SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
จิตวิทยาการเรียนรู้
แนวคิด ๑ .  การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำให้บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ๒ .  การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ   ลักษณะสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น คือ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร   ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซ้ำๆ และมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทั้งทางปริมาณและคุณภาพ ๓ .  ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของบทเรียน  เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้  สามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม   เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ ๑ .  บอกองค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๒ .  อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๓ .  อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
ความหมายของจิตวิทยาการเรียนรู จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษวา  Psychology  มีรากศัพทมาจากภาษากรีก  2   คํา คือ  Phyche  แปลวา วิญญาณ กับ  Logos  แปลวา การศึกษาตามรูปศัพทจิตวิทยาจึงแปลวา วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ  แตในปจจุบันนี้ จิตวิทยาไดมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยาไดมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปดว นั่นคือ จิตวิทยาเปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย และสัตว
การเรียนรู  ( Lrarning )  ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอยางคอนขางถาวร อันเปนผลมาจากการฝกฝนหรือการมีประสบการณ พฤติกรรม เปลี่ยนแปลงที่ไมจัดวาเกิดจากการเรียนรู  ไดแก พฤติกรรมที่เปนการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
ธรรมชาติของการเรียนรู มี  4   ขั้นตอน คือ 1   ความตองการของผูเรียน  ( Want )  คือ ผูเรียนอยากทราบอะไร เมื่อผูเรียนมีความตองการอยากรูอยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเปนสิ่งที่ยั่วยุใหผูเรียนเกิดการเรียนรูได  2   สิ่งเราที่นาสนใจ  ( Stimulus )  กอนที่จะเรียนรูได จะตองมีสิ่งเราที่นาสนใจ และนาสัมผัสสําหรับมนุษย ทําใหมนุษยดิ้นรนขวนขวาย และใฝใจที่จะเรียนรูในสิ่งที่นาสนใจนั้น ๆ
3.  การตอบสนอง  ( Response )  เมื่อมีสิ่งเราที่นาสนใจและนาสัมผัส มนุษยจะทําการสัมผัสโดยชประสาทสัมผัสตาง ๆ เชน ตาดู หูฟง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสดวยใจ เปนตน ทําใหมีการแปลความหมายจากการสัมผัสสิ่งเรา เปนการรับรู จําได ประสานความรูเขาดวยกัน มีการเปรียบเทียบ และคิดอยางมีเหตุผล  4.   การไดรับรางวัล  ( Reward )  ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษยอาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเปนกําไรชีวิตอยางหนึ่ง จะไดนําไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เชน การไดเรียนรู ในวิชาชีพชั้นสูง จนสามารถออกไปประกอบอาชีพชั้นสูง  ( Professional )  ได นอกจากจะไดรับรางวัลทางเศรษฐกิจเปนเงินตราแลว ยังจะไดรับเกียรติยศจากสังคมเปนศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจทางสังคมไดประการหนึ่งดวย
การลําดับขั้นของการเรียนรู ในกระบวนการเรียนรูของคนเรานั้น จะประกอบดวยลําดับขั้นตอนพื้นฐานที่สําคัญ  3  ขั้นตอนดวยกัน คือ 1.  ประสบการณ  ( experiences )  ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรูอยูดวยกันทั้งนั้น สวนใหญที่เปนที่เขาใจก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งหา ซึ่งไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ประสาทรับรูเหลานี้จะเปนเสมือนชองประตูที่จะใหบุคคลไดรับรูและตอบสนองตอสิ่งเราตาง ๆ 2.  ความเขาใจ  ( understanding )  หลังจากบุคคลไดรับประสบการณแลว ขั้นตอไปก็คือ ตีความหมายหรือสรางมโนมติ  ( concept )  ในประสบการณนั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะสมองจะเกิดสัญญาณ  (  percept )  และมีความทรงจํา  ( retain )  ขึ้น ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้วา  " ความเขาใจ "
3   ความนึกคิด  ( thinking )  ความนึกคิดถือวาเปนขั้นสุดทายของการเรียนรู ซึ่งเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง  Crow  ( 1948 )  ไดกลาววา ความนึกคิดที่มีประสิทธิภาพนั้น ตองเปนความนึกคิดที่สามารถจัดระเบียบ  ( organize )  ประสบการณเดิมกับประสบการณใหมที่ไดรับใหเขากันได สามารถที่จะคนหาความสัมพันธระหวางประสบการณทั้งเกาและใหม ซึ่งเปนหัวใจสําคัญที่จะทําใหเกิดบูรณาการการเรียนรูอยางแทจริง
ทฤษฎีการเรียนรู้   ( Theory of Learning ) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข   ( Conditioning Theory )                  การเรียนรู้แบบนี้      คือ   การที่บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองต่างๆ ของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ที่มีความเข้มพอที่จะเร้าความสนใจได้ซึ่งการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเป็นผลของประสบการณ์และการทำบ่อยๆ หรือการทำแบบฝึกหัดแสดงให้เห็นว่าเรามีความเข้าใจเบื้องต้นว่าบุคคลได้เรียนอะไรบางอย่างเมื่อพฤติกรรมของเขาเปลี่ยนแปลงไปในทางใดทางหนึ่งนักจิตวิทยาเชื่อว่า เงื่อนไข   ( Conditioning )  เป็นกระบวนการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน   การวางเงื่อนไขมี   2  อย่างคือ   การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  และการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ   ( operant Conditioning )    
ทฤษฎีสิ่งเสริมแรง   (Reinforcement Theory ) เบอร์ฮัส เฟดเดอริค สกินเนอร์   (Burrhus Federick Skinner)  นักจิตวิทยาพัฒนาทฤษฎีสิ่งเสรีมแรงเรียกว่า   สิ่งเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)  ใช้หลักการจูงใจแต่ละบุคคลให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม   โดยชการออกแบบและจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีบรรยากาศน่าทำงาน   ในการยกย่องชมเชยบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานดี   และใช้การลงโทษซึ่งทำให้เกิดผลลบแก่บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานต่ำมาก
ประเภทของสิ่งล่อใจ   (Types of Incentives ) ประเภทที่   1  สิ่งล่อใจปฐมภูมิ (Primary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่สามารถทำให้เกิดความพึงพอใจในด้านความต้องการทางด้านสรีระ   เพื่อความมีชีวิตอยู่รอด   ได้แก่   ปัจจัย   5  คือ   อาหาร , เสื้อผ้า , ที่อยู่อาศัย , ยารักษาโรคและความต้องการทางเพศ ประเภทที่   2  สิ่งล่อใจทุติยภูมิ (Secondary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่ทำให้เกิดประสบการณ์แปลกใหม่   และมีการเร้าใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่การทำงานที่ตรงกับความสนใจ   ความถนัด   ท้าทายความสามารถหรือเป็นงานใหม่ที่ลดความจำเจซ้ำซาก  
ประเภทที่   3    สิ่งล่อใจทางสังคม   (Social Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับการให้การยอมรับยกย่องนับถือ   ให้ความไว้วางใจ   ให้ความเชื่อถือ   ให้อิสรภาพและการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะที่ดีในการทำงาน   โดยกระทำให้เป็นที่ปรากฏและรู้จักแก่เพื่อนร่วมงาน   ผู้บริหารงาน   ประเภทที่   4  สิ่งล่อใจที่เป็นเงิน   (Monetary Incentives)  สิ่งล่อใจที่เป็นเงินเป็นการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่บุคคลที่ทำงานมีผลงานดีหรือผลผลิตพิ่มขึ้น   หรือมีผลกำไรเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นสิ่งล่อใจให้บุคคลที่ทำงานดีอยู่แล้ว   หรือบุคคลที่ทำงานยังไม่ถึงเกณฑ์ระดับดีได้มีของขวัญและกำลังใจเพิ่มขึ้น
ประเภทที่   5   สิ่งล่อใจที่เป็นกิจกรรม (Activity Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับกิจกรรมทำงานตามตำแหน่งหน้าที่   ผู้บริหารงานมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ผู้ทำงานได้ทำงานตรงกับความรู้ความสามารถ   ความสนใจ   ความถนัด   เพื่อเป็นการจูงใจในการทำงาน   ผู้บริหารงานสามารถจัดให้มีการแข่งขันในการทำงาน   โดยกำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนผลงานหรือผลผลิตภายในเวลาเท่าใดและกำหนดการให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่สามารถทำงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้   วิธีดังกล่าวนี้จะเป็นการจูงใจผู้ทำงานเกิดความรู้สึกอยากจะทำงานให้มีผลงานหรือผลผลิตเพิ่มขึ้น
END

More Related Content

What's hot

การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดSununtha Putpun
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยNaree50
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมNaracha Nong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษาAdoby Milk Pannida
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูarpokasin
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิตวิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิตAmu P Thaiying
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการRukvicha Jitsumrawy
 

What's hot (14)

การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดการ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
การ เรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิด
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
เพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอยเพาเวอร์พอย
เพาเวอร์พอย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษากลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
กลุ่ม 3 ทฤษฎีและแนวคิด นวัตกรรมการศึกษา
 
หลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครูหลักสูตรบูชาครู
หลักสูตรบูชาครู
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิตวิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
วิเคราะห์การเรียนการสอนวิชาการพัฒนาจิต
 
จิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการจิตวิทยาพัฒนาการ
จิตวิทยาพัฒนาการ
 

Viewers also liked

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7team00428
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7team00428
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้pajyeeb
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2team00428
 
Pelajaran dari seekor kupu kupu
Pelajaran dari seekor kupu kupuPelajaran dari seekor kupu kupu
Pelajaran dari seekor kupu kupuJoko Daryanto
 
edErp guide for overview page customization
edErp guide for overview page customizationedErp guide for overview page customization
edErp guide for overview page customizationElijahmar Cogollodo
 

Viewers also liked (19)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
จิตวิทยาการเรียนรู้ 2
 
We've Got the Power, Use it!
We've Got the Power, Use it!We've Got the Power, Use it!
We've Got the Power, Use it!
 
Pelajaran dari seekor kupu kupu
Pelajaran dari seekor kupu kupuPelajaran dari seekor kupu kupu
Pelajaran dari seekor kupu kupu
 
Guide to Queuing System
Guide to Queuing SystemGuide to Queuing System
Guide to Queuing System
 
How to view grades
How to view gradesHow to view grades
How to view grades
 
edErp guide for overview page customization
edErp guide for overview page customizationedErp guide for overview page customization
edErp guide for overview page customization
 

Similar to จิตวิทยาการเรียนรู้

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Natida Boonyadetwong
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Pptจิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Pptjaacllassic
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้jaacllassic
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeajaacllassic
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยาhadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้team00428
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02Mai Amino
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้hadesza
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Sasipron Tosuk
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.ya035
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้honeylamon
 

Similar to จิตวิทยาการเรียนรู้ (20)

จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Pptจิตวิทยาการเรียนรู้   ข้าเจ้า.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้ ข้าเจ้า.Ppt
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jeaจิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
จิตวิทยาการเรียนรู้ Jea
 
จิตวิทยา
จิตวิทยาจิตวิทยา
จิตวิทยา
 
จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2จิตวิทยาการเรียนรู้2
จิตวิทยาการเรียนรู้2
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth025cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
5cs3gik5rf0t0l42j9hbvpth02
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
Original b.
Original b.Original b.
Original b.
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
บทที่ ๕ บทสรุปและข้อเสนอแนะ ๒๓๐๐
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 

จิตวิทยาการเรียนรู้

  • 2. แนวคิด ๑ . การเรียนรู้คือการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่เป็นผลเนื่องมาจากการได้รับประสบการณ์และทำให้บุคคลเผชิญกับสถานการณ์เดิมแตกต่างไปจากเดิม ๒ . การเรียนรู้เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยวุฒิภาวะ ลักษณะสำคัญที่แสดงให้เห็นว่ามีการเรียนรู้เกิดขึ้น คือ มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างคงทนถาวร ที่เป็นผลมาจากประสบการณ์หรือการฝึก การปฏิบัติซ้ำๆ และมีการเพิ่มพูนในด้านความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึกและความสามารถทั้งทางปริมาณและคุณภาพ ๓ . ทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ ช่วยให้ครูจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 3. วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของบทเรียน เพื่อให้ผู้เข้ารับการศึกษาเข้าใจจิตวิทยาการเรียนรู้ สามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการสอนและการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม เมื่อศึกษาจบบทเรียนผู้เข้ารับการศึกษาแต่ละคนสามารถ ๑ . บอกองค์ประกอบของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๒ . อธิบายธรรมชาติของการเรียนรู้ได้ถูกต้อง ๓ . อธิบายการถ่ายโยงการเรียนรู้ได้ถูกต้อง
  • 4. ความหมายของจิตวิทยาการเรียนรู จิตวิทยา ตรงกับภาษาอังกฤษวา Psychology มีรากศัพทมาจากภาษากรีก 2 คํา คือ Phyche แปลวา วิญญาณ กับ Logos แปลวา การศึกษาตามรูปศัพทจิตวิทยาจึงแปลวา วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับวิญญาณ แตในปจจุบันนี้ จิตวิทยาไดมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไป ความหมายของจิตวิทยาไดมีการพัฒนาเปลี่ยนแปลงตามไปดว นั่นคือ จิตวิทยาเปนศาสตรที่ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย และสัตว
  • 5. การเรียนรู ( Lrarning ) ตามความหมายทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลอยางคอนขางถาวร อันเปนผลมาจากการฝกฝนหรือการมีประสบการณ พฤติกรรม เปลี่ยนแปลงที่ไมจัดวาเกิดจากการเรียนรู ไดแก พฤติกรรมที่เปนการเปลี่ยนแปลงชั่วคราว และการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เนื่องมาจากวุฒิภาวะ
  • 6. ธรรมชาติของการเรียนรู มี 4 ขั้นตอน คือ 1 ความตองการของผูเรียน ( Want ) คือ ผูเรียนอยากทราบอะไร เมื่อผูเรียนมีความตองการอยากรูอยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเปนสิ่งที่ยั่วยุใหผูเรียนเกิดการเรียนรูได 2 สิ่งเราที่นาสนใจ ( Stimulus ) กอนที่จะเรียนรูได จะตองมีสิ่งเราที่นาสนใจ และนาสัมผัสสําหรับมนุษย ทําใหมนุษยดิ้นรนขวนขวาย และใฝใจที่จะเรียนรูในสิ่งที่นาสนใจนั้น ๆ
  • 7. 3. การตอบสนอง ( Response ) เมื่อมีสิ่งเราที่นาสนใจและนาสัมผัส มนุษยจะทําการสัมผัสโดยชประสาทสัมผัสตาง ๆ เชน ตาดู หูฟง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสดวยใจ เปนตน ทําใหมีการแปลความหมายจากการสัมผัสสิ่งเรา เปนการรับรู จําได ประสานความรูเขาดวยกัน มีการเปรียบเทียบ และคิดอยางมีเหตุผล 4. การไดรับรางวัล ( Reward ) ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษยอาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเปนกําไรชีวิตอยางหนึ่ง จะไดนําไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เชน การไดเรียนรู ในวิชาชีพชั้นสูง จนสามารถออกไปประกอบอาชีพชั้นสูง ( Professional ) ได นอกจากจะไดรับรางวัลทางเศรษฐกิจเปนเงินตราแลว ยังจะไดรับเกียรติยศจากสังคมเปนศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจทางสังคมไดประการหนึ่งดวย
  • 8. การลําดับขั้นของการเรียนรู ในกระบวนการเรียนรูของคนเรานั้น จะประกอบดวยลําดับขั้นตอนพื้นฐานที่สําคัญ 3 ขั้นตอนดวยกัน คือ 1. ประสบการณ ( experiences ) ในบุคคลปกติทุกคนจะมีประสาทรับรูอยูดวยกันทั้งนั้น สวนใหญที่เปนที่เขาใจก็คือ ประสาทสัมผัสทั้งหา ซึ่งไดแก ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง ประสาทรับรูเหลานี้จะเปนเสมือนชองประตูที่จะใหบุคคลไดรับรูและตอบสนองตอสิ่งเราตาง ๆ 2. ความเขาใจ ( understanding ) หลังจากบุคคลไดรับประสบการณแลว ขั้นตอไปก็คือ ตีความหมายหรือสรางมโนมติ ( concept ) ในประสบการณนั้น กระบวนการนี้เกิดขึ้นในสมองหรือจิตของบุคคล เพราะสมองจะเกิดสัญญาณ ( percept ) และมีความทรงจํา ( retain ) ขึ้น ซึ่งเราเรียกกระบวนการนี้วา " ความเขาใจ "
  • 9. 3 ความนึกคิด ( thinking ) ความนึกคิดถือวาเปนขั้นสุดทายของการเรียนรู ซึ่งเปนกระบวนการที่เกิดขึ้นในสมอง Crow ( 1948 ) ไดกลาววา ความนึกคิดที่มีประสิทธิภาพนั้น ตองเปนความนึกคิดที่สามารถจัดระเบียบ ( organize ) ประสบการณเดิมกับประสบการณใหมที่ไดรับใหเขากันได สามารถที่จะคนหาความสัมพันธระหวางประสบการณทั้งเกาและใหม ซึ่งเปนหัวใจสําคัญที่จะทําใหเกิดบูรณาการการเรียนรูอยางแทจริง
  • 10. ทฤษฎีการเรียนรู้   ( Theory of Learning ) ทฤษฎีการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข   ( Conditioning Theory )                  การเรียนรู้แบบนี้     คือ   การที่บุคคลมีความสัมพันธ์ต่อการตอบสนองต่างๆ ของอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อมภายนอกอื่นๆ ที่มีความเข้มพอที่จะเร้าความสนใจได้ซึ่งการเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่ค่อนข้างถาวรซึ่งเป็นผลของประสบการณ์และการทำบ่อยๆ หรือการทำแบบฝึกหัดแสดงให้เห็นว่าเรามีความเข้าใจเบื้องต้นว่าบุคคลได้เรียนอะไรบางอย่างเมื่อพฤติกรรมของเขาเปลี่ยนแปลงไปในทางใดทางหนึ่งนักจิตวิทยาเชื่อว่า เงื่อนไข   ( Conditioning )  เป็นกระบวนการเรียนรู้ขั้นพื้นฐาน   การวางเงื่อนไขมี   2  อย่างคือ   การวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค   ( classical Conditioning )  และการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ   ( operant Conditioning )    
  • 11. ทฤษฎีสิ่งเสริมแรง   (Reinforcement Theory ) เบอร์ฮัส เฟดเดอริค สกินเนอร์   (Burrhus Federick Skinner)  นักจิตวิทยาพัฒนาทฤษฎีสิ่งเสรีมแรงเรียกว่า   สิ่งเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement)  ใช้หลักการจูงใจแต่ละบุคคลให้ทำงานได้อย่างเหมาะสม   โดยชการออกแบบและจัดสภาพแวดล้อมในการทำงานให้มีบรรยากาศน่าทำงาน   ในการยกย่องชมเชยบุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานดี   และใช้การลงโทษซึ่งทำให้เกิดผลลบแก่บุคคลที่มีประสิทธิภาพในการทำงานต่ำมาก
  • 12. ประเภทของสิ่งล่อใจ   (Types of Incentives ) ประเภทที่   1  สิ่งล่อใจปฐมภูมิ (Primary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่สามารถทำให้เกิดความพึงพอใจในด้านความต้องการทางด้านสรีระ   เพื่อความมีชีวิตอยู่รอด   ได้แก่   ปัจจัย   5  คือ   อาหาร , เสื้อผ้า , ที่อยู่อาศัย , ยารักษาโรคและความต้องการทางเพศ ประเภทที่   2  สิ่งล่อใจทุติยภูมิ (Secondary Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่ทำให้เกิดประสบการณ์แปลกใหม่   และมีการเร้าใจให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหน้าที่การทำงานที่ตรงกับความสนใจ   ความถนัด   ท้าทายความสามารถหรือเป็นงานใหม่ที่ลดความจำเจซ้ำซาก  
  • 13. ประเภทที่   3    สิ่งล่อใจทางสังคม   (Social Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับการให้การยอมรับยกย่องนับถือ   ให้ความไว้วางใจ   ให้ความเชื่อถือ   ให้อิสรภาพและการแสดงความคิดเห็นเสนอแนะที่ดีในการทำงาน   โดยกระทำให้เป็นที่ปรากฏและรู้จักแก่เพื่อนร่วมงาน   ผู้บริหารงาน   ประเภทที่   4  สิ่งล่อใจที่เป็นเงิน   (Monetary Incentives)  สิ่งล่อใจที่เป็นเงินเป็นการให้ผลประโยชน์ตอบแทนแก่บุคคลที่ทำงานมีผลงานดีหรือผลผลิตพิ่มขึ้น   หรือมีผลกำไรเพิ่มมากขึ้นเพื่อเป็นสิ่งล่อใจให้บุคคลที่ทำงานดีอยู่แล้ว   หรือบุคคลที่ทำงานยังไม่ถึงเกณฑ์ระดับดีได้มีของขวัญและกำลังใจเพิ่มขึ้น
  • 14. ประเภทที่   5   สิ่งล่อใจที่เป็นกิจกรรม (Activity Incentives)  เป็นสิ่งล่อใจที่เกี่ยวกับกิจกรรมทำงานตามตำแหน่งหน้าที่   ผู้บริหารงานมีหน้าที่จะต้องจัดการให้ผู้ทำงานได้ทำงานตรงกับความรู้ความสามารถ   ความสนใจ   ความถนัด   เพื่อเป็นการจูงใจในการทำงาน   ผู้บริหารงานสามารถจัดให้มีการแข่งขันในการทำงาน   โดยกำหนดเป้าหมายเป็นจำนวนผลงานหรือผลผลิตภายในเวลาเท่าใดและกำหนดการให้รางวัลแก่ผู้ทำงานที่สามารถทำงานได้ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้   วิธีดังกล่าวนี้จะเป็นการจูงใจผู้ทำงานเกิดความรู้สึกอยากจะทำงานให้มีผลงานหรือผลผลิตเพิ่มขึ้น
  • 15. END