SlideShare a Scribd company logo
1 of 123
Download to read offline
บทเรียนน้าท่วม รพ.มหาราชนครราชสีมา
         17-26 ตุลาคม 2553

                  นพ.สุนทร ชินประสาทศักดิ์
ข้อมูลทั่วไป

   รพศ.ระดับตติยภูมิขนาด 1,200 เตียง

ศูนย์ผลิตแพทย์ของสถาบันพระบรมราชชนก

รพ.ติดกับแม่น้าล้าตะคอง เคยประสบปัญหา
          น้าท่วมในปี 2539-2550
7               6                  5
ทางเข้า

          8                                          4             3         2
                                                                                                       1
                                                                                                      ทางเข้า
                                                         วิทยาลัยพยาบาล


      9
ทางเข้า
      10                                                                                         11


                                                  สนง. รปภ.               ประตูเข้า-ออก (ย่อย)
                                                                          ประตูเข้า-ออก (หลัก)
     ผังแสดงประตูทางเข้า-ออก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
ศูนย์อ้านวยการฉุกเฉิน
                                  รพ.มหาราชนครราชสีมา
                       ต้าแหน่ง                                                 ภารกิจ
•   ผู้อ้านวยการโรงพยาบาล ------------------------ ประกาศเปิดแผนน้าท่วม แถลงข่าว ประกาศปิดแผน
•   รองผู้อ้านวยการฝ่ายการแพทย์ ----------------- ประสานงานหน่วยงานภายนอก-บริการทางการแพทย์
•   รองผู้อ้านวยการฝ่ายบริหาร -------------------- ระบบขนส่ง ความปลอดภัย จราจร
•   รองผู้อ้านวยการฝ่ายการพยาบาล -------------- บริการผู้ป่วย/การคัดกรอง
•   รองผู้อ้านวยการฝ่ายแผนงานและสารสนเทศ ทีมช่าง พัสดุ สาธารณูปโภค
•   รองผู้อ้านวยการฝ่ายกิจการพิเศษ -------------- ระบบสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ อาหาร,น้าดื่ม,รับบริจาค
•   รองผู้อ้านวยการศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ----- หน่วยสนับสนุน
•   รองผู้อ้านวยการพัฒนาระบบบริการ ---------- เฝ้าระวังสถานการณ์ / วิเคราะห์ / รวบรวมข้อมูล
•   รองผู้อ้านวยการปฐมภูมิ ------------------------ ประสานเครือข่ายเพื่อกระจายจัดโซนการรักษาผู้ป่วย
•   รองผู้อ้านวยการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล -- รวบรวมข้อมูลเพื่อแถลงข่าว-ประชาชน/สือมวลชน        ่
•   รองผู้อ้านวยเทศโนโลยีสารสนเทศ ------------ รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สถิติการใช้บริการผู้ป่วย
•   หัวหน้าฝ่ายบริหาร ------------------------------- รวมข้อมูล / ท้าสรุปรายงานปิดแผน / เปิด war room
•   หัวหน้าฝ่ายเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ------------------- EMS และระบบส่งต่อ
ปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไข
1.   การรักษาระบบสาธารณูปโภค ,ระบบ supply , O2
2.   อาหาร ยา ระบบการบริการผู้ป่วยนอก , ผู้ป่วยใน ,เครื่องมือ
3.   การเตรียมแผนอพยพส่งต่อผู้ป่วย
4.   การให้บริการเชิงรุก
5.   การรวบรวมข้อมูลเพื่อรายงานต้นสังกัด งานข่าว
6.   การเดินทางคมนาคม
7.   การเร่งการระบายน้าออก
8.   แผนดูแลเยียวยาเจ้าหน้าที่ รพ.
สรุปลาดับเหตุการณ์สาคัญ

•   15 ต.ค.2553 : น้าท่วมหนักที่ อ.ปากช่อง, ระดับน้า 1 ฟุตถึงขอบตลิ่ง
    รพ. เทศบาลแจ้งเตือน เตรียมรับสถานการณ์น้าท่วม 1-2 วัน
    ทีมบริหารรพ.ออกตรวจระดับน้าเขื่อนลาตะคองริม ประกาศจนท.ย้าย
    ยานพาหนะขึ้นอาคารจอดรถ
•   16 ต.ค.2553 : ระดับน้าสูงขึ้น แต่ยังไม่ท่วมในรพ.
    วางถุงทรายเป็นแนวกั้นโรงซักฟอกและโรงครัว ฝ่ายโภชนาการ
    ซึ่งเป็นจุดต่าสุดนัดหมายทีมบริหารประชุมด่วนเพื่อรับสถานการณ์
สรุปลาดับเหตุการณ์สาคัญ
• 17 ต.ค.2553
13.00 น. ระดับน้าถึงขอบตลิ่ง
     - ผู้ว่าฯ ตรวจเยี่ยม ช่วยประสาน ระบบขนส่ง ประสานทหาร
       จัดหากระสอบทราย เรือท้องแบน
     - ผู้บัญชาการทบ.ให้ทหาร 50 นาย เสริมแนวกระสอบทราย
       โรงซักฟอกโรงครัวเพิ่มเติม
17.00 น.
• ระดับน้้าเพิ่มขึนประมาณ 50 ซม. น้้าท่วมผ่านแนวกระสอบทราย
                  ้
• ท่วมอาคารเรือนไทย อาคารหลวงพ่อคูณ ห้องรังสีรักษา อาคารศัลกรรม
  กระดูกและข้อ อาคารผู้ป่วย 8 ชั้น อาคารทรีทเม้นท์ (x-ray , OR , ICU, LR) ห้อง IT ห้อง Lab



• ย้ายผู้ป่วยชัน 1 ทุกอาคารขึนที่สูง
• ย้ายห้องผ่าตัดมาอาคารฉก.ชัน3
• โรงครัวใช้การไม่ได้ ไม่มีอาหารส้าหรับผู้ป่วยและจนท. ซึ่งประมาณ
     2000 กล่อง/มือ แก้ไขสั่งข้าวต้ม 26 หม้อ และข้าวกล่องให้จนท. 3 มือ
17 ต.ค.2553
17 ต.ค.2553
17 ต.ค.2553
17 ต.ค.2553
17 ต.ค.2553
17 ต.ค.2553
17 ต.ค.2553
สรุปลาดับเหตุการณ์สาคัญ

•   22.00 น. ระดับน้าท่วมสูง 120 ซม.
    - ระบบส่งต่อผู้ป่วยเข้ามาไม่ได้ ประสาน รพ.ค่ายสุรนารี รพ.เอกชน
    รับคนไข้แทน
    - ออกประกาศสื่อต่างๆแจ้งว่ารพ.ไม่สามารถให้บริการตามปกติได้
    - จัดตั้งหน่วยปฐมพยาบาล ที่ศูนย์พีกาซัส และ รร.สุรนารี
    - ประสานทบ. จัดรถ GMC รับส่งคนเข้าออกรพ.
18 ต.ค.2553
           ระดับน้าสูง 150 ซม.
     ทุบกาแพง รพ. เพื่อ เร่งการระบายน้าออก
นพ.สสจ.แบ่งรพช. 4 โซน ให้รพ.ใกล้เคียงช่วยรับผู้ป่วย
   หน่วยที่ ปิด ให้บริการ     หน่วยที่ เปิด ให้บริการ
   - OPD ทั้งหมด            - IPD 1200 เตียง
   - อาคาร treatment        - ผู้ป่วยหนัก 136 เตียง
   - ห้อง lab               - จุดปฐมพยาบาล พีกาซัส
   - X-ray ทั้งหมด          - จุดปฐมพยาบาล รร.สุรนารี
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553

•   ซักฟอก     ส่งผ้าเปื้อนซักที่ บ.เอกชน จ.ขอนแก่น
•   จ่ายกลาง   ปิด
•   โภชณาการ   สั่งอาหารเอกชน
•   ห้องยา     สร้างแนวกั้นน้าตั้งแต่ต้น ไม่ได้รับความเสียหายใดๆ
•   สารสนเทศ   ปิด Server รพ. Server ไม่ได้รับความเสียหาย
•   ออกซิเจน   น้าไม่ท่วม แต่รถเข้ามาเติมไม่ได้ ใช้ได้อีก 4 วัน
•   ขนส่ง      รถทหาร GMC และ ทางเรือ เท่านั้น
•   ขยะ        ให้ward หาที่พักขยะทั่วไปและติดเชื้อ รอประสานอีกครั้ง
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553

•   น้าดื่ม       น้าขวด น้าประปายังใช้ชาระล้างได้ ถ้าน้าไม่ไหลระบบน้า
              สารองใช้ได้อีก 1 วัน สุขายังใช้ได้ทุกอาคาร
•   ไฟฟ้า         กั้นกระสอบทรายไฟสารองทุกอาคาร จัดเวรเฝ้า 24 ชม.

•   ศพ            เก็บศพที่อาคารฉก. เนื่องจากย้ายไปห้องเก็บศพลาบาก บริการ
                       ฉีด formalin นาส่งญาติรร.สุรนารี

•   การเรียนนศพ. หยุดทั้งหมด ให้นศพ.ดูแลคนไข้บน ward และstand by
                   ช่วยบีบ ambu bag กรณีไฟดับ
•   บ้านพักจนท.    อพยพนอนบ้านญาติ หอผู้ป่วย เช่าโรงแรม
ให้นศพ.ดูแลคนไข้บน ward และstand byช่วยบีบ ambu bag กรณีไฟดับ
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
18 ต.ค.2553
19 ต.ค.2553
คณะนายกรัฐมนตรี ตรวจเยี่ยมความเสียหาย รพ.มหาราช
 การพิจารณาแผนอพยพผู้ปวย่
• ผู้ป่วย D/C ให้ประสานญาติมารับ ถ้าไม่มีญาติให้ไปรอที่
    รพช.ประสานให้
• ผู้ป่วยอาการไม่หนัก แต่ต้องนอน รพ. ให้รักษาต่อที่
    รพช. ใกล้บ้าน
• ผู้ป่วยหนัก ให้วางแผนเตรียมประสานส่งตัวที่ รพ.ค่ายสุรนารี
    และ รพศ.ขก.
19 ต.ค.2553
19 ต.ค.2553
19 ต.ค.2553
19 ต.ค.2553
19 ต.ค.2553
19 ต.ค.2553
19 ต.ค.2553

เริ่มจัดออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่บริเวณน้าท่วมหนัก ผป. ออกมารับการ
รักษาไม่ได้ ใช้รถ. GMC ของทหาร มีคนไข้มาตรวจ 300 คน ได้
รับผป.ไข้เลือดออก impending shock 1 ราย ส่งรพ.
20 ต.ค.2553
•   ระดับน้ามีแนวโน้มจะทรงตัว
•   ภาพรวมสถานการณ์ – ระบบแก้ไขวิกฤตเริ่มเข้าที่
    - ผป.580 อาการหนักใส่ท่อช่วยหายใจ 110 ส่งรพค่าย 5 รพขก 5 รพรามา. 3
      ส่งกลับรพช. 15 จุดตรวจพีกาซัส 682 รร.สุรนารี 230
•   กันกระสอบทราย หัวเติมออกซิเจน ทหารช่วยลากรถมาเติมออกซิเจนได้
    แก้ปัญหา ออกซิเจนขาดแคลนได้
•   เพิ่มเส้นทางเดินรถรับส่งบุคคลากรในรพ.
•   แก้ไขระบบขยะ บ.เอกชนจะไปรับที่ wardทุกวัน
21-22 ต.ค.2553
•   ระดับน้ามีแนวโน้มจะทรงตัว
    - ท่านดิสธร วัชโรทัยตัวแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตรวจเยี่ยมแจกถุงยัง
    ชีพพระราชทาน
    - มีผป.ไปตรวจที่รพ.มหาราช 2 ไม่มากนัก 70-100 คน
•   22 ต.ค.2553 ทีมบริหารวางแผนเปิด OPD อายุรกรรม หูคอจมูก กุมารเวช
    กรรม 25 ตุลาคม 2553 และเปิดบริการทั้งหมด 26 ตุลาคม 2553
    - จัดตั้งทีมดูแลของบริจาค
    - ปลัดกระทรวงสาธารณสุขตรวจเยี่ยม
    - คณบดี และคณาจารย์จากรพ.รามามาเยี่ยม
23 -24 ต.ค.2553
•   ระดับน้า 58 ซม. จุดลึกสุด 93 ซม.
    - รัฐมนตรีกระทรวจสาธารณสุขตรวจเยี่ยม
    - เน้นเร่งลดระดับน้า โดยกันกระสอบทรายและ สูบน้าออก โดย
                               ้
    ความช่วยเหลือหอการค้าจังหวัด อบจ. ทหาร
•   หน่วยอาชีวเวชกรรมตรวจสอบระบบน้าเสีย ยังพบมีคลอรีนตกค้าง
•   ห้องผ่าตัดวาง plate air sample ยังขึ้นเชื้อ จึงให้มีการทา
    ความสะอาดใหม่
23 -24 ต.ค.2553
25 -26 ต.ค.2553

- OPD เปิดให้บริการได้ มีผป. 1000 คน เริ่มรับreferได้ ต้องใช้
รถทหารช่วยขนส่งผป. เข้ามาในรพ. มีการใช้การรับส่งต่อผู้ป่วยทาง
อากาศ (Sky Doctor)ครั้งแรกของ รพ.มหาราช โดยความ
ร่วมมือจาก สพฉ. นาส่งผู้ป่วย ปอดอักเสบใส่ท่อช่วยหายใจ จากอ.คร
บุรีโดยใช้ เฮลิคอปเตอร์จากภาคตารวจ นาเครื่องลงที่ ม.วงศ์ชวลิตกุล

- ฝ่ายซ่อมบารุงและหน่วยเกียวข้องเริ่มแผนฟื้นฟูสภาพภายในรพ.
                          ่
27 ต.ค.2553
         ระดับน้าลดลง จนเข้าสู่สภาวะปกติ
        ผู้อานวยการรพ. ปิด War room
Big Cleaning Day โดยบุคคลากรภายใน และภายนอก
แผนในอนาคต
1.   จัดทาแผนพิบัติ
2.   แผนกาหนดบทบาทตาแหน่ง INCIDENT COMMAND SYSTEM
3.   หารือหน่วยงานที่เป็นภาคี
4.   ปรับปรุงโครงสร้าง สาธารณูปโภค อุปกรณ์ทางการแพทย์
5.   สนับสนุนงาน-การส่งเสริมความรู้บุคลากรเรือง การจัดการในภาวะภัยพิบัติ
                                             ่
6.   วางแผนย้ายอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีราคาแพงและคลังยา หน่วยสนับสนุน
     บริการที่สาคัญ
HOSPITAL EMERGENCY INCIDENT COMMAND SYSTEM
HOSPITAL EMERGENCY INCIDENT COMMAND SYSTEM
Korach flood sunthorn
Korach flood sunthorn
Korach flood sunthorn
Korach flood sunthorn
Korach flood sunthorn
Korach flood sunthorn

More Related Content

Similar to Korach flood sunthorn

สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียนายสามารถ เฮียงสุข
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14karan boobpahom
 
Korach flood suchada
Korach flood suchadaKorach flood suchada
Korach flood suchadataem
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Dr. Obrom Aranyapruk
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnitedhrmsmc
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnitedhrmsmc
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011dentyomaraj
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกtaem
 

Similar to Korach flood sunthorn (10)

17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
17.แผนรับสาธารณภัยของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
 
Korach flood suchada
Korach flood suchadaKorach flood suchada
Korach flood suchada
 
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
Vaccination process with mini app by dr.obrom a.
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
 
Patomnited
PatomnitedPatomnited
Patomnited
 
Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011Photo albumDental ImplantationDay10012011
Photo albumDental ImplantationDay10012011
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 

Korach flood sunthorn

  • 1. บทเรียนน้าท่วม รพ.มหาราชนครราชสีมา 17-26 ตุลาคม 2553 นพ.สุนทร ชินประสาทศักดิ์
  • 2. ข้อมูลทั่วไป รพศ.ระดับตติยภูมิขนาด 1,200 เตียง ศูนย์ผลิตแพทย์ของสถาบันพระบรมราชชนก รพ.ติดกับแม่น้าล้าตะคอง เคยประสบปัญหา น้าท่วมในปี 2539-2550
  • 3.
  • 4. 7 6 5 ทางเข้า 8 4 3 2 1 ทางเข้า วิทยาลัยพยาบาล 9 ทางเข้า 10 11 สนง. รปภ. ประตูเข้า-ออก (ย่อย) ประตูเข้า-ออก (หลัก) ผังแสดงประตูทางเข้า-ออก โรงพยาบาลมหาราชนครราชสีมา
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16.
  • 17.
  • 18.
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22.
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26.
  • 27.
  • 28.
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40.
  • 41.
  • 42.
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46. ศูนย์อ้านวยการฉุกเฉิน รพ.มหาราชนครราชสีมา ต้าแหน่ง ภารกิจ • ผู้อ้านวยการโรงพยาบาล ------------------------ ประกาศเปิดแผนน้าท่วม แถลงข่าว ประกาศปิดแผน • รองผู้อ้านวยการฝ่ายการแพทย์ ----------------- ประสานงานหน่วยงานภายนอก-บริการทางการแพทย์ • รองผู้อ้านวยการฝ่ายบริหาร -------------------- ระบบขนส่ง ความปลอดภัย จราจร • รองผู้อ้านวยการฝ่ายการพยาบาล -------------- บริการผู้ป่วย/การคัดกรอง • รองผู้อ้านวยการฝ่ายแผนงานและสารสนเทศ ทีมช่าง พัสดุ สาธารณูปโภค • รองผู้อ้านวยการฝ่ายกิจการพิเศษ -------------- ระบบสื่อสาร/ประชาสัมพันธ์ อาหาร,น้าดื่ม,รับบริจาค • รองผู้อ้านวยการศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษา ----- หน่วยสนับสนุน • รองผู้อ้านวยการพัฒนาระบบบริการ ---------- เฝ้าระวังสถานการณ์ / วิเคราะห์ / รวบรวมข้อมูล • รองผู้อ้านวยการปฐมภูมิ ------------------------ ประสานเครือข่ายเพื่อกระจายจัดโซนการรักษาผู้ป่วย • รองผู้อ้านวยการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล -- รวบรวมข้อมูลเพื่อแถลงข่าว-ประชาชน/สือมวลชน ่ • รองผู้อ้านวยเทศโนโลยีสารสนเทศ ------------ รวบรวมข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สถิติการใช้บริการผู้ป่วย • หัวหน้าฝ่ายบริหาร ------------------------------- รวมข้อมูล / ท้าสรุปรายงานปิดแผน / เปิด war room • หัวหน้าฝ่ายเวชศาสตร์ฉุกเฉิน ------------------- EMS และระบบส่งต่อ
  • 47. ปัญหาที่ต้องเร่งแก้ไข 1. การรักษาระบบสาธารณูปโภค ,ระบบ supply , O2 2. อาหาร ยา ระบบการบริการผู้ป่วยนอก , ผู้ป่วยใน ,เครื่องมือ 3. การเตรียมแผนอพยพส่งต่อผู้ป่วย 4. การให้บริการเชิงรุก 5. การรวบรวมข้อมูลเพื่อรายงานต้นสังกัด งานข่าว 6. การเดินทางคมนาคม 7. การเร่งการระบายน้าออก 8. แผนดูแลเยียวยาเจ้าหน้าที่ รพ.
  • 48. สรุปลาดับเหตุการณ์สาคัญ • 15 ต.ค.2553 : น้าท่วมหนักที่ อ.ปากช่อง, ระดับน้า 1 ฟุตถึงขอบตลิ่ง รพ. เทศบาลแจ้งเตือน เตรียมรับสถานการณ์น้าท่วม 1-2 วัน ทีมบริหารรพ.ออกตรวจระดับน้าเขื่อนลาตะคองริม ประกาศจนท.ย้าย ยานพาหนะขึ้นอาคารจอดรถ • 16 ต.ค.2553 : ระดับน้าสูงขึ้น แต่ยังไม่ท่วมในรพ. วางถุงทรายเป็นแนวกั้นโรงซักฟอกและโรงครัว ฝ่ายโภชนาการ ซึ่งเป็นจุดต่าสุดนัดหมายทีมบริหารประชุมด่วนเพื่อรับสถานการณ์
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53. สรุปลาดับเหตุการณ์สาคัญ • 17 ต.ค.2553 13.00 น. ระดับน้าถึงขอบตลิ่ง - ผู้ว่าฯ ตรวจเยี่ยม ช่วยประสาน ระบบขนส่ง ประสานทหาร จัดหากระสอบทราย เรือท้องแบน - ผู้บัญชาการทบ.ให้ทหาร 50 นาย เสริมแนวกระสอบทราย โรงซักฟอกโรงครัวเพิ่มเติม
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57. 17.00 น. • ระดับน้้าเพิ่มขึนประมาณ 50 ซม. น้้าท่วมผ่านแนวกระสอบทราย ้ • ท่วมอาคารเรือนไทย อาคารหลวงพ่อคูณ ห้องรังสีรักษา อาคารศัลกรรม กระดูกและข้อ อาคารผู้ป่วย 8 ชั้น อาคารทรีทเม้นท์ (x-ray , OR , ICU, LR) ห้อง IT ห้อง Lab • ย้ายผู้ป่วยชัน 1 ทุกอาคารขึนที่สูง • ย้ายห้องผ่าตัดมาอาคารฉก.ชัน3 • โรงครัวใช้การไม่ได้ ไม่มีอาหารส้าหรับผู้ป่วยและจนท. ซึ่งประมาณ 2000 กล่อง/มือ แก้ไขสั่งข้าวต้ม 26 หม้อ และข้าวกล่องให้จนท. 3 มือ
  • 59.
  • 60.
  • 66.
  • 67.
  • 69. สรุปลาดับเหตุการณ์สาคัญ • 22.00 น. ระดับน้าท่วมสูง 120 ซม. - ระบบส่งต่อผู้ป่วยเข้ามาไม่ได้ ประสาน รพ.ค่ายสุรนารี รพ.เอกชน รับคนไข้แทน - ออกประกาศสื่อต่างๆแจ้งว่ารพ.ไม่สามารถให้บริการตามปกติได้ - จัดตั้งหน่วยปฐมพยาบาล ที่ศูนย์พีกาซัส และ รร.สุรนารี - ประสานทบ. จัดรถ GMC รับส่งคนเข้าออกรพ.
  • 70. 18 ต.ค.2553 ระดับน้าสูง 150 ซม. ทุบกาแพง รพ. เพื่อ เร่งการระบายน้าออก นพ.สสจ.แบ่งรพช. 4 โซน ให้รพ.ใกล้เคียงช่วยรับผู้ป่วย หน่วยที่ ปิด ให้บริการ หน่วยที่ เปิด ให้บริการ - OPD ทั้งหมด - IPD 1200 เตียง - อาคาร treatment - ผู้ป่วยหนัก 136 เตียง - ห้อง lab - จุดปฐมพยาบาล พีกาซัส - X-ray ทั้งหมด - จุดปฐมพยาบาล รร.สุรนารี
  • 73.
  • 76.
  • 78. 18 ต.ค.2553 • ซักฟอก ส่งผ้าเปื้อนซักที่ บ.เอกชน จ.ขอนแก่น • จ่ายกลาง ปิด • โภชณาการ สั่งอาหารเอกชน • ห้องยา สร้างแนวกั้นน้าตั้งแต่ต้น ไม่ได้รับความเสียหายใดๆ • สารสนเทศ ปิด Server รพ. Server ไม่ได้รับความเสียหาย • ออกซิเจน น้าไม่ท่วม แต่รถเข้ามาเติมไม่ได้ ใช้ได้อีก 4 วัน • ขนส่ง รถทหาร GMC และ ทางเรือ เท่านั้น • ขยะ ให้ward หาที่พักขยะทั่วไปและติดเชื้อ รอประสานอีกครั้ง
  • 82. 18 ต.ค.2553 • น้าดื่ม น้าขวด น้าประปายังใช้ชาระล้างได้ ถ้าน้าไม่ไหลระบบน้า สารองใช้ได้อีก 1 วัน สุขายังใช้ได้ทุกอาคาร • ไฟฟ้า กั้นกระสอบทรายไฟสารองทุกอาคาร จัดเวรเฝ้า 24 ชม. • ศพ เก็บศพที่อาคารฉก. เนื่องจากย้ายไปห้องเก็บศพลาบาก บริการ ฉีด formalin นาส่งญาติรร.สุรนารี • การเรียนนศพ. หยุดทั้งหมด ให้นศพ.ดูแลคนไข้บน ward และstand by ช่วยบีบ ambu bag กรณีไฟดับ • บ้านพักจนท. อพยพนอนบ้านญาติ หอผู้ป่วย เช่าโรงแรม
  • 83.
  • 84.
  • 85.
  • 86.
  • 87. ให้นศพ.ดูแลคนไข้บน ward และstand byช่วยบีบ ambu bag กรณีไฟดับ
  • 91. 19 ต.ค.2553 คณะนายกรัฐมนตรี ตรวจเยี่ยมความเสียหาย รพ.มหาราช การพิจารณาแผนอพยพผู้ปวย่ • ผู้ป่วย D/C ให้ประสานญาติมารับ ถ้าไม่มีญาติให้ไปรอที่ รพช.ประสานให้ • ผู้ป่วยอาการไม่หนัก แต่ต้องนอน รพ. ให้รักษาต่อที่ รพช. ใกล้บ้าน • ผู้ป่วยหนัก ให้วางแผนเตรียมประสานส่งตัวที่ รพ.ค่ายสุรนารี และ รพศ.ขก.
  • 98. 19 ต.ค.2553 เริ่มจัดออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่บริเวณน้าท่วมหนัก ผป. ออกมารับการ รักษาไม่ได้ ใช้รถ. GMC ของทหาร มีคนไข้มาตรวจ 300 คน ได้ รับผป.ไข้เลือดออก impending shock 1 ราย ส่งรพ.
  • 99.
  • 100.
  • 101.
  • 102. 20 ต.ค.2553 • ระดับน้ามีแนวโน้มจะทรงตัว • ภาพรวมสถานการณ์ – ระบบแก้ไขวิกฤตเริ่มเข้าที่ - ผป.580 อาการหนักใส่ท่อช่วยหายใจ 110 ส่งรพค่าย 5 รพขก 5 รพรามา. 3 ส่งกลับรพช. 15 จุดตรวจพีกาซัส 682 รร.สุรนารี 230 • กันกระสอบทราย หัวเติมออกซิเจน ทหารช่วยลากรถมาเติมออกซิเจนได้ แก้ปัญหา ออกซิเจนขาดแคลนได้ • เพิ่มเส้นทางเดินรถรับส่งบุคคลากรในรพ. • แก้ไขระบบขยะ บ.เอกชนจะไปรับที่ wardทุกวัน
  • 103. 21-22 ต.ค.2553 • ระดับน้ามีแนวโน้มจะทรงตัว - ท่านดิสธร วัชโรทัยตัวแทนพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวตรวจเยี่ยมแจกถุงยัง ชีพพระราชทาน - มีผป.ไปตรวจที่รพ.มหาราช 2 ไม่มากนัก 70-100 คน • 22 ต.ค.2553 ทีมบริหารวางแผนเปิด OPD อายุรกรรม หูคอจมูก กุมารเวช กรรม 25 ตุลาคม 2553 และเปิดบริการทั้งหมด 26 ตุลาคม 2553 - จัดตั้งทีมดูแลของบริจาค - ปลัดกระทรวงสาธารณสุขตรวจเยี่ยม - คณบดี และคณาจารย์จากรพ.รามามาเยี่ยม
  • 104.
  • 105. 23 -24 ต.ค.2553 • ระดับน้า 58 ซม. จุดลึกสุด 93 ซม. - รัฐมนตรีกระทรวจสาธารณสุขตรวจเยี่ยม - เน้นเร่งลดระดับน้า โดยกันกระสอบทรายและ สูบน้าออก โดย ้ ความช่วยเหลือหอการค้าจังหวัด อบจ. ทหาร • หน่วยอาชีวเวชกรรมตรวจสอบระบบน้าเสีย ยังพบมีคลอรีนตกค้าง • ห้องผ่าตัดวาง plate air sample ยังขึ้นเชื้อ จึงให้มีการทา ความสะอาดใหม่
  • 107.
  • 108. 25 -26 ต.ค.2553 - OPD เปิดให้บริการได้ มีผป. 1000 คน เริ่มรับreferได้ ต้องใช้ รถทหารช่วยขนส่งผป. เข้ามาในรพ. มีการใช้การรับส่งต่อผู้ป่วยทาง อากาศ (Sky Doctor)ครั้งแรกของ รพ.มหาราช โดยความ ร่วมมือจาก สพฉ. นาส่งผู้ป่วย ปอดอักเสบใส่ท่อช่วยหายใจ จากอ.คร บุรีโดยใช้ เฮลิคอปเตอร์จากภาคตารวจ นาเครื่องลงที่ ม.วงศ์ชวลิตกุล - ฝ่ายซ่อมบารุงและหน่วยเกียวข้องเริ่มแผนฟื้นฟูสภาพภายในรพ. ่
  • 109.
  • 110.
  • 111.
  • 112.
  • 113. 27 ต.ค.2553 ระดับน้าลดลง จนเข้าสู่สภาวะปกติ ผู้อานวยการรพ. ปิด War room Big Cleaning Day โดยบุคคลากรภายใน และภายนอก
  • 114. แผนในอนาคต 1. จัดทาแผนพิบัติ 2. แผนกาหนดบทบาทตาแหน่ง INCIDENT COMMAND SYSTEM 3. หารือหน่วยงานที่เป็นภาคี 4. ปรับปรุงโครงสร้าง สาธารณูปโภค อุปกรณ์ทางการแพทย์ 5. สนับสนุนงาน-การส่งเสริมความรู้บุคลากรเรือง การจัดการในภาวะภัยพิบัติ ่ 6. วางแผนย้ายอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่มีราคาแพงและคลังยา หน่วยสนับสนุน บริการที่สาคัญ
  • 115.
  • 116. HOSPITAL EMERGENCY INCIDENT COMMAND SYSTEM
  • 117. HOSPITAL EMERGENCY INCIDENT COMMAND SYSTEM