SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
จัดทำโดย นางสาวสุริสา  ไวแสน
เดิมนั้นเราทราบว่า ดาวนิวตรอน  (Neutron stars)  เกิดจากการยุบตัวลงภายใต้แรงดึงดูดของตน ด้วยการระเบิดขึ้น เรียกว่า  Supernova explosion  จากระบบเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ก๊าซพร่องลง จึงต้องเผาไหม้ทุกสิ่ง ทุกอย่างรวมถึงไส้แกนตัวเองจนระเบิด จาก  Neutron stars  สู่  Pulsar
ดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะ ไม่สามารถพัฒนาการเป็น  Neutron stars  ได้ แต่เมื่อหมด อายุขัย อีกราว  5,000  ล้านปีข้างหน้า  จะพัฒนาการเป็น ดาวยักษ์สีแดง  (Red Giant) หลังจากนั้นจะกลายเป็น  ดาวแคระขาว  (White dwarfs) ในลำดับถัดไป ทั้งนี้เพราะการเกิด  ซูเปอร์โนวา  (Suprenova) เกิดขึ้นได้กับ  ดาวที่มีขนาดยักษ์มวลมากกว่าดวงอาทิตย์  ( อย่างน้อย  2-3  เท่า )  จึงสามารถเกิดการระเบิดแบบ  Supernova explosion  ส่งผลให้เกิด  Neutron stars  ตามมา
แต่หากดาว มีขนาดใหญ่ยักษ์มากกว่านั้น จะยุบตัวเป็นหลุมดำ  (Back holes)  โดยเชื่อว่า  Neutron stars  มีความหนาแน่นสูงมาก หมุนปั่นรอบตัวเองรวดเร็ว ตนเองมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง  10  กิโลเมตร และรอบๆ มีสนามแม่เหล็กขนาดใหญ่  ( Large magnetic fields)
การมีสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอนุภาค จากการเคลื่อนไหวเป็นลำยาวของสนามแม่เหล็ก เกิดเป็นลำแสง จากรังสีที่เปล่งสะท้อนจากขั้วแม่เหล็ก ( Magnetic poles)  หมุนเวียนไปรอบๆ ดาวนิวตรอน ลำแสงนั้นส่องยาวไกลออกไปในอวกาศ บนโลกจึงสามารถตรวจจับลำแสงนั้นได้ ด้วย  Radio telescope  ลักษณะแสงดังกล่าว ยาวเป็นลำ คล้ายกับแสงที่หมุนส่องเป็นลำยาวออกมาจากประภาคาร พร้อมกับหมุนไปรอบๆ  ( หรือเปรียบเหมือนไฟไซเรน บนหลังคารถพยาบาล แต่จะพลิกไปพลิกมาขณะหมุนด้วย )  ด้วยความเร็วมากกว่า  100  รอบต่อวินาที
คำจำกัดความ ของ  Pulsar Pulsar  คือ อำนาจแม่เหล็กพลังสูง  ( Highly magnetised)  ของ ดาวนิวตรอนซึ่งเกิดจากการยุบตัวของดาว ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ มีรัศมีราว  1  ล้านกิโลเมตรเหลือขนาด มีรัศมีราว  10-15  กิโลเมตร  ( เป็นดาวนิวตรอนแสดงการแผ่หรือเปล่งรังสี จากขั้วแม่เหล็ก  ( Magnetic poles)  เป็นลำแสง  ( Beam)  ทะแยงออกมาสู่โลก ลักษณะเหมือนกับไฟส่องพุ่งออกมา เช่นไฟจากประภาคาร  ( Lighthouse)  แบบวูบวาบ โดยมีช่วงจังหวะรอบหมุนอย่างเที่ยงตรง แม่นยำมาก เรียกลำแสงนั้นว่า  Pulsar ( พัลซาร์ )   
ระบบทั่วไปของ  Pulsar  ทั้งนี้การสำรวจพบ  Neutron stars  ราวจำนวน  1,800  ดวง แต่ละดวงเต็มไปด้วยความแปลกประหลาด เหมือน  Cosmic zoo  เกิดจากการยุบตัวของดาว ขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ เหลือสัดส่วนเท่าเมืองเล็กๆ บนโลก  1  เมือง  ( ราว  10  กิโลเมตร )  ทั้งหมดเกิด  Pulsars  เพราะมีลำแสง แบบประภาคารส่องยาวออกมา ในประเภท   Radio waves  หรือ  X rays  แต่ก็มีจำนวนมากเกิดขึ้น แต่มองไม่เห็นจากบนโลก
ในทางทฤษฎี  Pulsars  ที่มีลำแสงแบบ  Gamma-ray  จากมีความกว้างและไกลกว่า  ( แบบลำแสง  Radio waves  หรือ  X rays )  ซึ่งจะเหมือนลำแสงที่เกิดบนโลก โดยลำแสง  Gamma-ray  ต้องใช้ เครื่องมือที่มีความละเอียดตรวจจับ การกล่าวถึง  Pulsars  จากการสำรวจ ประการแรกต้องมีรายละเอียดของ  Neutron  stars  เป็นส่วนประกอบ ประการที่สอง ส่วนใหญ่มักคล้ายคลึงกัน ของลำแสง  Pulsars  เกิดขึ้นมีจังหวะ มีช่วงห่างเป็นระยะ เปล่งสะท้อนจากการหมุนรอบตัวเองของ  Neutron stars  ระหว่างช่วงจังหวะลำแสงของ  Pulsars  ใช้เวลาหมุนแต่ละครั้ง ทำให้เกิดการสูญเสียพลังงาน
Pulsars  อายุน้อยมักพบในบริเวณ  Supernova remnants ( เศษซากการระเบิดของซูเปอร์โนวา )  เป็นบริเวณที่เกิด  Neutron stars  อย่างแน่นอน โดย  Pulsars   หมุนปั่นรอบๆ  Neutron stars  มีลักษณะพลิกกลับไปมาและเปล่งสะท้อน  Radio waves  ตามแนวแกนของสนามแม่เหล็ก  ( Magnetic axis)  อย่างไรก็ตาม ไม่สามารถสืบค้นการเกิดของ  Pulsars ได้ทั้งหมด เพราะลำแสงจาก  Neutron stars  บางดวงมาไม่ถึงโลกให้ตรวจจับได้ แต่ไม่มีใครทราบแน่ ชัดว่า การเกิดขึ้นของ  Pulsar ขึ้นมาแล้วมีอายุยาวนานเท่าใดจึงยุติ อย่างน้อยเชื่อว่าหลายพันล้านปี ลำแสงของรังสีจึงหมดสภาพลง  เพราะมีความเป็นได้ จากสนามแม่เหล็กหมดกำลัง ทำให้ลำแสงอ่อนแอ และอ่อนแอลงโดยไม่มีสิ่งใดขัดขวาง
สำรวจ  Radio  Pulsar   การสำรวจครั้งแรก เมื่อ ค . ศ . 1967  ใช้วิธีสำรวจแหล่งคลื่นวิทยุ  ( Radio sources) แต่ปัจจุบันใช้หลายวิธีเช่น  Optical, X-ray  และ  Gamma-ray telescopes การสำรวจโดยใช้  Radio telescope ( กล้องวิทยุโทรทรรศน์ )  ไปยังตำแหน่งคาดหมายอาจใช้เวลาไม่กี่นาทีจนถึง  20  ชั่วโมงให้ระบบคอมพิวเตอร์ของกล้องบันทึกสัญญานไปเรื่อยๆ เสียง สัญญาน  ( Signal)  มีลักษณะ ดังแบบ ตึกๆๆๆๆ หรือวีด เป็นช่วงๆ บางประเภทคล้ายเสียงปืนกลรัวถี่
{{ ฟังเสียงสัญญาน  Pulses}} PSR B0329+54 ประเภท  Normal pulsar Rotating period  ราว  0.714519  ครั้งต่อวินาที
PSR B0833-45  ( The Vela Pulsar ) มีตำแหน่งใกล้ใจกลางของ  Vela supernova remnant  ซึ่งเป็นเศษซากจากการระเบิด มาแล้วราว  10,000  ปี แล้วยุบตัวลงเป็น  Neutron stars  Rotating period  ราว  89  ครั้งต่อมิลลิวินาที  (11  ครั้งต่อวินาที )
PSR B0531+21  ( The Crab Pulsar ) จัดอยู่ในกลุ่ม  Youngest pulsar  มีตำหน่งอยู่บริเวณใจกลาง  Crab Nebula ( นิวบูล่าปู )  ประเภท  Supernova remnant  Rotating period  ราว  30  ครั้งต่อวินาที
ช่องความถี่ที่แตกต่าง ของ  Pulses  เรียกว่า  Pulsar's period ( ช่วงเวลารอบเดินของพัลซาร์ )  โดยมีช่วงน้อยกว่า  1  วินาที จนถึง  8  วินาที เป็นส่วนใหญ่ ช่วงเวลาถี่ห่างของสัญญาน จะแสดงอย่างสม่ำเสมอ และมีจังหวะที่แม่นยำมาก
สำหรับ การเรียกชื่อ  Pulsars  มีหลักเกณฑ์ เรียกดังนี้  Youngest pulsars ( แสดงว่ามีอายุน้อย )  ส่วนเรียกว่า  Pulsars ( แสดงว่ามีอายุหลายพันปีขึ้นไป )  ในแถบทางช้างเผือกมักพบประเภท  Youngest pulsars  ในบริเวณ  Supernova  remnants
แหล่งอ้างอิง http://sunflowercosmos.org/cosmology/cosmology_main/pulsar.html http://www.youtube.com/watch?v=9ioriGSOaLg http://www.youtube.com/watch?v=9ioriGSOaLg&feature=related http://www.youtube.com/watch?v=VfN-WmlrYjs&feature=PlayList&p=9E4C92CE248590F9&playnext=1&playnext_from=PL&index=7
จบการนำเสนอ

More Related Content

What's hot

ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406Vilasinee Threerawong
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์T
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemnative
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2kominoni09092518
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4Joe Stk
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลMeanz Mean
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 

What's hot (13)

Rs
RsRs
Rs
 
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
ดาวเทียม(วิลาสินี+วีรินทร์+ชนม์นิภา)406
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar systemระบบสุริยะ Solar system
ระบบสุริยะ Solar system
 
ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2ระบบสุริยะ2
ระบบสุริยะ2
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาลโครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
โครงงานเรื่อง ระบบสุริยะจักรวาล
 
ระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาลระบบสุริยะจักรวาล
ระบบสุริยะจักรวาล
 

Similar to Pulsars

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 kanjana23
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra1111
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2556
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะratchaneeseangkla
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403Theem N. Veokeki
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวพัน พัน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะsupatthra2557
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401Png Methakullachat
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาnang_phy29
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ployprapim
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1onchalermpong
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 

Similar to Pulsars (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
42101 3
42101 342101 3
42101 3
 
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
อินฟาเรด(ธัชนนท์+ธีม)403
 
โลกและดวงดาว
โลกและดวงดาวโลกและดวงดาว
โลกและดวงดาว
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
ดาวเทียม(ถิระพัฒน์+บุญอุ้ม)401
 
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมาดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
ดงมะไฟพิทยาคม รังสีแกมมา
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 
ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1ดาราศาสตร์1
ดาราศาสตร์1
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
ดาวเทียม(กันต์+น้ำเพชร) ๔๐๑
 
กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4กลุ่มที่ 4
กลุ่มที่ 4
 

Pulsars

  • 2. เดิมนั้นเราทราบว่า ดาวนิวตรอน (Neutron stars) เกิดจากการยุบตัวลงภายใต้แรงดึงดูดของตน ด้วยการระเบิดขึ้น เรียกว่า Supernova explosion จากระบบเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ก๊าซพร่องลง จึงต้องเผาไหม้ทุกสิ่ง ทุกอย่างรวมถึงไส้แกนตัวเองจนระเบิด จาก Neutron stars สู่ Pulsar
  • 3. ดวงอาทิตย์ในระบบสุริยะ ไม่สามารถพัฒนาการเป็น Neutron stars ได้ แต่เมื่อหมด อายุขัย อีกราว 5,000 ล้านปีข้างหน้า จะพัฒนาการเป็น ดาวยักษ์สีแดง (Red Giant) หลังจากนั้นจะกลายเป็น ดาวแคระขาว (White dwarfs) ในลำดับถัดไป ทั้งนี้เพราะการเกิด ซูเปอร์โนวา (Suprenova) เกิดขึ้นได้กับ ดาวที่มีขนาดยักษ์มวลมากกว่าดวงอาทิตย์ ( อย่างน้อย 2-3 เท่า ) จึงสามารถเกิดการระเบิดแบบ Supernova explosion ส่งผลให้เกิด Neutron stars ตามมา
  • 4. แต่หากดาว มีขนาดใหญ่ยักษ์มากกว่านั้น จะยุบตัวเป็นหลุมดำ (Back holes) โดยเชื่อว่า Neutron stars มีความหนาแน่นสูงมาก หมุนปั่นรอบตัวเองรวดเร็ว ตนเองมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเพียง 10 กิโลเมตร และรอบๆ มีสนามแม่เหล็กขนาดใหญ่ ( Large magnetic fields)
  • 5. การมีสนามแม่เหล็ก ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอนุภาค จากการเคลื่อนไหวเป็นลำยาวของสนามแม่เหล็ก เกิดเป็นลำแสง จากรังสีที่เปล่งสะท้อนจากขั้วแม่เหล็ก ( Magnetic poles) หมุนเวียนไปรอบๆ ดาวนิวตรอน ลำแสงนั้นส่องยาวไกลออกไปในอวกาศ บนโลกจึงสามารถตรวจจับลำแสงนั้นได้ ด้วย Radio telescope ลักษณะแสงดังกล่าว ยาวเป็นลำ คล้ายกับแสงที่หมุนส่องเป็นลำยาวออกมาจากประภาคาร พร้อมกับหมุนไปรอบๆ ( หรือเปรียบเหมือนไฟไซเรน บนหลังคารถพยาบาล แต่จะพลิกไปพลิกมาขณะหมุนด้วย ) ด้วยความเร็วมากกว่า 100 รอบต่อวินาที
  • 6. คำจำกัดความ ของ Pulsar Pulsar คือ อำนาจแม่เหล็กพลังสูง ( Highly magnetised) ของ ดาวนิวตรอนซึ่งเกิดจากการยุบตัวของดาว ที่มีมวลมากกว่าดวงอาทิตย์ มีรัศมีราว 1 ล้านกิโลเมตรเหลือขนาด มีรัศมีราว 10-15 กิโลเมตร ( เป็นดาวนิวตรอนแสดงการแผ่หรือเปล่งรังสี จากขั้วแม่เหล็ก ( Magnetic poles) เป็นลำแสง ( Beam) ทะแยงออกมาสู่โลก ลักษณะเหมือนกับไฟส่องพุ่งออกมา เช่นไฟจากประภาคาร ( Lighthouse) แบบวูบวาบ โดยมีช่วงจังหวะรอบหมุนอย่างเที่ยงตรง แม่นยำมาก เรียกลำแสงนั้นว่า Pulsar ( พัลซาร์ )  
  • 7. ระบบทั่วไปของ Pulsar ทั้งนี้การสำรวจพบ Neutron stars ราวจำนวน 1,800 ดวง แต่ละดวงเต็มไปด้วยความแปลกประหลาด เหมือน Cosmic zoo เกิดจากการยุบตัวของดาว ขนาดใหญ่กว่าดวงอาทิตย์ เหลือสัดส่วนเท่าเมืองเล็กๆ บนโลก 1 เมือง ( ราว 10 กิโลเมตร ) ทั้งหมดเกิด Pulsars เพราะมีลำแสง แบบประภาคารส่องยาวออกมา ในประเภท Radio waves หรือ X rays แต่ก็มีจำนวนมากเกิดขึ้น แต่มองไม่เห็นจากบนโลก
  • 8. ในทางทฤษฎี Pulsars ที่มีลำแสงแบบ Gamma-ray จากมีความกว้างและไกลกว่า ( แบบลำแสง Radio waves หรือ X rays ) ซึ่งจะเหมือนลำแสงที่เกิดบนโลก โดยลำแสง Gamma-ray ต้องใช้ เครื่องมือที่มีความละเอียดตรวจจับ การกล่าวถึง Pulsars จากการสำรวจ ประการแรกต้องมีรายละเอียดของ Neutron stars เป็นส่วนประกอบ ประการที่สอง ส่วนใหญ่มักคล้ายคลึงกัน ของลำแสง Pulsars เกิดขึ้นมีจังหวะ มีช่วงห่างเป็นระยะ เปล่งสะท้อนจากการหมุนรอบตัวเองของ Neutron stars ระหว่างช่วงจังหวะลำแสงของ Pulsars ใช้เวลาหมุนแต่ละครั้ง ทำให้เกิดการสูญเสียพลังงาน
  • 9. Pulsars อายุน้อยมักพบในบริเวณ Supernova remnants ( เศษซากการระเบิดของซูเปอร์โนวา ) เป็นบริเวณที่เกิด Neutron stars อย่างแน่นอน โดย Pulsars หมุนปั่นรอบๆ Neutron stars มีลักษณะพลิกกลับไปมาและเปล่งสะท้อน Radio waves ตามแนวแกนของสนามแม่เหล็ก ( Magnetic axis) อย่างไรก็ตาม ไม่สามารถสืบค้นการเกิดของ Pulsars ได้ทั้งหมด เพราะลำแสงจาก Neutron stars บางดวงมาไม่ถึงโลกให้ตรวจจับได้ แต่ไม่มีใครทราบแน่ ชัดว่า การเกิดขึ้นของ Pulsar ขึ้นมาแล้วมีอายุยาวนานเท่าใดจึงยุติ อย่างน้อยเชื่อว่าหลายพันล้านปี ลำแสงของรังสีจึงหมดสภาพลง เพราะมีความเป็นได้ จากสนามแม่เหล็กหมดกำลัง ทำให้ลำแสงอ่อนแอ และอ่อนแอลงโดยไม่มีสิ่งใดขัดขวาง
  • 10. สำรวจ Radio Pulsar การสำรวจครั้งแรก เมื่อ ค . ศ . 1967 ใช้วิธีสำรวจแหล่งคลื่นวิทยุ ( Radio sources) แต่ปัจจุบันใช้หลายวิธีเช่น Optical, X-ray และ Gamma-ray telescopes การสำรวจโดยใช้ Radio telescope ( กล้องวิทยุโทรทรรศน์ ) ไปยังตำแหน่งคาดหมายอาจใช้เวลาไม่กี่นาทีจนถึง 20 ชั่วโมงให้ระบบคอมพิวเตอร์ของกล้องบันทึกสัญญานไปเรื่อยๆ เสียง สัญญาน ( Signal) มีลักษณะ ดังแบบ ตึกๆๆๆๆ หรือวีด เป็นช่วงๆ บางประเภทคล้ายเสียงปืนกลรัวถี่
  • 11. {{ ฟังเสียงสัญญาน Pulses}} PSR B0329+54 ประเภท Normal pulsar Rotating period ราว 0.714519 ครั้งต่อวินาที
  • 12. PSR B0833-45 ( The Vela Pulsar ) มีตำแหน่งใกล้ใจกลางของ Vela supernova remnant ซึ่งเป็นเศษซากจากการระเบิด มาแล้วราว 10,000 ปี แล้วยุบตัวลงเป็น Neutron stars Rotating period ราว 89 ครั้งต่อมิลลิวินาที (11 ครั้งต่อวินาที )
  • 13. PSR B0531+21 ( The Crab Pulsar ) จัดอยู่ในกลุ่ม Youngest pulsar มีตำหน่งอยู่บริเวณใจกลาง Crab Nebula ( นิวบูล่าปู ) ประเภท Supernova remnant Rotating period ราว 30 ครั้งต่อวินาที
  • 14. ช่องความถี่ที่แตกต่าง ของ Pulses เรียกว่า Pulsar's period ( ช่วงเวลารอบเดินของพัลซาร์ ) โดยมีช่วงน้อยกว่า 1 วินาที จนถึง 8 วินาที เป็นส่วนใหญ่ ช่วงเวลาถี่ห่างของสัญญาน จะแสดงอย่างสม่ำเสมอ และมีจังหวะที่แม่นยำมาก
  • 15. สำหรับ การเรียกชื่อ Pulsars มีหลักเกณฑ์ เรียกดังนี้ Youngest pulsars ( แสดงว่ามีอายุน้อย ) ส่วนเรียกว่า Pulsars ( แสดงว่ามีอายุหลายพันปีขึ้นไป ) ในแถบทางช้างเผือกมักพบประเภท Youngest pulsars ในบริเวณ Supernova remnants
  • 16. แหล่งอ้างอิง http://sunflowercosmos.org/cosmology/cosmology_main/pulsar.html http://www.youtube.com/watch?v=9ioriGSOaLg http://www.youtube.com/watch?v=9ioriGSOaLg&feature=related http://www.youtube.com/watch?v=VfN-WmlrYjs&feature=PlayList&p=9E4C92CE248590F9&playnext=1&playnext_from=PL&index=7