีการติ ดตั้ งกล้องวีดิทศน์ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของคู่สนทนา
                                                                           ั
ทั้ ง 2                               ่             ั
             ฝ่ าย เมื่ อเชื่ อมตอคอมพิวเตอร์ เข้ากบระบบอิ นเทอร์ เน็ ตแล้ว ภาพที่ ได้จากการทํางานของ
            ั ็                 ่ ่
กล้องวีดิทศน์กสามารถสงผานไปทางอินเทอร์เน็ตถึงผูรับได้ การสนทนาทางโทรศัพท์จึงปรากฏภาพของ
                                                            ้
คูสนทนาทั้ งผูรับ และผูส่ งบนจอคอมพิวเตอร์ ไปพร้อมกบเสี ยงด้วย ตัวอยางโปรแกรมแบบ Videophone
  ่              ้            ้                                ั                   ่
      ่
เชน Net meeting
8


          2.1.3 บริการการถ่ ายโอนแฟ้ มข้ อมล
                                           ู
                       ่
          บริ การการถายโอนแฟ้ มข้อมูล หรื อบริ การ FTP (File Transfer Protocol) เป็ นบริ การ
                                                                           ่          ่่
ของอินเทอร์ เน็ตที่ผูใช้อินเทอร์ เน็ตนิ ยมใช้ โดยผูใช้สามารถแลกเปลี่ยน ถายโอนข้อมูล ไมวาจะเป็ น
                     ้                              ้
                                                           ่           ั                 ่
ไฟล์ขอมูลตัวหนังสื อ รู ปภาพ เสี ยง วีดิทศน์ หรื อโปรแกรมตาง ๆ คล้ายกบการ Copy ข้อมูล แตวิธีการ
       ้                                  ั
                                        ่
ของ FTP จะซับซ้อนและปลอดภัยกวาการ Copy การใช้งานผูให้บริ การจะมีเครื่ อง FTP Server ไว้บริ การ
                                                             ้
                                                                               ่           ่
เฉพาะ นั่นคือผูใช้จะต้องมี พ้ืนที่ บนเว็บ(ใน FTP Server)เป็ นของเราเองกอน จะโดยการเชาพื้ นที่
                 ้
หรื อ แบบฟรี ก็ได้ จึงจะมีพ้ืนที่ให้เกบหรื อฝากข้อมูล การใช้งานจะมีโปรแกรม FTP
                                      ็                                              สําหรับสง่
                                                                     ่
(Upload) หรื อรับ (Download) ซึ่งสามารถหาได้จากอินเทอร์เน็ต ดังตัวอยาง รู ปที่ 1.1




                 รูปที่ 1.2 แสดงการถ่ายโอน FTP ในอินเทอร์ เน็ตด้ วย WS FTP Professional
                 ที่มา : wbi.dru.ac.th/dcc/e-lea/net

        2.1.4 บริการค้ นหาข้ อมล
                               ู
         การบริ การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีแฟ้ มข้อมูลตาง ๆ มากมายหลายพันล้านแฟ้ มบรรจุอยู่
                                                               ่
                                     ่                                           ่    ่
ให้ผูใช้สามารถสื บค้นมาใช้งาน นับวาได้เป็ นรู ปแบบการบริ การที่เข้ามามีบทบาทตอทุกสวนของผูใช้
     ้                                                                                         ้
                                       ิ
โดยเฉพาะ ด้านการศึกษา และภาคธุ รกจที่ต้องใช้ขอมูลเพื่อการตัดสิ นใจ หรื อวางแผนการการทํางาน
                                                    ้
             ่
ซึ่งโปรแกรมชวยค้นหาแฟ้ มข้อมูล มีดงนี้
                                   ั
            อาร์ คี (Archie) เป็ นโปรแกรมที่ ช่ วยในการค้นหาแฟ้ มที่ผูใช้ทราบชื่ อแฟ้ มแตไมทราบวา
                                                                        ้                 ่ ่      ่
                     ่
แฟ้ มข้อมูลนั้ นอยูในเครื่ องบริ การใดในอินเทอร์เน็ต โปรแกรมนี้ จะสร้างบัตรรายการแฟ้ มไว้ในฐานข้อมูล
                   ่                           ่
เมื่อต้องการค้นวาแฟ้ มตามชื่อในฐานข้อมูล อยูในเครื่ องบริ การใด เพียงเรี ยกใช้โปรแกรมอาร์คีแล้วพิมพ์
ชื่อแฟ้ มข้อมูลที่ตองการลงไป โปรแกรมอาร์ คีจะตรวจค้นชื่อแฟ้ มจากฐานข้อมูล และแสดงชื่อแฟ้ มพร้อม
                       ้
9


                           ็                                                   ็
รายชื่อเครื่ องบริ การที่เกบแฟ้ มนั้ นให้ทราบ เมื่อทราบชื่อเครื่ องบริ การแล้วกสามารถใช้โปรแกรมเอฟทีพี
      ่                       ็
เพื่อถายโอนแฟ้ มข้อมูลมาเกบ ลงในคอมพิวเตอร์ของผูใช้ได้ ้
                                                                                      ่
               โกเฟอร์ (Gopher) เป็ นโปรแกรมที่มีรายการหรื อเมนู (Menu) ให้เลือกเพื่อชวยเหลือผูใช้ในการ
                                                                                               ้
                         ี่ ั                    ้ ่
ค้นหาแฟ้ มข้อมูลเกยวกบหัวข้อที่ระบุไว้โดยผูใช้ไมจําเป็ นต้องทราบหรื อใช้รายละเอียดของแฟ้ มข้อมูล
                       ่      ่                                                     ่
ทั้ งสิ้ น ผูใช้เพียงแตเลือกอานในรายการหรื อเมนูที่มีให้เลือก และกดแป้ น Enter เทานั้ น จะพบรายการ ที่
             ้
    ็                                                  ่         ็
เกบไว้ในเมนูปรากฏขึ้ นมามากมาย ผูใช้สามารถเลือกอานหรื อเกบบันทึกแฟ้ มที่ตองการไว้ในคอมพิวเตอร์
                                       ้                                        ้
ของผูใช้ได้เลย
          ้
            เวอร์ โรนิคา (Veronica) เป็ นโปรแกรมค้นหาข้อมูลที่พฒนาขึ้ นมาจากการทํางานของระบบ
                                                               ั
โกเฟอร์ ชวยในการค้นหาข้อมูลที่ตองการโดยไมต้องผานระบบเมนู ตามลําดับขั้ นของโกเฟอร์ เพียงแต่
          ่                         ้          ่       ่
                                                    ี่     ั                       ่
พิมพ์คาสําคัญ (Keyword) ลงไปให้ระบบค้นหาเรื่ องที่เกยวข้องกบคํานั้ น ๆ ขึ้ นมาได้อยางรวดเร็ ว
      ํ
             เวส (WAIS: Wide Area Information Server) เป็ นโปรแกรมสําหรับใช้เป็ นเครื่ องมือที่ช่วย
สื บค้นข้อมูล โดยการค้นจากเนื้ อหาแทนการค้นตามชื่อแฟ้ มข้อมูล จากฐานข้อมูลจํานวนมากที่กระจาย
    ่ ่ั                                                   ี่ ั
อยูทวโลก การใช้งานผูใช้ตองระบุชื่อเรื่ อง หรื อคําหลักที่เกยวกบเนื้ อหาข้อมูลที่ตองการค้น หลังจาก
                             ้ ้                                                     ้
ใช้ค า สั่ ง ค้น หาข้อ มู ล โปรแกรมเวสจะชวยค้น ไปยัง แหลงข้อ มู ล ที่ ต่ อเชื่ อ มกัน อยู่ ใ นอิ น เทอร์ เ น็ ต
         ํ                               ่                   ่
                      ี่         ั
โดยค้นเอกสารที่เกยวข้องตรงกบคําหรื อวลีสาคัญ ที่ผใช้ระบุ มาให้มากที่สุด ผูใช้เลือกแฟ้ มหรื อข้อมูลที่
                                           ํ       ู้                            ้
                   ็
ต้องการบันทึกเกบได้เชนกน   ่ ั
                                                                ่
             เซิ ร์ช เอนจินส์ (Search Engines) เป็ นเครื่ องมือชวยค้นหาข้อมูลในระบบอินเทอร์ เน็ ต
                                                 ่                 ่         ่
ที่ได้รับความนิ ยมมากที่สุดในปั จจุบน โปรแกรมชวยค้นหาซึ่งมีอยูมากมาย เชน Yahoo, Alta Vista, HotBot,
                                      ั
                                   ้                                   ่
Excite และ Google เป็ นต้น ผูใช้สามารถค้นหาข้อมูลสารสนเทศตาง ๆ โดยใช้วิธีพิมพ์คาหรื อข้อความ
                                                                                       ํ
                                                          ่          ่    ี่
ที่เป็ นคําสําคัญเข้าไป โปรแกรมจะแสดงรายชื่อของแหลงข้อมูลตาง ๆ ที่เกยวข้องขึ้ นมา ผูใช้สามารถ
                                                                                           ้
คลิกไปที่รายชื่อต่าง ๆ เพื่อเข้าไปดูขอมูลตามรายการนั้ น ๆ ได้ หรื อจะเลือกค้นจากหัวข้อในหมวดตาง ๆ
                                        ้                                                        ่
(Categories) ที่โปรแกรมได้แสดงไว้เป็ นรายการตาง ๆ โดยเริ่ มจากหมวดที่กว้าง จนลึกเข้าไปสู่ หมวดยอยได้
                                              ่                                                ่

           2.1.5 บริการข้ อมลมัลติมีเดีย เวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web: WWW)
                            ู
                                                                     ่
            WWW เป็ นบริ การบนอินเทอร์ เน็ตที่ได้รับความนิ ยมอยางมาก เนื่ องมาจากลักษณะเดนของ    ่
เวิลด์ไวด์เว็บที่สามารถนําเสนอข้อมูลมัลติมีเดียที่แสดงได้ท้ งตัวหนังสื อ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยง
                                                            ั
         ่                   ่                        ่                                    ิ
ซึ่งมีอยูมากมาย ทําให้เครื อขายคอมพิวเตอร์มีความนาสนใจขึ้ นมาก เป็ นการจุดประกายให้เกดความอยากรู ้
                                                    ่
อยากเห็นขึ้ นในโลกอินเทอร์เน็ต และกลายเป็ นแหลงทรัพยากร ของกระบวนการเรี ยนการสอนที่สนองตอ              ่
                               ่
กระบวนการเรี ยนรู ้ได้เป็ นอยางดี
10


            เทคโนโลยีของ WWW ทําให้โลกไร้พรหมแดน เพราะความสามารถในการเชื่อมโยงข้อมูล
               ่                     ่
จากตําแหนงหนึ่ งไปยังอีกตําแหนงหนึ่ งได้ดวยการคลิกเมาส์ที่จุดเชื่อมโยงเพียงครั้ งเดียว ทําให้สามารถ
                                               ้
                   ี่    ั             ่     ่                      ั
ผูกเรื่ องราวที่เกยวข้องกนจากแหลงข้อมูลตางๆ ทัวทุกมุมโลกเข้าด้วยกนได้ เอกสารบนเครื อขาย WWW
                                                     ่                                      ่
                                   ่
เป็ นเอกสารรู ปแบบพิเศษที่เรี ยกวา HTML (Hyper Text Markup Language) ซึ่ งต้องใช้โปรแกรม
บราวเซอร์ ในการแสดงผล สามารถแสดงได้ท้ งตัวอักษร รู ปภาพ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหว หรื อ วีดิทศน์
                                                   ั                                                ั
                                ็
ไฟล์ภาษา HTML สามารถเกบไว้บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์ ระบบปฏิบติการ(OS) อะไรกได้ การ
                                                                           ั                   ็
เข้าถึงหน้าเอกสาร HTML บนเว็บไซต์ต่างๆ ใช้โปรแกรมบราวเซอร์ (Internet Explorer, Netscape
                                           ่                   ั ่
Navigator, Opera)เราจะต้องทราบที่อยูของเว็บไซต์น้ นๆ ที่เรี ยกกนวา URL (Uniform Resource Locators)
                                                       ั
        ่    ่
เสี ยกอน เชน http://www.nectec.or.th http://www.google.com ตัวอักษร www ที่พิมพ์ลงใน Url คือ
ตัวระบุว่าเรากาลังเรี ยกใช้บริ การ การเปิ ดหน้าเอกสารเว็บเพจแบบข้อมูลมัลติมีเดีย เวิลด์ไวด์เว็บ นันเอง
                 ํ                                                                                ่
                                                 ่                                       ื
ซึ่งการเปิ ดใช้อินเทอร์เน็ตในปั จจุบน เราจะพบวาใช้เทคโนโลยีการให้บริ การแบบ WWW เกอบทั้ งสิ้ น
                                         ั




                      รู ปที่ 1.3 การบริ การมัลติมีเดียในอินเทอร์เน็ต
                      ที่มา : www.mrpalm.com

2.2 จรรยาบรรณการใช้ งานอินเทอร์ เน็ต
                                                     ็
            อินเทอร์ เน็ต เป็ นสื่ อสาธารณะที่ใคร ๆ กสามารถเปิ ดเข้าใช้ได้ทวโลก ดังนั้ นผูใช้บริ การต้อง
                                                                           ่ั             ้
มีจรรยาบรรณและความระมัดระวังในการใช้งาน เพราะนอกจากความปลอดภัยของข้อมูลในเครื่ องแล้วยัง
มีกฎหมายควบคุมพร้อมบทลงโทษไว้ดวย ในเรื่ องจรรยาบรรณการใช้อินเทอร์ เน็ตนี้ ยืน ภู่วรวรรณ
                                          ้
                          ่
(2547: ออนไลน์) ได้กลาวถึงบัญญัติ 10 ประการ ซึ่ งเป็ นจรรยาบรรณที่ผใช้ อินเทอร์ เน็ตพึงยึดถือไว้ เป็ น
                                                                        ู้
    ่                                                               ่ ั
แมบทของการปฏิบติ เพื่อให้การใช้อินเทอร์เน็ตมีประโยชน์และเอื้อตอกนมากที่สุด ดังนี้
                     ั
(ที่มา: http://www.skn.ac.th/a_cd/internet/webucation.html)

                            ่
               1. ต้องไมใช้คอมพิวเตอร์ทาร้าย หรื อละเมิดผูอื่น
                                       ํ                  ้
                          ่
               2. ต้องไมรบกวนการทํางานของผูอื่น
                                              ้
                        ่          ้
               3. ต้องไมสอดแนม แกไข หรื อเปิ ดดูแฟ้ มข้อมูลของผูอื่น
                                                                ้
11


                                ่
                4. ต้องไมใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลขาวสาร ่
                          ่
                5. ต้องไมใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็ นเท็จ
                6. ต้องไมคัดลอกโปรแกรมของผูอื่นที่มีลิขสิ ทธิ์
                                  ่                   ้
                7. ต้องไมละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไมมีสิทธิ์
                            ่                                                ่
                              ่
                8. ต้องไมนําเอาผลงานของผูอื่นมาเป็ นของตน
                                                  ้
                                            ิ       ั
                9. ต้องคํานึงถึงสิ่ งที่จะเกดขึ้ นกบสังคมอันติดตามมาจากการกระทําของทาน ่
               10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท
          ข้อ แนะนํา จรรยาบรรณที่ ค วรเรี ย นรู ้ ท้ ัง การใช้ กฎระเบี ย บ กฎหมายคว บคุ ม การใช้ง าน
คอมพิวเตอร์ นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จากเว็บไซต์ที่เข้าชมทุกเว็บ ซึ่ งผูดูแลเว็บ (Administrator) จะมี
                                                                           ้
ข้อแนะนําการใช้อยู่ทุกเว็บไซต์ สําหรับกฎหมายเกยวกบการควบคุมและบทลงโทษด้านคอมพิวเตอร์
                                                         ี่ ั
ศึกษาได้จาก พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2551 ที่เว็บไซต์:
             http://elearning.medicine.swu.ac.th/news/wp-admin/doc/computer_law.pdf


           3. มาตรฐานการสื่ อสารข้ อมลในเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต
                                     ู

                การสื่ อ สารข้อ มู ล คื อ การนํา ข้อ มู ล จากเครื่ อ งผูส่ ง ผานสื่ อ เชนสายโทรศัพ ท์ สาย UTP
                                                                           ้     ่         ่
            ้                    ่
สายใยแกว หรื อแบบไมต้องใช้สาย (ใช้คลื่นความถี่) ไปยังเครื่ องรั บ ซึ่ งเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในระบบ-
        ่                   ั ่                                    ั
เครื อขายจะทําหน้าที่ท้ งสงและรับ นันคือมีการโต้ตอบกนไปมา วิธีการและเทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูล
                                            ่
                                              ่
นักเรี ยนจะได้เรี ยนในวิชาระบบเครื อขายคอมพิวเตอร์
                               ่                                         ่
                รู ปแบบการสงและควบคุ มข้อมูลในระบบเครื อขายอิ นเทอรเน็ตจะใช้ระบบฐานข้อมูลแบบ
                                                                                               ็
กระจายจากศูนย์ (Client - Server) คือมีเครื่ อง Server ทําหน้าที่รับหรื อบริ การเกบแล้วประมวลผลข้อมูล
  ่              ่                                             ่                       ่
สงไปให้แกเครื่ องผูใช้ (Client) ซึ่งในองค์กรหรื อหนวยบริ การหนึ่ง ๆ (เรี ยกวาHOST) จะใช้ เครื่ อง Server
                          ้
                                                                 ่     ่
หลายเครื่ อง เพื่อให้บริ การผูใช้หรื อ (Client) โดยที่แตละหนวยงานเครื่ องคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบติการ
                                   ้                                                                     ั
          ่         ั                                        ั                     ํ
(OS) ตาง ๆ กน การที่จะให้ระบบสื่ อสารข้อมูลกนได้ จึงต้องมีการกาหนดมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูล
และ วิธีส่ งให้เป็ นแบบเดียวกน เปรี ยบเหมือนการใช้ภาษาเดียวกนยอมสื่ อสารกนรู ้เรื่ อง เราเรี ยกกฎหรื อ
                                     ั                                       ั ่             ั
มาตรฐานนี้ ว่า โปรโตคอล (Protocol) เพื่ อ ให้เ ข้า ใจมาตรฐานการเชื่ อ มตอในเครื อ ขายอิ น เทอร์ เ น็ ต
                                                                                         ่       ่
                                                                     ่
นักเรี ยนควรทําความเข้าใจความหมาย และหน้าที่ของคําวา Protocol , IP , DNS และ Url ที่เกยวข้องกบ        ี่    ั
การเชื่อมตอเข้าสู่ เครื อขายอินเทอร์เน็ตโดยสังเขปกอน ดังนี้
              ่              ่                             ่
3.1 โปรโตคอล ( Protocol )
                                               ํ                                      ่
         โปรโตคอล (Protocol) คือระเบียบวิธีที่กาหนดขึ้ นสําหรับการสื่ อสารข้อมูล ระหวางเครื่ อง
                        ่           ่ ่                          ่                ็ ํ
คอมพิวเตอร์ในระบบเครื อขายให้สามารถสงผานข้อมูลไปยังปลายทางได้อยางถูกต้อง หรื อกคือกาหนดให้
12


โปรแกรมที่จะนํามาใช้ส่ ง – รับ ข้อมูลในเครื อขายอินเทอร์เน็ต จะต้องมีเพื่อให้สามารถใช้ สง – รับข้อมูล
                                                   ่                                        ่
                                       ํ
(ข้อมูลเว็บเพจ) ได้นนเอง โดยได้กาหนดมาตรฐานจําเป็ นที่โปรแกรมจะต้องใช้เหมือนกนไว้ 4 ข้อ
                       ่ั                                                               ั
คือ 1. ชนิดของการตรวจสอบข้อผิดพลาดที่จะใช้ 2. วิธีบีบอัดข้อมูล (ถ้ามี) 3. วิธีที่ระบบที่ส่ งข้อมูลรับรู ้วา
                                                                                                          ่
มันได้ส่ งข้อมูลเสร็ จแล้ว และ 4. วิธีที่ระบบที่รับข้อมูลรับรู ้วามันได้รับข้อมูลแล้ว
                                                                  ่
                                                     ่              ่
            โปรโตคอลที่ใช้เป็ นมาตรฐานการติดตอบนเครื อขายอินเทอร์เน็ตในปั จจุบน คือ TCP/IP
                                                                                      ั
โดยโปรโตคอล TCP/IP มีโปรโตคอลทํางานรวมกนสองสวนคือ่ ั          ่
             TCP จะทําหน้าที่ในการตรวจสอบการรับ-สงข้อมูลวาถูกต้องหรื อไม่ หากมีขอมูลที่ส่ งไป
                                                                ่        ่                    ้
สูญหายระบบตรวจสอบจะแจ้งไปยังต้นทางให้ส่ งข้อมูลนั้ นมาใหม่
             IP จะทําหน้าที่ในการเลือกเส้นทางสงข้อมูลไปยังหมายเลขที่อยู่ที่ระบุ และตรวจสอบที่อยู่
                                                       ่
                     ั               ่       ่           ั            ่
ของผูรับต้องตรงกบหมายเลขที่อยูที่ระบุ เชนเดียวกบระบบการสงจดหมายของไปรษณี ย ์ ถ้าตรงกน กสง
       ้                                                                                          ั ็ ่
                ่ ็ ่
ข้อมูลให้ ถ้าไมตรงกจะผานไป

3.2 ไอพีแอดเดรส ( IP: Internet Protocol Address)
                                                 ั           ่
                  ไอพีแ อดเดรส หรื อที่ เ รี ย กกนสั้ น ๆ วา ไอพี (IP) คื อ หมายเลขที่ ร ะบุ ไ ว้ประจําเครื่ อ งหรื อ
                      ่      ั             ่                   ่
อุปกรณ์ที่จะตอเข้ากบระบบเครื อขายคอมพิวเตอร์ เชน เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องเราท์เตอร์ เครื่ องแฟกซ์
          ั                                                          ่ ิ              ั
คล้ายกบหมายเลขโทรศัพท์ที่จะมีหมายเลขเฉพาะตัวเพื่อไมให้เกดการซํ้ ากน ปั จจุบนไอพีที่ใช้เป็ นเวอร์ชน
                                                                                              ั                     ั
4 (IPv4) หมายเลขไอพีจะใช้เลขฐานสองจํานวน 32 บิต ( 232) แยกการเขียนออกเป็ นชุดจํานวน 4 ชุด
แตละชุดจะใช้เลขฐานสองจํานวน 8 บิต คันด้วยจุด (.) คือ 28.28.28.28 เนื่ องจากคนสวนใหญ่ จะคุนเคยกบ
      ่                                              ่                                          ่             ้       ั
ระบบเลขฐานสิ บ จึงแปลงเลขฐานสองให้แสดงผลเป็ นเลขฐานสิ บมีค่าตั้ งแต่ 0-255.0-255.0-255.0-255
        ่                        ่
ตัวอยางหมายเลขไอพี เชน 203.146.15.9 เป็ น IP ของกระทรวงศึกษาธิการ
                         ํ                                            ํ
                  การกาหนดเลขหมาย IP Address จะมีวิธีการกาหนดและกฎเกณฑ์ที่รัดกุม ผูใช้ที่อยากจัดตั้ ง ้
                                               ่                                 ่
Server หรื อ Web Host เพื่อเชื่อมตอเข้าอินเตอร์เน็ต และบริ การตาง ๆ ต้องขอเลขหมาย IP Address ที่
Internet Network Information Center (InterNIC) ขององค์กร Network Solution Incorporated ที่
รั ฐ เวอร์ จิ เ นี ย สหรั ฐ อเมริ ก า แต่ ใ นทางปฏิ บ ัติผูใ ช้ต ้อ งสมัค รเข้า เป็ นสมาชิ ก ขอใช้บ ริ ก ารจากบริ ษ ัท
                                                           ้
                                                                                        ํ
ผูให้บริ การ ISP ซึ่งรับสัมปทานหมายเลข IP Address มาแล้ว ISP จะกาหนดหมายเลข IP ให้ใช้ หรื อ
    ้
   ่ ่                                             ่ ั
สงคา IP ชัวคราวให้ใช้งานได้ ทั้ งนี้ ข้ ึนอยูกบการขอใช้รูปแบบของการบริ การ
                ่
                  ปั จจุบนได้มีการคิดพัฒนาหมายเลขไอพีจากเวอร์ชน 4 เป็ นเวอร์ชน 6 ไอพีเวอร์ชนที่ 6 (IPv6)
                           ั                                            ั                 ั               ั
ในมาตรฐานของเวอร์ชน 6 จะใช้ระบบ 128 บิต (2128) เพื่อเพิ่มจํานวนหมายเลข IP ที่กาลังจะไมพอใช้
                               ั                                                                  ํ         ่
13


3.3 ระบบชื่อโดเมน (DNS: Domain Name System)
            เนื่องจากเครื อขายอินเทอร์เน็ตมีเว็บไซต์จานวนมาก การเข้าสู่ เว็บไซต์จะต้องระบุหมายเลข IP
                               ่                     ํ
                                                                                                   ํ
ของเครื่ อง Server ที่ทาหน้าที่เป็ น Host ให้ถูกต้อง แต่การจําหมายเลข IP เป็ นเรื่ องยากจึงมีการกาหนด
                           ํ
               ้                                                                     ่
แนวทางแกปั ญหาด้วยการตั้ งชื่ อหรื อใช้ตวอักษรขึ้ นมาแทนที่หมายเลข IP เชน หมายเลข IP คือ
                                           ั
                                                                                 ่     ่
203.146.15.9 แทนที่ดวยชื่อเป็ น moe.go.th จะทําให้ผใช้บริ การสามารถจําได้แมนยํากวา การแทนที่ชื่อ
                         ้                               ู้
                     ่                                                             ็
หมายเลข IP เรี ยกวา Domain Name System (DNS) ในการออกแบบระบบการจัดเกบชื่อ DNS ตามเลข IP
มีมาตรฐานการจัดเป็ นลําดับโครงสร้างของฐานข้อมูล Domain Name แบบ Top-down (ซึ่ งกาหนดและ       ํ
ควบคุมโดย InterNIC :Internet Network Information Center) คือในระดับบนสุ ดจะมีความหมายบอกถึง
ประเภทขององค์กร หรื อชื่ อประเทศที่เครื อขายตั้ งอยู่ ชื่ อ Domain จะใช้ตวอักษรเล็กหรื อใหญกได้
                                                 ่                             ั                     ่ ็
     ่                                                 ่                     ่
แตนิ ยมใช้อกษรเล็ก จากระดับบนสุ ดลงมา เป็ นหนวยงาน ซึ่ งใช้อกษรตัวยอแทนความหมาย แล้วแต่
                 ั                                                 ั
             ํ               ่               ่ ่
ผูจดตั้ งจะกาหนดขึ้ น แตละระดับจะถูกแบงคันด้วยเครื่ องหมายจุด (Dot) การดูระดับ จากบนลงลางให้ดู
  ้ั                                                                                             ่
                                 ่                               ่
จากด้านขวามาซ้าย ดังตัวอยางรู ปที่ 1.4 สําหรับประเทศไทยหนวยงานที่รับผิดชอบการจดโดเมน คือ
                       ่
ศูนย์สารสนเทศเครื อขายประเทศไทย(THNIC, Thailand Network Information Center)




                                                                                ระบุที่ตงและ
                                                                                        ั
              ระบุตามจุดประสงค์
                                                                                 จุดประสงค์
                  ขององค์กร              ตัวอย่ างการเขียน                       ขององค์กร




            รู ปที่ 1.4 แสดงการจัดลําดับโครงสร้างของฐานข้อมูล Domain Name
            ที่มา : http://wiki.nectec.or.th/ru/IT630_1_2008Students/NaManaSlideDNS
14


         รปแบบการจัดแบ่ งระดับโครงสร้ างของระบบ DNS มีดงนี้
          ู                                            ั
                                                                                             ่
        โดเมนระดับที่ 1 หรื อระดับบนสุ ด(Top Level)จะใช้โค้ดที่เป็ นตัวอักษร 2-4 ตัว เพื่อบงบอก
จุดประสงค์หรื อหน้าที่หลักขององค์กรนั้ น ๆ หรื อประเทศที่ต้ งขององค์กร ดังตารางที่แสดงดังนี้
                                                            ั
                 ่
           ตัวอยางแบบจุดประสงค์หรื อหน้าที่หลักขององค์กร

        โดเมน                     หน่ วยงานหรือประเภทองค์ กร
        .com                                 ํ ี่ ั
                                  องค์กรที่ทาเกยวกบการพาณิ ชย์
        .edu                         ํ            ั
                                  กาหนดให้กบสถานศึกษาในประเทศสหรัฐ ฯ
        .gov                           ํ              ่
                                  กาหนดให้หนวยงานราชการของรัฐบาลสหรัฐ ฯ
        .info                                           ่
                                  องค์กรที่ใช้ขอมูลขาวสาร
                                                    ้
        .int                      องค์กรนานาชาติ
        .mil                       ํ            ั
                                  กาหนดให้กบทหารของประเทศสหรัฐ ฯ
        .net                                ํ ี่ ั             ่
                                  องค์กรที่ทาเกยวกบระบบเครื อขาย
        .org                                  ่
                                  องค์กรที่ไมต้องการกาไร  ํ

               ่
          ตัวอยางบอกที่ต้ ง(ประเทศ)
                          ั

              โดเมน                                  หน่ วยงานหรือประเภทองค์ กร
                .th                   ่
                              หนวยงานที่ต้ งในประเทศไทย
                                                   ั
                .jp                 ่
                              หนวยงานที่ต้ งในประเทศญี่ปุ่น
                                                 ั
                .au               ่
                              หนวยงานที่ต้ งในประเทศออสเตรเลีย
                                             ั
               .uk                      ่
                              หนวยงานที่ต้งในประเทศอังกฤษ
                                               ั
               .tw              ่
                              หนวยงานที่ต้ งในประเทศไต้หวัน
                                           ั

         โดเมนระดับที่ 2 เป็ นการเพิ่มชื่อหนวยงานลงในระดับประเทศ โดยโดเมนที่บ่งบอกประเทศ
                                            ่
     ่                                                      ่
จะอยูขวาสุ ด และถัดมาจะเป็ นตัวอักษร 2-3 ตัวของชื่อองค์กร เชน ac.th

              โดเมน                            หน่ วยงานหรือประเภทองค์ กร
                .ac                        ่
                              หมายถึงหนวยงานที่เป็ นสถานศึกษา
               .go                       ่              ่
                              หมายถึงหนวยงานที่เป็ นหนวยงานราชการ
                .or                          ่                 ่
                              หมายถึงหนวยงานที่เป็ นองค์กรที่ไมแสวงหาผลประโยชน์
                .co                    ่              ่
                              หมายถึงหนวยงานที่เป็ นหนวยงานเอกชน
15


         ตําแหน่ งอ้ างอิงของเว็บไซต์ (URL: Universal Resource Locator)
          การที่เราจะเรี ยกใช้เว็บไซต์ใดๆ เราจะต้องทราบถึงที่อยู่บนอินเทอร์ เน็ตของเว็บไซต์น้ ันๆ
      ่      ่                                      ่             ่
ตําแหนงที่อยูบนอินเทอร์เน็ตของเว็บไซต์น้ ีเราเรี ยกวา URL ดังตัวอยางรู ปที่ 1.5




                   รู ปที่ 1.5 แสดงการระบุตาแหนง Url เพื่อเข้าสู่ เว็บไซต์ google
                                           ํ   ่

          โครงสร้ างของ Url ประกอบด้ วย
                          ่
          โปรโตคอลเชื่อมตอ + โปรโตคอลที่ใช้บริ การ + Sub domains + Top Level Domain
        ่
ดังตัวอยาง ดังรู ปที่ 1.6

                                  http://www.rtc.ac.th
             โปรโตคอลเชื่อมต่ อ + โปรโตคอลทีใช้ บริการ + Sub domains + Top Level Domain
                                            ่
                          รู ปที่ 1.6 แสดงโครงสร้างและวิธีเขียนที่ตองระบุใน Url
                                                                   ้
Unit1new (1)
Unit1new (1)

More Related Content

What's hot

คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตSamart Phetdee
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตเขมิกา กุลาศรี
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตohhomm
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตburin rujjanapan
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13paween
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตPrapatsorn Keawnoun
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการPrapaporn Boonplord
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅWatinee Poksup
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตprimpatcha
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์4971
 

What's hot (15)

คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่อง เรื่องอินเทอร์เน็ต
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นอินเตอร์เน็ต
 
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ตคุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
คุยเฟื่องเรื่องอินเทอร์เน็ต
 
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตบริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
บริการและประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
 
บทที่+1 3..
บทที่+1 3..บทที่+1 3..
บทที่+1 3..
 
Internet 13
Internet 13Internet 13
Internet 13
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ตหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการอินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
อินเทอร์เน็ตเพื่องานเลขานุการ
 
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ตบทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
บทเรียน เรื่องอินเตอร์เน็ต
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅจรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
จรรยาบรรณการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศๅ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตบทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

Rod Run to the Beach 2015
Rod Run to the Beach 2015Rod Run to the Beach 2015
Rod Run to the Beach 2015ColBchVAttracts
 
金鑫电气商业计划书(20110323update)
金鑫电气商业计划书(20110323update)金鑫电气商业计划书(20110323update)
金鑫电气商业计划书(20110323update)lus2828
 
What is transfer factor
What is transfer factorWhat is transfer factor
What is transfer factorsehat4life
 
Pregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based Tips
Pregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based TipsPregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based Tips
Pregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based TipsRavi Kuchiya
 
Kuesioner penyapihan penelitian ii
Kuesioner penyapihan penelitian iiKuesioner penyapihan penelitian ii
Kuesioner penyapihan penelitian iiMiftahuddin Saja
 
Rod Run to the Beach 2012
Rod Run to the Beach 2012Rod Run to the Beach 2012
Rod Run to the Beach 2012ColBchVAttracts
 
Bikefest Colonial Beach, VA 2015
Bikefest Colonial Beach, VA 2015Bikefest Colonial Beach, VA 2015
Bikefest Colonial Beach, VA 2015ColBchVAttracts
 
Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013
Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013
Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013ColBchVAttracts
 
Potomac River Festival Grand Feature Parade
Potomac River Festival Grand Feature ParadePotomac River Festival Grand Feature Parade
Potomac River Festival Grand Feature ParadeColBchVAttracts
 
Common vocabulary project in japan
Common vocabulary project in japanCommon vocabulary project in japan
Common vocabulary project in japanKenji Hiramoto
 

Viewers also liked (15)

Rod Run to the Beach 2015
Rod Run to the Beach 2015Rod Run to the Beach 2015
Rod Run to the Beach 2015
 
Pearlann Golf
Pearlann GolfPearlann Golf
Pearlann Golf
 
金鑫电气商业计划书(20110323update)
金鑫电气商业计划书(20110323update)金鑫电气商业计划书(20110323update)
金鑫电气商业计划书(20110323update)
 
What is transfer factor
What is transfer factorWhat is transfer factor
What is transfer factor
 
Pregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based Tips
Pregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based TipsPregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based Tips
Pregnancy Heartburn Relief with Simple Home Based Tips
 
Kuesioner penyapihan penelitian ii
Kuesioner penyapihan penelitian iiKuesioner penyapihan penelitian ii
Kuesioner penyapihan penelitian ii
 
Dew
DewDew
Dew
 
Rod Run to the Beach 2012
Rod Run to the Beach 2012Rod Run to the Beach 2012
Rod Run to the Beach 2012
 
Nimkii Benishii
Nimkii BenishiiNimkii Benishii
Nimkii Benishii
 
Boardwalk Art Panels
Boardwalk Art PanelsBoardwalk Art Panels
Boardwalk Art Panels
 
Bikefest Colonial Beach, VA 2015
Bikefest Colonial Beach, VA 2015Bikefest Colonial Beach, VA 2015
Bikefest Colonial Beach, VA 2015
 
Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013
Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013
Potomac River Festival Grand Feature Parade 2013
 
Potomac River Festival Grand Feature Parade
Potomac River Festival Grand Feature ParadePotomac River Festival Grand Feature Parade
Potomac River Festival Grand Feature Parade
 
Common vocabulary project in japan
Common vocabulary project in japanCommon vocabulary project in japan
Common vocabulary project in japan
 
Angels & Demons
Angels & DemonsAngels & Demons
Angels & Demons
 

Similar to Unit1new (1)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตSutin Yotyavilai
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตSarocha Makranit
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1Thanggwa Taemin
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)Prapatsorn Keawnoun
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรChalita Vitamilkz
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์pattanan_hansuek
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตYongyut Nintakan
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอรMiw Inthuorn
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำNew Tomza
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1Pp'dan Phuengkun
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)Prapatsorn Keawnoun
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องWilaiporn Seehawong
 

Similar to Unit1new (1) (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ตความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเตอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
อินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ตอินเทอร์เน็ต
อินเทอร์เน็ต
 
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.101 บทที่ 1-บทนำ 1.1
01 บทที่ 1-บทนำ 1.1
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไขแล้ว)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมรแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ครูสมร
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Lernning 05
Lernning 05Lernning 05
Lernning 05
 
Internet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้นInternet เบื้องต้น
Internet เบื้องต้น
 
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ตงานนำเสนอ อินทรอเน็ต
งานนำเสนอ อินทรอเน็ต
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
อินทุอร
อินทุอรอินทุอร
อินทุอร
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
Lernning 09
Lernning 09Lernning 09
Lernning 09
 
อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1อินเทอร์เน็ต5.1
อินเทอร์เน็ต5.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)หน่วยการเรียนรู้ที่ 4  อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 อินเทอร์เน็ต(แก้ไข)
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
11111111111
1111111111111111111111
11111111111
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Unit1new (1)

  • 1. หน่ วยการเรี ยนที 1 การทํางานของระบบเว็บเพจ สาระการเรียนร้ ู เว็ บ เพจเป็ นข้อ มู ล เอกสารอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ที่ ดู ไ ด้จ ากโปรแกรมเว็ บ บราวเซอร์ ซ่ ึ งใช้เ ปิ ด อินเทอร์ เน็ต ในการเรี ยนรู ้ระบบการทํางานของเว็บเพจ เพื่อให้นกเรี ยนที่จะศึกษาการสร้างเว็บเพจได้ ั ่ ่ ่ ทําความเข้าใจกอนวา เราสร้างเว็บเพจไปใช้ที่ไหน รู ปแบบการใช้งานเป็ นอยางไร มีขอแนะนําควรระวัง ้ ี่ ั ่ อะไรบ้าง นักเรี ยนจึงต้องมีความพื้นฐานรู ้เกยวกบระบบเครื อขายอินเทอร์ เน็ต เข้าใจระบบการเชื่อมโยง ่ ่ เอกสารเว็บในเครื อขายอินเทอร์เน็ต รู ปแบบการใช้บริ การตาง ๆในอินเทอร์เน็ต รวมทั้ งจรรยาบรรณและ คําแนะนําการใช้งาน ที่ควรทราบ ซึ่ งเป็ นการปูพ้ืนฐานความรู ้ก่อนที่จะเรี ยนรู ้การสร้างเว็บในหนวยการ ่ ่ เรี ยนตอไป ผังความคิด (Mind Mapping) 2.1 รูปแบบการให้ บริการ 2.2 จรรยาบรรณและข้ อแนะนําการใช้ ’ ่ 2. การใช้บริ การตาง ๆ ในอินเทอร์เน็ต 1. ความรู้พืนฐานเกี่ยวกับอินเทอร์ เน็ต การทํางานของระบบเว็บเพจ ่ 3. มาตรฐานการสื อสารข้อมูลในเครื อขายอินเทอร์เน็ต 3.1 โปรโตคอล 3.2 ระบบ IP 3.3 ระบบ Domain name
  • 2. 2 จดประสงค์ การเรียนรู้ ุ ่ เมื่อนักเรี ยนเรี ยนจบหนวยการเรี ยนนี้ แล้ว นักเรี ยนคงจะมีความรู ้ความสามารถดังนี้ 1. บอกความหมายและความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต ได้ 2. บอกรูปแบบของการให้ บริ การในอินเทอร์ เน็ตได้ 3. บอกสิงที่ควรระวังและข้ อควรปฏิบตในการใช้ งานอินเทอร์ เน็ตได้ ่ ัิ 4. บอกมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูลในอินเทอร์เน็ต 5. บอกความหมายและความสําคัญของโปรโตคอล ได้ 6. บอกความหมายและความสําคัญของไอพี( IP) ได้ 7. บอกความหมายและการใช้งานโดเมนเนม(DNS) ได้ 8. สามารถใช้งานอินเทอร์เน็ตค้นหาข้อมูลได้ ่ 9. สามารถสงข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตโดย อีเมล์ได้
  • 3. 3 การทํางานของระบบเว็บเพจ การสร้างเว็บเพจ เพื่อนําผลงานไปแสดงผลในอินเทอร์เน็ต นักเรี ยนจึงต้องมีความรู ้ และความ ่ ่ ่ เข้าใจการทํางานของระบบเว็บเพจ กอนวาเราสร้างงานไปใช้ในสวนใดของระบบ และจะแสดงผลได้ ่ อยางไร ดังมีหวข้อดังนี้ ั 1. ความรู้ พนฐานเกียวกับอินเทอร์ เน็ต ื้ ่ ่ ่ อินเทอร์ เน็ต(Internet)เป็ นระบบเครื อขายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญที่ครอบคลุมไปทัวโลก เป็ น ่ ่ ่ ั การนําเครื อขายระดับแวนหลาย ๆ เครื อขายมารวมเข้าด้วยกน เพื่ออํานวยความสะดวกในการให้บริ การ ่ ่ ่ ข้อมูลขาวสาร Internet เป็ นคํายอของ Inter connection network หมายถึงเครื อขายคอมพิวเตอร์ที่ใหญ่ ที่สุดในโลก การทํางานของอินเทอร์ เน็ตจะอยู่ภายใต้กฎมาตรฐานหรื อโปรโตคอลเดี ยวกนทัวโลก 3 ั ่ มาตรฐาน คือ อินเทอร์ เน็ตโปรโตคอล (Internet Protocol :IP) ซิ มเปิ ลเมล์ทรานซ์เฟอร์ โปรโตคอล (Simple Mail Transfer Protocol:SMTP) และ โดเมนเนมซีสเต็ม(Doman Name System:DNS) ทําให้ ่ ่ เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมตอเข้าระบบทุกระบบสามารถติดตอรับ-สงข้อมูลกนได้ ่ ั ่ ่ ่ การแสดงข้อมูลขาวสาร สารสนเทศตาง ๆ ในเครื อขายอินเทอร์เน็ตที่แสดงทางจอคอมพิวเตอร์ ่ หรื ออุปกรณ์แสดงผลอื่น ๆ เชน โทรศัพท์มือถือ แฟกซ์ ฯลฯ เป็ นข้อมูลเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ที่อาจมีท้ ง ั ข้อมูลที่เป็ นข้อความ รู ปภาพ เสี ยง หรื อวิดีโอ เราเรี ยกชื่อเอกสารอิเล็กทรอนิ กส์น้ ี ว่า เอกสารเว็บ โดย ่ ่ ้ จะ เรี ยกสั้ น ๆ วา “เว็บเพจ” ด้วยเหตุที่เว็บเพจเหลานี้ ตองนําไปแสดงในอินเทอร์ เน็ต ที่ผชมทัวทั้ งโลก ู้ ่ สามารถเข้าชมได้ อี กทั้ งต้องมี ข้อความ รู ปภาพ เสี ยง วิดีโอ นอกจากนี้ ย งต้องสามารถติ ดตอสื่ อสาร ั ่ ่ ั ่ ระหวางกนได้อีกด้วย การสร้างหน้าเว็บเพจจึงต้องใช้ความรู ้ ความสามารถมากกวาการสร้างหน้าเอกสาร ่ ธรรมดาทัวไปและการที่มีความต้องการใช้งานมาก การสร้างคอนข้างยาก อาชีพการสร้างเว็บจึงเป็ นอาชีพ ่ ที่สร้างรายได้สูงจึงเป็ นอาชีพที่น่าเรี ยนรู ้ที่สาคัญอาชีพหนึ่งในโลกไอทียคปัจจุบน ํ ุ ั 1.1 ประวัตความเป็ นมาของอินเทอร์ เน็ต ิ ่ ่ อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ นเครื อ ขายคอมพิ ว เตอร์ ที่ เริ่ ม กอตั้ ง โดย กระทรวงกลาโหมสหรั ฐ อเมริ ก า ่ ั รวมกบมหาวิยาลัยในมลรัฐแคลิฟอร์ เนี ย ประมาณปี ค.ศ. 1969(พ.ศ.2512) สาเหตุสาคัญเนื่ องมาจาก ํ ่ ่ ั ระหวางนั้ น มี ส งครามเย็น ระหวางฝ่ ายคอมมิ ว นิ ส ต์นํา โดยรั ส เซี ย กบฝ่ ายเสรี ป ระชาธิ ป ไตยนํา โดย ่ ่ ่ สหรัฐอเมริ กา โดยแตละฝ่ ายตางระวังขีปนาวุธที่อาจยิงถลมจุดยุทธศาสตร์ สหรัฐฯ กลัววาหากศูนย์ ่ ควบคุมคอมพิวเตอร์ ถูกทําลายจะทําให้ขอมูลเสี ยหายจึงคิดสร้างศูนย์คอมพิวเตอร์ ออกเป็ นหลายจุดและ ้ ั ็ สามารถเชื่ อ มโยงข้อ มู ลเข้า หากนได้ท้ ง หมด หากศูน ย์คอมพิว เตอร์ ใ ดถูก ทํา ลาย กสามารถ ใช้ศู น ย์ ั
  • 4. 4 ั คอมพิวเตอร์ อื่นซึ่ งมีขอมูลเหมือนกนได้ จึงได้มอบหมายให้มหาวิยาลัยในมลรัฐแคลิฟอร์ เนี ย 4 แหง ้ ่ ่ ั ่ รวมกนทําการวิจยทดลองสร้ างเครื อขายคอมพิวเตอร์ สามารถเชื่ อมโยงข้อมูลเข้าหากน โดยให้หนวย ั ั ่ งานวิจยทางทหารชื่อ อาร์ปา (ARPA : Advanced Research Project Agency ) เป็ นผูรับผิดชอบ ใช้ชื่อใหม่ ั ้ ่ วา ARPAnet (Advanced Research Project Agency Network) เมื่อโครงการทดลองสําเร็ จ โครงการ ่ ARPAnet จึงเปลี่ยนชื่อใหม่เป็ น DARPAnet ถือเป็ นเครื อขายที่ใช้งานจริ ง มหาวิทยาลัยตาง ๆ ใน ่ ่ ่ ั สหรัฐอเมริ กาได้ขอเข้ารวมโครงการและขอเชื่อมตอระบบคอมพิวเตอร์เข้ากบเครื อขาย DAPAnet เพื่อใช้ ่ ในการศึกษาและวิจยมากขึ้ น ในปี ค.ศ.1975 (พ.ศ.2518) DARPAnet ได้โอนหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง ั ่ ให้แก่ หนวยการสื่ อสารของกองทัพสหรัฐ (Defense Communications Agency ปั จจุบนคือ Defense ั ่ ่ ิ Information’s Systems Agency) เมื่อเครื อขายขยายใหญมากทําให้เกดปั ญหาความปลอดภัย ในปี ค.ศ. ่ 1983 ทางการทหารของสหรัฐอเมริ กาจึ งแยกเครื อขายเฉพาะของกองทัพออกมาบริ หาร โครงการ ่ ่ ่ DARPAnet จึงแบงเป็ น 2 เครื อขายคือ ด้านงานวิจยใช้ชื่อ ดาร์ปาเน็ต สวนเครื อขายของกองทัพใช้ชื่อ ั ่ ํ มิลเน็ต (MILNET: Military Network) และเพื่อกาหนดมาตรฐานการสร้างข้อมูล สารสนเทศตางๆ ให้ทุก ่ ่ ่ ั เครื อขายสามารถรับ-สงข้อมูลกนได้ใน ค.ศ.1983 (พ.ศ.2526) DARPAnet ได้ประกาศใช้ โปรโตคอล TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internet Protocol) เป็ นมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูลในอินเทอร์ เน็ต DARPAnet ได้ทาหน้าที่รับผิดชอบดูแลระบบอินเทอร์เน็ตเรื่ อยมาจนถึง ค.ศ.1980 (พ.ศ.2533) จึงให้ ํ ่ มูลนิ ธิวิทยาศาสตร์ แหงชาติ (National Science Foundation - NSF) เข้ามาดูแลแทนรวม กบอีกหลาย ่ ั ่ ่ ่ ่ ่ หนวยงาน นับตั้ งแตนั้ นมาได้มีเครื อขายยอยของสถาบันและองค์กรตางๆ ทั้ งในประเทศสหรัฐอเมริ กา ่ ่ และประเทศตางๆ ที่มีความสัมพันธ์ เข้ามาเชื่ อมตอเพิ่มขึ้ นไปเรื่ อย ๆ ความต้องการใช้อินเทอร์ เน็ตได้ ่ ่ เพิ่มขึ้ นอยางรวดเร็ วจนปั จจุ บนเครื อขายอิ นเทอร์ เน็ตได้ครอบคลุมไปทัวโลกในการควบคุมจํานวนใช้ ั ่ ่ ั ่ หมายเลขไอพีประจําเครื่ องที่ ไมซํ้ ากนซึ่ งสหรัฐอมริ กาจะเป็ นผูควบคุมให้เทานั้ น การที่ "ไอพี" หรื อ ้ ่ อินเทอร์เน็ตโปรโตคอล เป็ นสวนที่ใช้ควบคุมเครื่ องคอมพิวเตอร์ในระบบและเป็ นมาตรฐานการเชื่อมตอ ่ ่ ่ ่ ่ สําคัญของเครื อขายอินเทอร์เน็ตจึงใช้ชื่อเรี ยกเครื อขายนี้แบบยอวา "อินเทอร์เน็ต" มาจนปัจจุบน ั (ที่มา : http://www.krujongrak.com/internet/internet.html) รูปที่ 1.1 แสดงเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต ที่มา : www. school.obec.go.th
  • 5. 5 1.2 อินเทอร์ เน็ตในประเทศไทย ่ ่ ประเทศไทยมีการติดตอใช้งานอินเทอร์เน็ตตั้ งแตปี พ.ศ.2530 ในลักษณะการใช้บริ การจดหมาย อิเล็กทรอนิ กส์หรื ออีเมล์ เป็ นการติดตอระหวางมหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ (PSU) ่ ่ ่ และสถาบันเทคโนโลยีแหงเอเชียหรื อสถาบันเอไอที (AIT) การติดตออินเทอร์เน็ตของทั้ งสองสถาบันเป็ น ่ ่ การใช้บริ การจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยความรวมมือกบประเทศออสเตรเลีย ตามโครงการ IDP ซึ่งเป็ น ั ่ ่ การติดตอเชื่อมโยงเครื อขายด้วยสายโทรศัพท์ จนกระทังปี พ.ศ.2531 มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์วิทยา ่ เขตหาดใหญ่ ได้ยื่น ขอที่ อยู่อิ น เทอร์ เ น็ ต (Url) ในประเทศไทย และได้รั บ ที่ อ ยู่อิ น เทอร์ เ น็ ต ใช้ชื่ อ วา ่ ่ ่ Sritrang.psu.th ซึ่งนับวาเป็ น Url แหงแรกของประเทศไทย ตอมาปี พ.ศ.2534 บริ ษท DEC (Thailand) ่ ั ั ิ จํากด ได้ขอ Url เพื่อใช้ในกจกรรมของบริ ษท และได้รับ Url เป็ น dect.co.th ถือเป็ นการใช้ในภาคธุรกจ ั ิ รายแรก ปี พ.ศ.2535 นับว่าเป็ นปี ที่อินเทอร์ เน็ตเข้ามาในประเทศไทยอยางเต็มตัว กลาวคือจุฬาลงกรณ์ ่ ่ ่ ่ มหาวิทยาลัยได้จดตั้ งเครื อขายคอมพิวเตอร์ข้ ึนและได้เชาสายลีสไลน์ (leased line) ซึ่ งเป็ นสายความเร็ วสู ง ั ่ ั ่ ั ่ เพื่อเชื่อมตอกบอินเทอร์ เน็ต โดยเชื่อมตอเข้ากบเครื อขาย ยูยเู น็ต (UUNET) ของบริ ษท ยูยเู น็ตเทคโนโลยี ั ั ่ จํากด (UUNET Technologies Co., Ltd.) ตั้ งอยูที่มลรัฐเวอร์จิเนียประเทศสหรัฐอเมริ กา ตั้ งชื่อเครื อขายวา ่ ่ ่ จุฬาเน็ต (ChulaNet) มีสถาบันการศึกษาขอเชื่อมตอเครื อขายอินเทอร์ เน็ตผานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ่ ่ ได้แก่ สถาบันเอไอที มหาวิทยาลัยมหิ ดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า วิทยาเขตเจ้าคุณทหารลาดกระบัง และมหาวิทยาลัยอัสสัมชัญบริ หารธุรกจ ใช้ชื่อเครื อขายนี้ ว่าเครื อขาย ิ ่ ่ ่ "ไทยเน็ต" (THAInet) ปั จจุบนเครื อขายไทยเน็ตประกอบด้วยสถาบันการศึกษาเพียง 4 แหงเทานั้ น ั ่ ่ ่ ่ เนื่องจากสวนใหญย้ายการเชื่อมโยงมาที่เนคเทค (NECTEC) เครื อขายไทยเน็ตนับเป็ นเครื อขายที่มีเกตเวย์ ่ ่ (gateway) หรื อประตูสู่เครื อขายอินเทอร์เน็ตเป็ นแหงแรกของประเทศไทย ปี พ.ศ.2535 เนคเทคได้จดตั้ ง ่ ่ ั กลุ่มจดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการศึกษาและวิจยโดยมีชื่อวา NWG : NECTEC E-mail Working Group ั ่ ่ ่ ่ ได้จดตั้ งเครื อขายชื่อวา ไทยสาร เครื อขายไทยสารได้พฒนาอยางตอเนื่องการที่มีความต้องการ ในการใช้ ั ั ่ ่ ่ อินเทอร์เน็ตมากขึ้ น ในปี พ.ศ. 2537 การสื่ อสารแหงประเทศไทย (กสท.) ซึ่ งดูแลการให้บริ การชองทาง ่ การสงข้อมูลในระบบเครื อขาย (Bandwidth) จึงได้ร่ วมมือกบบริ ษทเอกชนเปิ ดบริ การอินเทอร์ เน็ตให้แก่ ่ ่ ั ั ่ ่ ั บุคคลและผูสนใจทัวไป ตอมามีการให้สัมปทานแกบริ ษทเพื่อให้รับชวงการบริ การดูแลหมายเลข IP ขึ้ น ้ ่ ่ ั ้ ่ บริ ษทผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์ เรี ยกวา ISP (Internet Service Provider) ปั จจุบนประเทศไทยมี ั ้ ํ ่ ผูให้บริ การอินเทอร์เน็ตเชิงพาณิ ชย์จานวน 18 แหง คือ A-Net, Asia Access, AsiaNet, CS-Coms, CWN, FarEast, IDN, JI-Net, Internet Thailand, KSC, Line Thai, Loxinfo, Samart, SGA, WorldNet, EZNet, RoyNet, และ CWT และศูนย์บริ การอินเทอร์ เน็ตเพื่อการศึกษาและวิจยจํานวน 5 ศูนย์ ได้แก่ Scoolet, ั UniNet, PubNet, ThaiSarn และ GITS จากสถิติที่เนคเทคสํารวจ ในปี พ.ศ.2547 มีผใช้ประมาณ 6.9 ล้าน ู้ ั คน ในเดือนกนยายน 2551 มีถึง 13.4 ล้านคน (ที่มา : http://www.bloggang.com 13 ต.ค. 2551) นับวา ่ เพิ่มขึ้ นเร็ วมาก จํานวนความต้องการใช้อินเทอร์ เน็ตถือเป็ นตัวชี้ ให้เห็นการพัฒนาเทคโนโลยีการสื่ อสาร
  • 6. 6 ่ ิ ของประเทศยุคโลกาภิวตน์ ที่มีการแขงขันทางเศรษฐกจสู ง ด้านการศึกษาจะต้องให้ความสําคัญพัฒนา ั ้ ่ นักเรี ยน นักศึกษาให้กาวทันการพัฒนาของโลกที่รัฐบาลจะต้องให้ความสําคัญและพัฒนาตอไป 2. การบริการต่ าง ๆ ในอินเทอร์ เน็ต ่ ่ ั ่ การที่อินเทอร์ เน็ต เป็ นเครื อขายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมตอกนทัวโลก สามารถใช้ประโยชน์ ทั้ ง ิ การพัฒนาประเทศ สังคม เศรษฐกจ การศึกษา ด้วยเหตุน้ ี จึงมีการคิดสร้างโปรแกรมการให้บริ การ ใน ่ รู ปแบบตาง ๆ ขึ้ นหลากหลายรู ปแบบ เพื่อสนองความต้องการของผูใช้และประโยชน์ทางธุรกจ ้ ิ 2.1 รปแบบการบริการบนระบบอินเทอร์ เน็ต แบงออกเป็ น 5 ลักษณะ (ณัฐกร สงคราม. 2543) คือ ู ่ 2.1.1 บริการด้ านการรับส่ งข่ าวสารและแสดงความคิดเห็น ่ ่ การรับสงขาวสารและแสดงความคิดเห็ น เป็ นบริ การที่ได้รับความนิ ยมมากที่สุดในระบบ ่ ่ ่ ้ อินเทอร์ เน็ต จะมีเครื่ องมือในการรับสงขาวสาร และแสดงความคิดเห็นระหวางผูใช้บริ การอินเทอร์ เน็ต มีหลายวิธีดงนี้ ั ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) ่ เป็ นการให้บริ การพื้ นที่รับ-สงจดหมายหรื อข้อความ มีท้ งแบบจัดตั้ ง Mail-Server ขึ้ นเฉพาะกลุ่ม ผูใช้ตองเสี ยคาใช้จ่าย และแบบให้บริ การพื้ นที่ฟรี เจ้าของ ั ้ ้ ่ ็ ่ ่ ่ Server จะเกบเงินจากคาโฆษณา ซึ่งการใช้บริ การ E-Mail สวนใหญจะใช้บริ การแบบฟรี ซึ่ งนอกจาก ่ ่ ไมเสี ยเงินแล้วอาจเพราะมาตรฐานการดูแล และความเร็ วคอนข้างสู ง ผูรับจะได้รับข้อมูลในเวลาเกอบ ้ ื ทันทีที่ส่ งไป ผูให้บริ การ E-Mail ฟรี ของตางประเทศ เชน hotmail หรื อ yahoo mail ในประเทศไทย ้ ่ ่ ่ เชน thaimail.com chaiyo.com E-Mail ฟรี เหล่านี้ จะให้บริ การไปเรื่ อย ๆ การหมดอายุหรื อตัดการใช้ จะ ิ ิ ั ้ เกดได้เมื่อผูใช้เลิกใช้เป็ นเวลานานเกนไป การขอใช้ E-Mail กบผูให้บริ การฟรี ผูใช้จะต้องสมัครเป็ น ้ ้ สมาชิกขอใช้บริ การ และจะได้รับ user id และ password ประจําตัว เพื่อ login เข้าใช้บริ การ E-Mail กลุ่มอภิปราย (Newsgroup) หรือ ยสเน็ต (Use Net) กลุ่มอภิปรายเป็ นการรวมกลุ่มของผูใช้ ู ้ อินเทอร์ เน็ตที่มีความสนใจในเรื่ องเดียวกน เชน กลุ่มที่สนใจเรื่ องคอมพิวเตอร์ รถยนต์ การเลี้ ยงปลา ั ่ ่ ่ ่ ั การปลูกไม้ประดับ เป็ นต้น เพื่อสงขาวสารหรื อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นระหวางกน ในลักษณะของกระดาน ่ ขาว (Bulletin Board) บนอินเทอร์ เน็ต ผูใช้สามารถเลือกหัวข้อที่สนใจและสามารถแสดงความคิดเห็นได้ ้ โดยการสงข้อความไปยังกลุ่มและผูอ่านภายในกลุ่ม จะมีการรวมกนอภิปรายแสดงความคิดเห็นและสง ่ ้ ่ ั ่ ข้อความกลับมายังผูส่ งโดยตรง หรื อสงเข้าไปในกลุ่ม เพื่อให้ผอื่นอานด้วยกได้ ตัวอยาง เชน กระดานขาว ้ ่ ู้ ่ ็ ่ ่ ่ พันทิพ ที่ URL : www.pantip.com ั ้ การสนทนา (Talk) การสนทนาเป็ นบริ การที่ผใช้สามารถพูดคุยโต้ตอบกบผูใช้คนอื่น โดยการ ู้ ่ ่ พิมพ์ขอความผานทางแป้ นพิมพ์ หรื อพูดคุยผานทางคอมพิวเตอร์ มีการตอบโต้กนทันที การสนทนาผาน ้ ั ่
  • 7. 7 ่ ทางอินเทอร์ เน็ตนี้ สามารถใช้โปรแกรมได้หลายโปรแกรม เชน โปรแกรม Talk สําหรับการสนทนา เพียง 2 คน โปรแกรม Chat หรื อ IRC (Internet Relay Chat) สําหรับการสนทนาเป็ นกลุ่ม หรื อโปรแกรม ICQ ่ ่ ่ (มาจากคําวา I Seek You: ฉันหาคุณ) ตัวอยางเชน โปรแกรม Pirch, ICQ, Windows Messenger (MSN), Yahoo Messenger เป็ นต้น 2.1.2 บริการด้ านการติดต่ อสื่ อสาร ่ ั ั่ ่ เป็ นบริ การที่ผใช้สามารถติดตอสื่ อสารกบเครื่ องคอมพิวเตอร์ที่อื่นได้ ในขณะที่นงอยูที่หน้าจอ ู้ ่ คอมพิวเตอร์ของตนเอง ซึ่งบริ การด้านการติดตอสื่ อสารมีหลายลักษณะ ดังนี้ Telnet เป็ นโปรแกรมที่ใช้ในการเข้าสู่ ระบบคอมพิวเตอร์อื่น ๆ บนอินเทอร์เน็ต และ สามารถ ่ ่ ใช้บริ การสาธารณะตาง ๆ เชน บริ การห้องสมุด ข้อมูลการวิจย และสารสนเทศของเครื่ องคอมพิวเตอร์ ั เหลานั้ นได้ราวกบวากาลังทํางานอยู่บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ น้ ัน ๆ ชวยให้ไมต้องเดิ นทางไปทํางานอยู่ ่ ั ่ ํ ่ ่ ่ ่ หน้าเครื่ องเหลานั้ นโดยตรง จึงถือเป็ นบริ การหลักที่สําคัญอยางยิ่งของอินเทอร์ เน็ต การใช้โปรแกรม ่ ั ่ Telnet ติดตอกบคอมพิวเตอร์ ในอินเทอร์ เน็ตนั้ น จําเป็ นต้องได้รับสิ ทธิ เป็ นผูใช้ในระบบนั้ นกอน แตกมี ้ ่ ็ ่ ระบบคอมพิวเตอร์ในเครื อขายจํานวนมากที่อนุญาตให้ผใช้ทวไปเข้าใช้บริ การได้โดยไมต้องรับอนุญาต ู ้ ั่ ่ The Internet Telephone และ The Videophone ปกติการสื่ อสารทางโทรศัพท์ ผูใช้จะต้องยกหู จากเครื่ องรั บโทรศัพท์และพูดข้อความตาง ๆ ระหวางผูรับและผูส่ งแตเมื่ อใช้บริ การ ้ ่ ่ ้ ้ ่ ่ อินเทอร์ เน็ ตซึ่ งเป็ นเครื อขายการสื่ อสารทัวโลกผูใช้สามารถเลื อกหมายเลขโทรศัพท์ที่ตองการติ ดตอ ่ ้ ้ ่ ่ ่ โดยพูดผานไมโครโฟนเล็กๆ และฟั งเสี ยงสนทนาผานทางลําโพง ทั้ งนี้ ผใช้จะต้องมีโปรแกรมสําหรับใช้ ู้ ่ งานรวมทั้ งใช้เครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เป็ นระบบมัลติมีเดี ย ตัวอยางการบริ การแบบ Telephone เช่ น โปรแกรม Net2Phone นอกจากนี้ หากมีการติ ดตั้ งกล้องวีดิทศน์ที่เครื่ องคอมพิวเตอร์ ของคู่สนทนา ั ทั้ ง 2 ่ ั ฝ่ าย เมื่ อเชื่ อมตอคอมพิวเตอร์ เข้ากบระบบอิ นเทอร์ เน็ ตแล้ว ภาพที่ ได้จากการทํางานของ ั ็ ่ ่ กล้องวีดิทศน์กสามารถสงผานไปทางอินเทอร์เน็ตถึงผูรับได้ การสนทนาทางโทรศัพท์จึงปรากฏภาพของ ้ คูสนทนาทั้ งผูรับ และผูส่ งบนจอคอมพิวเตอร์ ไปพร้อมกบเสี ยงด้วย ตัวอยางโปรแกรมแบบ Videophone ่ ้ ้ ั ่ ่ เชน Net meeting
  • 8. 8 2.1.3 บริการการถ่ ายโอนแฟ้ มข้ อมล ู ่ บริ การการถายโอนแฟ้ มข้อมูล หรื อบริ การ FTP (File Transfer Protocol) เป็ นบริ การ ่ ่่ ของอินเทอร์ เน็ตที่ผูใช้อินเทอร์ เน็ตนิ ยมใช้ โดยผูใช้สามารถแลกเปลี่ยน ถายโอนข้อมูล ไมวาจะเป็ น ้ ้ ่ ั ่ ไฟล์ขอมูลตัวหนังสื อ รู ปภาพ เสี ยง วีดิทศน์ หรื อโปรแกรมตาง ๆ คล้ายกบการ Copy ข้อมูล แตวิธีการ ้ ั ่ ของ FTP จะซับซ้อนและปลอดภัยกวาการ Copy การใช้งานผูให้บริ การจะมีเครื่ อง FTP Server ไว้บริ การ ้ ่ ่ เฉพาะ นั่นคือผูใช้จะต้องมี พ้ืนที่ บนเว็บ(ใน FTP Server)เป็ นของเราเองกอน จะโดยการเชาพื้ นที่ ้ หรื อ แบบฟรี ก็ได้ จึงจะมีพ้ืนที่ให้เกบหรื อฝากข้อมูล การใช้งานจะมีโปรแกรม FTP ็ สําหรับสง่ ่ (Upload) หรื อรับ (Download) ซึ่งสามารถหาได้จากอินเทอร์เน็ต ดังตัวอยาง รู ปที่ 1.1 รูปที่ 1.2 แสดงการถ่ายโอน FTP ในอินเทอร์ เน็ตด้ วย WS FTP Professional ที่มา : wbi.dru.ac.th/dcc/e-lea/net 2.1.4 บริการค้ นหาข้ อมล ู การบริ การค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ซึ่งมีแฟ้ มข้อมูลตาง ๆ มากมายหลายพันล้านแฟ้ มบรรจุอยู่ ่ ่ ่ ่ ให้ผูใช้สามารถสื บค้นมาใช้งาน นับวาได้เป็ นรู ปแบบการบริ การที่เข้ามามีบทบาทตอทุกสวนของผูใช้ ้ ้ ิ โดยเฉพาะ ด้านการศึกษา และภาคธุ รกจที่ต้องใช้ขอมูลเพื่อการตัดสิ นใจ หรื อวางแผนการการทํางาน ้ ่ ซึ่งโปรแกรมชวยค้นหาแฟ้ มข้อมูล มีดงนี้ ั อาร์ คี (Archie) เป็ นโปรแกรมที่ ช่ วยในการค้นหาแฟ้ มที่ผูใช้ทราบชื่ อแฟ้ มแตไมทราบวา ้ ่ ่ ่ ่ แฟ้ มข้อมูลนั้ นอยูในเครื่ องบริ การใดในอินเทอร์เน็ต โปรแกรมนี้ จะสร้างบัตรรายการแฟ้ มไว้ในฐานข้อมูล ่ ่ เมื่อต้องการค้นวาแฟ้ มตามชื่อในฐานข้อมูล อยูในเครื่ องบริ การใด เพียงเรี ยกใช้โปรแกรมอาร์คีแล้วพิมพ์ ชื่อแฟ้ มข้อมูลที่ตองการลงไป โปรแกรมอาร์ คีจะตรวจค้นชื่อแฟ้ มจากฐานข้อมูล และแสดงชื่อแฟ้ มพร้อม ้
  • 9. 9 ็ ็ รายชื่อเครื่ องบริ การที่เกบแฟ้ มนั้ นให้ทราบ เมื่อทราบชื่อเครื่ องบริ การแล้วกสามารถใช้โปรแกรมเอฟทีพี ่ ็ เพื่อถายโอนแฟ้ มข้อมูลมาเกบ ลงในคอมพิวเตอร์ของผูใช้ได้ ้ ่ โกเฟอร์ (Gopher) เป็ นโปรแกรมที่มีรายการหรื อเมนู (Menu) ให้เลือกเพื่อชวยเหลือผูใช้ในการ ้ ี่ ั ้ ่ ค้นหาแฟ้ มข้อมูลเกยวกบหัวข้อที่ระบุไว้โดยผูใช้ไมจําเป็ นต้องทราบหรื อใช้รายละเอียดของแฟ้ มข้อมูล ่ ่ ่ ทั้ งสิ้ น ผูใช้เพียงแตเลือกอานในรายการหรื อเมนูที่มีให้เลือก และกดแป้ น Enter เทานั้ น จะพบรายการ ที่ ้ ็ ่ ็ เกบไว้ในเมนูปรากฏขึ้ นมามากมาย ผูใช้สามารถเลือกอานหรื อเกบบันทึกแฟ้ มที่ตองการไว้ในคอมพิวเตอร์ ้ ้ ของผูใช้ได้เลย ้ เวอร์ โรนิคา (Veronica) เป็ นโปรแกรมค้นหาข้อมูลที่พฒนาขึ้ นมาจากการทํางานของระบบ ั โกเฟอร์ ชวยในการค้นหาข้อมูลที่ตองการโดยไมต้องผานระบบเมนู ตามลําดับขั้ นของโกเฟอร์ เพียงแต่ ่ ้ ่ ่ ี่ ั ่ พิมพ์คาสําคัญ (Keyword) ลงไปให้ระบบค้นหาเรื่ องที่เกยวข้องกบคํานั้ น ๆ ขึ้ นมาได้อยางรวดเร็ ว ํ เวส (WAIS: Wide Area Information Server) เป็ นโปรแกรมสําหรับใช้เป็ นเครื่ องมือที่ช่วย สื บค้นข้อมูล โดยการค้นจากเนื้ อหาแทนการค้นตามชื่อแฟ้ มข้อมูล จากฐานข้อมูลจํานวนมากที่กระจาย ่ ่ั ี่ ั อยูทวโลก การใช้งานผูใช้ตองระบุชื่อเรื่ อง หรื อคําหลักที่เกยวกบเนื้ อหาข้อมูลที่ตองการค้น หลังจาก ้ ้ ้ ใช้ค า สั่ ง ค้น หาข้อ มู ล โปรแกรมเวสจะชวยค้น ไปยัง แหลงข้อ มู ล ที่ ต่ อเชื่ อ มกัน อยู่ ใ นอิ น เทอร์ เ น็ ต ํ ่ ่ ี่ ั โดยค้นเอกสารที่เกยวข้องตรงกบคําหรื อวลีสาคัญ ที่ผใช้ระบุ มาให้มากที่สุด ผูใช้เลือกแฟ้ มหรื อข้อมูลที่ ํ ู้ ้ ็ ต้องการบันทึกเกบได้เชนกน ่ ั ่ เซิ ร์ช เอนจินส์ (Search Engines) เป็ นเครื่ องมือชวยค้นหาข้อมูลในระบบอินเทอร์ เน็ ต ่ ่ ่ ที่ได้รับความนิ ยมมากที่สุดในปั จจุบน โปรแกรมชวยค้นหาซึ่งมีอยูมากมาย เชน Yahoo, Alta Vista, HotBot, ั ้ ่ Excite และ Google เป็ นต้น ผูใช้สามารถค้นหาข้อมูลสารสนเทศตาง ๆ โดยใช้วิธีพิมพ์คาหรื อข้อความ ํ ่ ่ ี่ ที่เป็ นคําสําคัญเข้าไป โปรแกรมจะแสดงรายชื่อของแหลงข้อมูลตาง ๆ ที่เกยวข้องขึ้ นมา ผูใช้สามารถ ้ คลิกไปที่รายชื่อต่าง ๆ เพื่อเข้าไปดูขอมูลตามรายการนั้ น ๆ ได้ หรื อจะเลือกค้นจากหัวข้อในหมวดตาง ๆ ้ ่ (Categories) ที่โปรแกรมได้แสดงไว้เป็ นรายการตาง ๆ โดยเริ่ มจากหมวดที่กว้าง จนลึกเข้าไปสู่ หมวดยอยได้ ่ ่ 2.1.5 บริการข้ อมลมัลติมีเดีย เวิลด์ ไวด์ เว็บ (World Wide Web: WWW) ู ่ WWW เป็ นบริ การบนอินเทอร์ เน็ตที่ได้รับความนิ ยมอยางมาก เนื่ องมาจากลักษณะเดนของ ่ เวิลด์ไวด์เว็บที่สามารถนําเสนอข้อมูลมัลติมีเดียที่แสดงได้ท้ งตัวหนังสื อ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสี ยง ั ่ ่ ่ ิ ซึ่งมีอยูมากมาย ทําให้เครื อขายคอมพิวเตอร์มีความนาสนใจขึ้ นมาก เป็ นการจุดประกายให้เกดความอยากรู ้ ่ อยากเห็นขึ้ นในโลกอินเทอร์เน็ต และกลายเป็ นแหลงทรัพยากร ของกระบวนการเรี ยนการสอนที่สนองตอ ่ ่ กระบวนการเรี ยนรู ้ได้เป็ นอยางดี
  • 10. 10 เทคโนโลยีของ WWW ทําให้โลกไร้พรหมแดน เพราะความสามารถในการเชื่อมโยงข้อมูล ่ ่ จากตําแหนงหนึ่ งไปยังอีกตําแหนงหนึ่ งได้ดวยการคลิกเมาส์ที่จุดเชื่อมโยงเพียงครั้ งเดียว ทําให้สามารถ ้ ี่ ั ่ ่ ั ผูกเรื่ องราวที่เกยวข้องกนจากแหลงข้อมูลตางๆ ทัวทุกมุมโลกเข้าด้วยกนได้ เอกสารบนเครื อขาย WWW ่ ่ ่ เป็ นเอกสารรู ปแบบพิเศษที่เรี ยกวา HTML (Hyper Text Markup Language) ซึ่ งต้องใช้โปรแกรม บราวเซอร์ ในการแสดงผล สามารถแสดงได้ท้ งตัวอักษร รู ปภาพ เสี ยง ภาพเคลื่อนไหว หรื อ วีดิทศน์ ั ั ็ ไฟล์ภาษา HTML สามารถเกบไว้บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ เซิร์ฟเวอร์ ระบบปฏิบติการ(OS) อะไรกได้ การ ั ็ เข้าถึงหน้าเอกสาร HTML บนเว็บไซต์ต่างๆ ใช้โปรแกรมบราวเซอร์ (Internet Explorer, Netscape ่ ั ่ Navigator, Opera)เราจะต้องทราบที่อยูของเว็บไซต์น้ นๆ ที่เรี ยกกนวา URL (Uniform Resource Locators) ั ่ ่ เสี ยกอน เชน http://www.nectec.or.th http://www.google.com ตัวอักษร www ที่พิมพ์ลงใน Url คือ ตัวระบุว่าเรากาลังเรี ยกใช้บริ การ การเปิ ดหน้าเอกสารเว็บเพจแบบข้อมูลมัลติมีเดีย เวิลด์ไวด์เว็บ นันเอง ํ ่ ่ ื ซึ่งการเปิ ดใช้อินเทอร์เน็ตในปั จจุบน เราจะพบวาใช้เทคโนโลยีการให้บริ การแบบ WWW เกอบทั้ งสิ้ น ั รู ปที่ 1.3 การบริ การมัลติมีเดียในอินเทอร์เน็ต ที่มา : www.mrpalm.com 2.2 จรรยาบรรณการใช้ งานอินเทอร์ เน็ต ็ อินเทอร์ เน็ต เป็ นสื่ อสาธารณะที่ใคร ๆ กสามารถเปิ ดเข้าใช้ได้ทวโลก ดังนั้ นผูใช้บริ การต้อง ่ั ้ มีจรรยาบรรณและความระมัดระวังในการใช้งาน เพราะนอกจากความปลอดภัยของข้อมูลในเครื่ องแล้วยัง มีกฎหมายควบคุมพร้อมบทลงโทษไว้ดวย ในเรื่ องจรรยาบรรณการใช้อินเทอร์ เน็ตนี้ ยืน ภู่วรวรรณ ้ ่ (2547: ออนไลน์) ได้กลาวถึงบัญญัติ 10 ประการ ซึ่ งเป็ นจรรยาบรรณที่ผใช้ อินเทอร์ เน็ตพึงยึดถือไว้ เป็ น ู้ ่ ่ ั แมบทของการปฏิบติ เพื่อให้การใช้อินเทอร์เน็ตมีประโยชน์และเอื้อตอกนมากที่สุด ดังนี้ ั (ที่มา: http://www.skn.ac.th/a_cd/internet/webucation.html) ่ 1. ต้องไมใช้คอมพิวเตอร์ทาร้าย หรื อละเมิดผูอื่น ํ ้ ่ 2. ต้องไมรบกวนการทํางานของผูอื่น ้ ่ ้ 3. ต้องไมสอดแนม แกไข หรื อเปิ ดดูแฟ้ มข้อมูลของผูอื่น ้
  • 11. 11 ่ 4. ต้องไมใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลขาวสาร ่ ่ 5. ต้องไมใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็ นเท็จ 6. ต้องไมคัดลอกโปรแกรมของผูอื่นที่มีลิขสิ ทธิ์ ่ ้ 7. ต้องไมละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไมมีสิทธิ์ ่ ่ ่ 8. ต้องไมนําเอาผลงานของผูอื่นมาเป็ นของตน ้ ิ ั 9. ต้องคํานึงถึงสิ่ งที่จะเกดขึ้ นกบสังคมอันติดตามมาจากการกระทําของทาน ่ 10. ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมีมารยาท ข้อ แนะนํา จรรยาบรรณที่ ค วรเรี ย นรู ้ ท้ ัง การใช้ กฎระเบี ย บ กฎหมายคว บคุ ม การใช้ง าน คอมพิวเตอร์ นักเรี ยนสามารถเรี ยนรู ้ได้จากเว็บไซต์ที่เข้าชมทุกเว็บ ซึ่ งผูดูแลเว็บ (Administrator) จะมี ้ ข้อแนะนําการใช้อยู่ทุกเว็บไซต์ สําหรับกฎหมายเกยวกบการควบคุมและบทลงโทษด้านคอมพิวเตอร์ ี่ ั ศึกษาได้จาก พระราชบัญญัติคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2551 ที่เว็บไซต์: http://elearning.medicine.swu.ac.th/news/wp-admin/doc/computer_law.pdf 3. มาตรฐานการสื่ อสารข้ อมลในเครือข่ ายอินเทอร์ เน็ต ู การสื่ อ สารข้อ มู ล คื อ การนํา ข้อ มู ล จากเครื่ อ งผูส่ ง ผานสื่ อ เชนสายโทรศัพ ท์ สาย UTP ้ ่ ่ ้ ่ สายใยแกว หรื อแบบไมต้องใช้สาย (ใช้คลื่นความถี่) ไปยังเครื่ องรั บ ซึ่ งเครื่ องคอมพิวเตอร์ ในระบบ- ่ ั ่ ั เครื อขายจะทําหน้าที่ท้ งสงและรับ นันคือมีการโต้ตอบกนไปมา วิธีการและเทคโนโลยีการสื่ อสารข้อมูล ่ ่ นักเรี ยนจะได้เรี ยนในวิชาระบบเครื อขายคอมพิวเตอร์ ่ ่ รู ปแบบการสงและควบคุ มข้อมูลในระบบเครื อขายอิ นเทอรเน็ตจะใช้ระบบฐานข้อมูลแบบ ็ กระจายจากศูนย์ (Client - Server) คือมีเครื่ อง Server ทําหน้าที่รับหรื อบริ การเกบแล้วประมวลผลข้อมูล ่ ่ ่ ่ สงไปให้แกเครื่ องผูใช้ (Client) ซึ่งในองค์กรหรื อหนวยบริ การหนึ่ง ๆ (เรี ยกวาHOST) จะใช้ เครื่ อง Server ้ ่ ่ หลายเครื่ อง เพื่อให้บริ การผูใช้หรื อ (Client) โดยที่แตละหนวยงานเครื่ องคอมพิวเตอร์และระบบปฏิบติการ ้ ั ่ ั ั ํ (OS) ตาง ๆ กน การที่จะให้ระบบสื่ อสารข้อมูลกนได้ จึงต้องมีการกาหนดมาตรฐานการสื่ อสารข้อมูล และ วิธีส่ งให้เป็ นแบบเดียวกน เปรี ยบเหมือนการใช้ภาษาเดียวกนยอมสื่ อสารกนรู ้เรื่ อง เราเรี ยกกฎหรื อ ั ั ่ ั มาตรฐานนี้ ว่า โปรโตคอล (Protocol) เพื่ อ ให้เ ข้า ใจมาตรฐานการเชื่ อ มตอในเครื อ ขายอิ น เทอร์ เ น็ ต ่ ่ ่ นักเรี ยนควรทําความเข้าใจความหมาย และหน้าที่ของคําวา Protocol , IP , DNS และ Url ที่เกยวข้องกบ ี่ ั การเชื่อมตอเข้าสู่ เครื อขายอินเทอร์เน็ตโดยสังเขปกอน ดังนี้ ่ ่ ่ 3.1 โปรโตคอล ( Protocol ) ํ ่ โปรโตคอล (Protocol) คือระเบียบวิธีที่กาหนดขึ้ นสําหรับการสื่ อสารข้อมูล ระหวางเครื่ อง ่ ่ ่ ่ ็ ํ คอมพิวเตอร์ในระบบเครื อขายให้สามารถสงผานข้อมูลไปยังปลายทางได้อยางถูกต้อง หรื อกคือกาหนดให้
  • 12. 12 โปรแกรมที่จะนํามาใช้ส่ ง – รับ ข้อมูลในเครื อขายอินเทอร์เน็ต จะต้องมีเพื่อให้สามารถใช้ สง – รับข้อมูล ่ ่ ํ (ข้อมูลเว็บเพจ) ได้นนเอง โดยได้กาหนดมาตรฐานจําเป็ นที่โปรแกรมจะต้องใช้เหมือนกนไว้ 4 ข้อ ่ั ั คือ 1. ชนิดของการตรวจสอบข้อผิดพลาดที่จะใช้ 2. วิธีบีบอัดข้อมูล (ถ้ามี) 3. วิธีที่ระบบที่ส่ งข้อมูลรับรู ้วา ่ มันได้ส่ งข้อมูลเสร็ จแล้ว และ 4. วิธีที่ระบบที่รับข้อมูลรับรู ้วามันได้รับข้อมูลแล้ว ่ ่ ่ โปรโตคอลที่ใช้เป็ นมาตรฐานการติดตอบนเครื อขายอินเทอร์เน็ตในปั จจุบน คือ TCP/IP ั โดยโปรโตคอล TCP/IP มีโปรโตคอลทํางานรวมกนสองสวนคือ่ ั ่ TCP จะทําหน้าที่ในการตรวจสอบการรับ-สงข้อมูลวาถูกต้องหรื อไม่ หากมีขอมูลที่ส่ งไป ่ ่ ้ สูญหายระบบตรวจสอบจะแจ้งไปยังต้นทางให้ส่ งข้อมูลนั้ นมาใหม่ IP จะทําหน้าที่ในการเลือกเส้นทางสงข้อมูลไปยังหมายเลขที่อยู่ที่ระบุ และตรวจสอบที่อยู่ ่ ั ่ ่ ั ่ ของผูรับต้องตรงกบหมายเลขที่อยูที่ระบุ เชนเดียวกบระบบการสงจดหมายของไปรษณี ย ์ ถ้าตรงกน กสง ้ ั ็ ่ ่ ็ ่ ข้อมูลให้ ถ้าไมตรงกจะผานไป 3.2 ไอพีแอดเดรส ( IP: Internet Protocol Address) ั ่ ไอพีแ อดเดรส หรื อที่ เ รี ย กกนสั้ น ๆ วา ไอพี (IP) คื อ หมายเลขที่ ร ะบุ ไ ว้ประจําเครื่ อ งหรื อ ่ ั ่ ่ อุปกรณ์ที่จะตอเข้ากบระบบเครื อขายคอมพิวเตอร์ เชน เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องเราท์เตอร์ เครื่ องแฟกซ์ ั ่ ิ ั คล้ายกบหมายเลขโทรศัพท์ที่จะมีหมายเลขเฉพาะตัวเพื่อไมให้เกดการซํ้ ากน ปั จจุบนไอพีที่ใช้เป็ นเวอร์ชน ั ั 4 (IPv4) หมายเลขไอพีจะใช้เลขฐานสองจํานวน 32 บิต ( 232) แยกการเขียนออกเป็ นชุดจํานวน 4 ชุด แตละชุดจะใช้เลขฐานสองจํานวน 8 บิต คันด้วยจุด (.) คือ 28.28.28.28 เนื่ องจากคนสวนใหญ่ จะคุนเคยกบ ่ ่ ่ ้ ั ระบบเลขฐานสิ บ จึงแปลงเลขฐานสองให้แสดงผลเป็ นเลขฐานสิ บมีค่าตั้ งแต่ 0-255.0-255.0-255.0-255 ่ ่ ตัวอยางหมายเลขไอพี เชน 203.146.15.9 เป็ น IP ของกระทรวงศึกษาธิการ ํ ํ การกาหนดเลขหมาย IP Address จะมีวิธีการกาหนดและกฎเกณฑ์ที่รัดกุม ผูใช้ที่อยากจัดตั้ ง ้ ่ ่ Server หรื อ Web Host เพื่อเชื่อมตอเข้าอินเตอร์เน็ต และบริ การตาง ๆ ต้องขอเลขหมาย IP Address ที่ Internet Network Information Center (InterNIC) ขององค์กร Network Solution Incorporated ที่ รั ฐ เวอร์ จิ เ นี ย สหรั ฐ อเมริ ก า แต่ ใ นทางปฏิ บ ัติผูใ ช้ต ้อ งสมัค รเข้า เป็ นสมาชิ ก ขอใช้บ ริ ก ารจากบริ ษ ัท ้ ํ ผูให้บริ การ ISP ซึ่งรับสัมปทานหมายเลข IP Address มาแล้ว ISP จะกาหนดหมายเลข IP ให้ใช้ หรื อ ้ ่ ่ ่ ั สงคา IP ชัวคราวให้ใช้งานได้ ทั้ งนี้ ข้ ึนอยูกบการขอใช้รูปแบบของการบริ การ ่ ปั จจุบนได้มีการคิดพัฒนาหมายเลขไอพีจากเวอร์ชน 4 เป็ นเวอร์ชน 6 ไอพีเวอร์ชนที่ 6 (IPv6) ั ั ั ั ในมาตรฐานของเวอร์ชน 6 จะใช้ระบบ 128 บิต (2128) เพื่อเพิ่มจํานวนหมายเลข IP ที่กาลังจะไมพอใช้ ั ํ ่
  • 13. 13 3.3 ระบบชื่อโดเมน (DNS: Domain Name System) เนื่องจากเครื อขายอินเทอร์เน็ตมีเว็บไซต์จานวนมาก การเข้าสู่ เว็บไซต์จะต้องระบุหมายเลข IP ่ ํ ํ ของเครื่ อง Server ที่ทาหน้าที่เป็ น Host ให้ถูกต้อง แต่การจําหมายเลข IP เป็ นเรื่ องยากจึงมีการกาหนด ํ ้ ่ แนวทางแกปั ญหาด้วยการตั้ งชื่ อหรื อใช้ตวอักษรขึ้ นมาแทนที่หมายเลข IP เชน หมายเลข IP คือ ั ่ ่ 203.146.15.9 แทนที่ดวยชื่อเป็ น moe.go.th จะทําให้ผใช้บริ การสามารถจําได้แมนยํากวา การแทนที่ชื่อ ้ ู้ ่ ็ หมายเลข IP เรี ยกวา Domain Name System (DNS) ในการออกแบบระบบการจัดเกบชื่อ DNS ตามเลข IP มีมาตรฐานการจัดเป็ นลําดับโครงสร้างของฐานข้อมูล Domain Name แบบ Top-down (ซึ่ งกาหนดและ ํ ควบคุมโดย InterNIC :Internet Network Information Center) คือในระดับบนสุ ดจะมีความหมายบอกถึง ประเภทขององค์กร หรื อชื่ อประเทศที่เครื อขายตั้ งอยู่ ชื่ อ Domain จะใช้ตวอักษรเล็กหรื อใหญกได้ ่ ั ่ ็ ่ ่ ่ แตนิ ยมใช้อกษรเล็ก จากระดับบนสุ ดลงมา เป็ นหนวยงาน ซึ่ งใช้อกษรตัวยอแทนความหมาย แล้วแต่ ั ั ํ ่ ่ ่ ผูจดตั้ งจะกาหนดขึ้ น แตละระดับจะถูกแบงคันด้วยเครื่ องหมายจุด (Dot) การดูระดับ จากบนลงลางให้ดู ้ั ่ ่ ่ จากด้านขวามาซ้าย ดังตัวอยางรู ปที่ 1.4 สําหรับประเทศไทยหนวยงานที่รับผิดชอบการจดโดเมน คือ ่ ศูนย์สารสนเทศเครื อขายประเทศไทย(THNIC, Thailand Network Information Center) ระบุที่ตงและ ั ระบุตามจุดประสงค์ จุดประสงค์ ขององค์กร ตัวอย่ างการเขียน ขององค์กร รู ปที่ 1.4 แสดงการจัดลําดับโครงสร้างของฐานข้อมูล Domain Name ที่มา : http://wiki.nectec.or.th/ru/IT630_1_2008Students/NaManaSlideDNS
  • 14. 14 รปแบบการจัดแบ่ งระดับโครงสร้ างของระบบ DNS มีดงนี้ ู ั ่ โดเมนระดับที่ 1 หรื อระดับบนสุ ด(Top Level)จะใช้โค้ดที่เป็ นตัวอักษร 2-4 ตัว เพื่อบงบอก จุดประสงค์หรื อหน้าที่หลักขององค์กรนั้ น ๆ หรื อประเทศที่ต้ งขององค์กร ดังตารางที่แสดงดังนี้ ั ่ ตัวอยางแบบจุดประสงค์หรื อหน้าที่หลักขององค์กร โดเมน หน่ วยงานหรือประเภทองค์ กร .com ํ ี่ ั องค์กรที่ทาเกยวกบการพาณิ ชย์ .edu ํ ั กาหนดให้กบสถานศึกษาในประเทศสหรัฐ ฯ .gov ํ ่ กาหนดให้หนวยงานราชการของรัฐบาลสหรัฐ ฯ .info ่ องค์กรที่ใช้ขอมูลขาวสาร ้ .int องค์กรนานาชาติ .mil ํ ั กาหนดให้กบทหารของประเทศสหรัฐ ฯ .net ํ ี่ ั ่ องค์กรที่ทาเกยวกบระบบเครื อขาย .org ่ องค์กรที่ไมต้องการกาไร ํ ่ ตัวอยางบอกที่ต้ ง(ประเทศ) ั โดเมน หน่ วยงานหรือประเภทองค์ กร .th ่ หนวยงานที่ต้ งในประเทศไทย ั .jp ่ หนวยงานที่ต้ งในประเทศญี่ปุ่น ั .au ่ หนวยงานที่ต้ งในประเทศออสเตรเลีย ั .uk ่ หนวยงานที่ต้งในประเทศอังกฤษ ั .tw ่ หนวยงานที่ต้ งในประเทศไต้หวัน ั โดเมนระดับที่ 2 เป็ นการเพิ่มชื่อหนวยงานลงในระดับประเทศ โดยโดเมนที่บ่งบอกประเทศ ่ ่ ่ จะอยูขวาสุ ด และถัดมาจะเป็ นตัวอักษร 2-3 ตัวของชื่อองค์กร เชน ac.th โดเมน หน่ วยงานหรือประเภทองค์ กร .ac ่ หมายถึงหนวยงานที่เป็ นสถานศึกษา .go ่ ่ หมายถึงหนวยงานที่เป็ นหนวยงานราชการ .or ่ ่ หมายถึงหนวยงานที่เป็ นองค์กรที่ไมแสวงหาผลประโยชน์ .co ่ ่ หมายถึงหนวยงานที่เป็ นหนวยงานเอกชน
  • 15. 15 ตําแหน่ งอ้ างอิงของเว็บไซต์ (URL: Universal Resource Locator) การที่เราจะเรี ยกใช้เว็บไซต์ใดๆ เราจะต้องทราบถึงที่อยู่บนอินเทอร์ เน็ตของเว็บไซต์น้ ันๆ ่ ่ ่ ่ ตําแหนงที่อยูบนอินเทอร์เน็ตของเว็บไซต์น้ ีเราเรี ยกวา URL ดังตัวอยางรู ปที่ 1.5 รู ปที่ 1.5 แสดงการระบุตาแหนง Url เพื่อเข้าสู่ เว็บไซต์ google ํ ่ โครงสร้ างของ Url ประกอบด้ วย ่ โปรโตคอลเชื่อมตอ + โปรโตคอลที่ใช้บริ การ + Sub domains + Top Level Domain ่ ดังตัวอยาง ดังรู ปที่ 1.6 http://www.rtc.ac.th โปรโตคอลเชื่อมต่ อ + โปรโตคอลทีใช้ บริการ + Sub domains + Top Level Domain ่ รู ปที่ 1.6 แสดงโครงสร้างและวิธีเขียนที่ตองระบุใน Url ้