SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
มลพิษทางเสียง
(Noise Pollution)
มลพิษทางเสียง หมายถึง สภาพแวดล้อมที่มี
เสียงดังเกินค่ามาตรฐานที่กรมควบคุมมลพิษกาหนดอัน
ก่อให้เกิดความราคาญ สร้างความรบกวน ทาให้เกิด
ความเครียดทั้งทางร่างกายและจิตใจ ทาให้ตกใจ และอาจถึง
ขั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยได้ เช่น เสียงที่ดังมาก
หรือเสียงที่ดังยาวต่อเนื่อง
ประเภทของแหล่งกาเนิดมลพิษเสียง
แหล่งที่ก่อให้เกิดเสียงรบกวนอันเป็นมลพิษทางเสียง ส่วนใหญ่เกิดจากการกระทาของมนุษย์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ประเภทเคลื่อนที่ ได้แก่
- เสียงจากยานพาหนะทางบก ได้แก่ รถยนต์ รถไฟ
รถจักรยานยนต์ เป็นต้น
- เสียงจากยานพาหนะทางน้า เช่น เรือหางยาว เป็นต้น
- เสียงจาดยานพาหนะทางอากาศ เช่น เครื่องบิน เป็น
ต้น
- เสียงจากเครื่องกลหนักที่ใช้ในการก่อสร้าง
- เสียงจากเครื่องขยายเสียงบนรถโฆษณาเคลื่อนที่
2. ประเภทอยู่กับที่ ได้แก่
- สถานประกอบการต่างๆ เช่น โรงงานอุตสาหกรรม อู่ซ่อม
รถยนต์ โรงมหรสพ และสวนสนุก
- เสียงจากเครื่องมือกลที่ใช้ในการก่อสร้าง เช่น เครื่องเจาะ
คอนกรีต
- เครื่องขยายเสียงตามสถานที่ต่างๆ สถานที่เริงรมย์
- เสียงจากปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น ฟ้าผ่า ฟ้าร้อง ภูเขาไฟ
ระเบิด
ผลกระทบจากภาวะมลพิษทางเสียง
1. ผลกระทบต่อการได้ยิน แบ่งเป็น 3 ลักษณะคือ
- หูหนวกทันที เกิดขึ้นจากการที่อยู่ในบริเวณที่มีเสียงดังเกิน 120 เดซิเบลเอ
- หูอื้อชั่วคราว เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในที่มีระดับเสียงดังตั้งแต่ 80 เดซิเบลเอขึ้นไปในเวลาไม่นานนัก
- หูอื้อถาวร เกิดขึ้นเมื่ออยู่ในบริเวณที่มีระดับความดังมากเป็นเวลานานๆ
2. ด้านสรีระวิทยา เช่น ผลกระทบต่อระบบการหมุนเวียนของเลือด ต่อมไร้ท่อ อวัยวะสืบพันธุ์ ระบบ
ประสาท และความผิดปกติของระบบการหดและบีบลาไส้ใหญ่ เป็นต้น
3. ด้านจิตวิทยา เช่น สร้างความราคาญ ส่งผลต่อการนอนหลับพักผ่อน ผลต่อการทางานและการ
เรียนรู้ รบกวนการสนทนาและการบันเทิง
4. ด้านสังคม กระทบต่อการสร้างมนุษยสัมพันธ์ที่ดี ทาให้ขาดความสงบ
5. ด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตต่าเนื่องจากประสิทธิภาพการทางานลดลง เสียค่าใช้จ่ายในการควบคุม
เสียง
6. ด้านสิ่งแวดล้อม เสียงดังมีผลต่อการดารงชีวิตของสัตว์ เช่น ทาให้สัตว์ตกใจและอพยพหนี
การป้องกันและแก้ไขภาวะมลพิษทางเสียง
ไม่เพียงเฉพาะในสังคมของมนุษย์ มลภาวะทางเสียงยังส่งผล
กระทบต่อวงจรและการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตชนิดอื่นใน
ระบบนิเวศ โดยเฉพาะสัตว์ป่าทั้งหลาย ไม่ว่าจะเป็นการส่งผล
ให้นกบลูเบิร์ด (Bluebird) วางไข่น้อยลงหรือการขัดขวาง
การสื่อสารและการกาหนดทิศทางของวาฬและโลมาใน
มหาสมุทร
เสียงดังเหล่านี้ ไม่ว่าจะเกิดขึ้นบนบกหรือในทะเล ต่างส่งผล
กระทบต่อการดารงชีวิตของสัตว์ในหลากหลายด้าน เช่น
การหลบภัยและการหลีกหนีจากสัตว์นักล่า การออกหาอาหาร
หรือแม้แต่การออกหาคู่เพื่อผสมพันธุ์ มลภาวะทางเสียงทาให้
สัตว์จานวนมากดาเนินชีวิตอย่างยากลาบากยิ่งขึ้น
หูของมนุษย์ทั่วไป สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่ อยู่ในช่วงประมาณ 20 Hz ถึง 20,000 Hz (20kHz) และระดับความดันเสียง
(ความดัง) ที่อยู่ในช่วงระหว่าง 0 เดซิเบล (dB) ถึง 140 เดซิเบล ซึ่งเป็นระดับที่ทาให้มนุษย์เกิดความเจ็บปวด การเพิ่มขึ้นของ
ความดันเสียงที่ 1 เดซิเบลเป็นค่าที่ต่าที่สุดที่เราจะสามารถสังเกตความดังที่เพิ่มขึ้นได้ หากแต่ ผู้ฟังจะรู้สึกถึงความดังที่เพิ่มขึ้น
ได้อย่างชัดเจนต่อเมื่อระดับเสียงเพิ่มขึ้น 8 เดซิเบล
ดังนั้น ถ้ารอบตัวเรามีเสียงรบกวนที่ระดับ 70 เดซิเบลเอ (ริมถนนที่มี
การจราจรค่อนข้างคับคั่ง) เราจาต้องพูดด้วยความดังที่ 78 เดซิเบลเอ
(ตะโกน) เพื่อให้คู่สนทนาของเราได้ยินสิ่งที่เราพูดอย่างชัดเจน นั่นหมายถึงเรา
ต้องพูดดังกว่าเสียงพูดคุยปกติ(เสียงพูดคุยปกติของคนเราอยู่ที่ประมาณ 60
เดซิเบลเอ) ถึง 18 เดซิเบลเอ
เราอาจสับสนว่า เดซิเบล กับ เดซิเบลเอ ต่างกัน อย่างไร เหตุผล
อธิบายมีดังนี้ เนื่องจากธรรมชาติการได้ยินของมนุษย์ไม่ไว
ต่อความถี่ที่ต่ามากๆ และความถี่ที่สูงมากๆ ดังนั้นเพื่อให้การวัดเสียง
โดยเครื่องมือวัดสอดคล้องและเป็นตัวแทน การได้ยิน
ของมนุษย์ จึงต้องมีการถ่วงน้าหนัก (weighting filters) ที่ให้ผล
ใกล้เคียงกับหูของมนุษย์มากที่สุด คือ การถ่วงน้าหนักแบบ A
หรือ "A-weighting" แสดงค่าเป็น เดซิเบลเอ แปลง่ายๆ คือการไม่
นับรวมเสียงที่มีความถี่ต่ามากๆ และสูงมากๆ มาคานวณนั่นเอง
ระดับของเสียงที่เราได้ยินเป็นประจา
ประเภทของเสียง ความดังของเสียง (เดซิเบล เอ)
เสียงลมหายใจ 10
เสียงน้าหยดจากก๊อก 20
เสียงกระซิบ 30
เสียงตู้เย็น 40
เสียงดนตรีจากวิทยุเบา ๆ 50
เสียงการสนทนาธรรมดา 60
เสียงเครื่องตัดหญ้า 70
เสียงรถยนต์ 80
เสียงรถบรรทุก 90
เสียงขุดเจาะถนน 100
เสียงในโรงงานอุตสาหกรรม 60-120
เสียงค้อน เครื่องปั๊มโลหะ 120
เสียงเครื่องบินขึ้น 140
ที่มา : สุวรรณา, 2549.
มาตรฐานระดับเสียง
1. มาตรฐานระดับเสียงโดยทั่วไป
• กรมควบคุมมลพิษได้กาหนดมาตรฐานระดับเสียง โดยทั่วไป ระดับเสียง เฉลี่ย
24 ชั่วโมง ไม่เกิน 70 เดซิเบลเอ และมีค่าสูงสุดไม่เกิน 115 เดซิเบล เอ
• ส่วนองค์การอนามัยโลกกาหนดระดับเสียงเฉลี่ย 8 ชั่วโมง
ไม่เกิน 78 เดซิเบล เอ
2. มาตรฐานระดับเสียงจากการจราจร
•ยานพาหนะทางบก กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 2536 กาหนดให้ระดับเสียงรถยนต์และ
รถจักรยานยนต์ 1) วัดที่ระยะ 7.5 เมตร ต้องไม่เกิน 85 เดซิเบล เอ 2) วัดที่ระยะ 0.5 เมตร ต้องไม่เกิน
100 เดซิเบล เอ
•ยานพาหนะทางน้า กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม 2537 กาหนดให้วัดระดับเสียงเรือจอดอยู่
กับที่และเกียร์ว่าง 1) วัดที่ระยะ 0.5 เมตร ต้องไม่เกิน 100 เดซิเบล เอ
3. มาตรฐานระดับเสียงโรงงานอุ ตสาหกรรม
•มาตรฐานของ ISO กาหนดให้ชั่วโมงทางาน 8 ชั่วโมง ระดับความดัง เสียงไม่เกิน 90 เดซิเบล เอ
•ถ้ามีระดับความดังเสียงเพิ่มขึ้น 3 เดซิเบล เอ ชั่วโมง การทางานลดลง ครึ่งหนึ่ง เช่น ระดับความดังเสียง 93
เดซิเบล เอ ทางานได้ไม่เกิน 4 ชั่วโมง
ระดับเสียงต่อเวลาการทางาน
ระดับความดังเสียง (เดซิเบลเอ) ระยะเวลาที่อนุญาตให้ทางานต่อวัน
85 16 ช.ม.
90 8 ช.ม.
95 4 ช.ม.
100 2 ช.ม.
105 1 ช.ม.
110 30 นาที
115 15 นาที
• ที่มา : พรรณศิริ, 2543.
ระดับเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียงประเภทต่าง ๆ
แหล่งกาเนิดเสียง ความดัง (เดซิเบล เอ)
เสียงจากจราจรทางบก 65-95
จราจรทางอากาศ 70-95
จราจรทางน้า 80-110
แหล่งชุมชนเมือง ตลาด 60-70
โรงงานอุตสาหกรรม 60-120
การก่อสร้าง 60-120
อู่ซ่อมรถและเครื่องจักรกล 98-110
• ที่มา : เกษม, 2530
เวลาแห่งความเงียบ (ภายในอาคาร)
กองทุนสิ่งแวดล้อมวัฒนธรรมมูลนิธิสิ่งแวดล้อมไทย
เวลา กิจกรรม ระดับเสียง
21.00- 07.00 น. นอนพักผ่อน 35 dBA
07.00 - 09.00 น. เดินทางจากบ้าน 70 dBA
09.00 - 17.00 น. ทางาน 55 dBA
17.00 - 19.00 น. เดินทางกลับบ้าน 70 dBA
19.00 - 21.00 น. เวลาครอบครัว 45 dBA
การป้องกันอันตรายจากมลพิษทางเสียง
1. ลดความดังของเสียงลง
2. หลีกเลี่ยงบริเวณที่มีเสียงดังเกินกาหนด
3. ใช้เครื่องป้องกันเสียง
4. ใช้การควบคุมทางด้านวิศวกรรม เช่น บารุงรักษา
เครื่องยนต์ สร้างวัสดุกันเสียง
5. ปลูกต้นไม้เป็นจานวนมาก
บรรณานุกรม
เว็บไซต์ : http://bio.flas.kps.ku.ac.th/courses/201/4.pdf
: https://sites.google.com/site/environmentandlife10/gg/mlphis-thang-seiyng
: http://www.sk-vp.com/skinfo1.html
นางสาวภัศรา บุญชาติ 610401401224
นางสาวณัฏฐณิชา พรหมเผ่า 610401403686
นายรัตนชัย เนียมสอน 580401425137
สมาชิก

More Related Content

What's hot

แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานkrunueng1
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Pondpot
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวkrupornpana55
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายpeter dontoom
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยFURD_RSU
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมพัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 

What's hot (20)

แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลายข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
ข้อสอบทักษะการเรียนรู้ กศน.ปลาย
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทยเล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
เล่าเรื่องแม่สอด เมืองชายแดนตะวันตกของไทย
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อมปัญหาสิ่งเเวดล้อม
ปัญหาสิ่งเเวดล้อม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 

Noise pollution