SlideShare a Scribd company logo
1 of 200
Download to read offline
[๑]
ปรมาจารย์นิทัศน์
−▓−
รวมสำนวนแต่งไทยที่น่าสนใจ ของ
พระมหาโพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙)
สามเณรอาชัญ สอาดเอี่ยม ป.ธ.๘
รวบรวม
[๒]
[๓]
ปณามคาถา
อนนฺตคุณสมฺปนฺโน
สตฺเต ธมฺเมน โตเสติ
อนนฺต าณนิทฺทิฏฺโ
สตฺเต ทุกฺขา ปโมเจติ
อเนกคุณสมฺปนฺโน
สตฺเต ธมฺเม นิโยเชติ
อเนกสุตสมฺปนฺโน
มหาครุ มหาเถโร
คุณํ ตสฺส สริตฺวาน
ยาทานิ สิกฺขกามานํ
มงฺคลวิเสสกถา-
มหาเถเรน เอเตน
อิมาสํ เอกเทสํธ
กริสฺสํ สิกฺขกามานํ
โย พุทฺโธ โลกนายโก
สิรสา ตํ นมามิหํ
โย ธมฺโม สุขทายโก
สิรสา ตํ นมามิหํ
โย สงฺโฆ วํสปาลโก
สิรสา ตํ นมามิหํ
ปริยตฺติวิสารโท
โย สุรเตชสวฺหโย
สิรสา ตํ นมามิหํ
นิทสฺสนานุรูปกา
ทีปิกา อตฺถวณฺณนา
ปาลิภาสาย วณฺณิตา
อุจฺจินิตฺวา ยถาพลํ
อุปการาย สงฺคหํ ฯ
[๔]
ปณามคาถา
ข้าพเจ้าขอถวายนมัสการด้วยเศียรเกล้าพระพุทธเจ้า ผู้ถึงพร้อมด้วยพระคุณ
อันหาที่สุดมิได้ ทรงนำไปซึ่งสัตวโลกให้ยินดีด้วยธรรมปฏิบัติ ข้าพเจ้าขอถวายนมัสการ
ด้วยเศียรเกล้าซึ่งพระธรรมเจ้า อันพระพุทธเจ้าพระองค์นั้นทรงแสดงไว้ด้วยพระญาณ
อันหาขอบเขตมิได้ ประทานให้ซึ่งความสุข ให้เหล่าสัตว์พ้นทุกข์ด้วยธรรมปฏิบัติ ข้าพเจ้า
ขอถวายนมัสการด้วยเศียรเกล้าซึ่งพระสงฆเจ้า ผู้สมบูรณ์ด้วยคุณอเนกประการ รักษา
อภิบาลวงศ์ของพระพุทธเจ้า เฝ้าชักชวนเหล่าสัตว์ในธรรมปฏิบัติ ข้าพเจ้าขอน้อมนบ
ด้วยเศียรเกล้าซึ่งพระมหาเถระผู้สมบูรณ์ด้วยสุตะอเนกประการ องอาจกล้าหาญในพระ
ปริยัติ เป็นครูผู้ยิ่งใหญ่ มีนามว่า สุรเตชะ
บัดนี้ ข้าพเจ้าจักเลือกเอาเฉพาะบางส่วนแห่งอรรถวรรณนา อันเป็นเครื่อง
แสดงพระมงคลวิเสสกถา อันพระมหาเถระรูปนั้นรจนาด้วยบาลีภาษา ซึ่งสมควรเป็น
แบบอย่างแก่ผู้ใคร่ต่อการศึกษาทั้งหลายได้ มารวบรวมไว้ที่นี้ตามกำลัง เพื่อเป็นอุปการะ
นักศึกษาทั้งหลาย ต่อไป ฯ
[๕]
สารบัญ
คำนำ ๘
คำนำหนังสือพระมงคลวิเสสกถา [น.(๓)] ๑๑
ส่วนที่ ๑ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
ปุพเพกตปุญญตา ศก ๑๑๙ (น.๘-๑๐) ๑๓
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๑๙ (น.๑๑-๑๒) ๑๔
อรรถจริยา ศก ๑๒๐ (น.๑๘-๑๙) ๑๕
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๐ (น.๑๙-๒๐) ๑๖
สัทธาสัมปทา ศก ๑๒๑ (น.๒๒-๒๕) ๑๗
สามัตถิยะ ศก ๑๒๑ (น.๒๕-๒๖) ๒๐
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๑ (น.๒๖-๒๗) ๒๓
พาหุสัจจะ ศก ๑๒๒ (น.๒๙-๓๑)
อุบายโกศล ศก ๑๒๒ (น.๓๒-๓๔) ๒๔
สมานัตตตา ศก ๑๒๓ (น.๓๗-๔๓) ๒๘
การุญญภาพ ศก ๑๒๓ (น.๔๓-๔๕) ๓๔
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๓ (น.๔๕-๔๖) ๓๖
เมตตาปุเรจาริกตา ศก ๑๒๔ (น.๔๗-๕๑) ๓๗
ปฏิสันถารกุสลตา ศก ๑๒๔ (น.๕๑-๕๔) ๔๐
กาลัญญุตา ศก ๑๒๕ (น.๕๗-๖๒) ๔๔
ปุตตสังคหะ ศก ๑๒๕ (น.๖๓-๖๕) ๕๐
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๕ (น.๖๕-๖๖) ๕๑
วิริยสมบัติ ศก ๑๒๖ (น.๖๘-๗๓) ๕๓
โลกัตถจริยา ศก ๑๒๖ (น.๗๓-๗๕) ๕๙
มิตรสมบัติ ศก ๑๒๗ (น.๗๙-๘๔) ๖๒
มัตตัญญุตา ศก ๑๒๗ (น.๘๕-๘๗) ๖๓
ธรรมภาษิตสัตยาธิษฐาน (กัตตุกัมยตาฉันทะ และปุคคลัญญุตา - น.๙๐-๙๑) ๖๙
กัตตุกัมยตาฉันทะ ศก ๑๒๙ (น.๙๓-๙๗) ๗๐
ปุคคลัญญุตา ศก ๑๒๙ (น.๙๗-๙๘) ๗๕
ส่วนที่ ๒ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (กิตฺติโสภณมหาเถร)
สหกรณ์ (น.๑๐๖-๑๐๙) ๗๘
สันติ (น.๑๐๙-๑๑๐) ๘๓
[๖]
ส่วนที่ ๓ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร (สุวฑฺฒนมหาเถร)
พระขันติธรรม พ.ศ.๒๕๔๐ (น.๑๑๙-๑๒๐) ๘๖
จักร ๔ พ.ศ.๒๕๓๘ (น.๑๒๖-๑๒๗) ๘๙
ไตรสรณคมน์ พ.ศ.๒๕๓๙ (น.๑๓๒-๑๓๓) ๙๐
พาหุสัจจธรรม พ.ศ.๒๕๓๖ (น.๑๓๘) ๙๒
กัลยาณมิตตตาธรรม พ.ศ.๒๕๓๖ (น.๑๓๙-๑๔๐) ๙๓
รัฏฐาภิปาลโนบาย - พลวัฑฒนธรรม พ.ศ.๒๕๓๕ (น.๑๕๐-๑๕๒) ๙๔
วรรณวัฑฒนธรรม - จักกวัตติสูตร พ.ศ.๒๕๓๔ (น.๑๖๐-๑๖๑) ๙๗
ธรรม พ.ศ.๒๕๓๓ (น.๑๗๑-๑๗๓) ๙๘
วินัย พ.ศ.๒๕๓๓ (น.๑๗๖-๑๗๗) ๑๐๑
รัฏฐาภิปาลโนบาย - มองจากที่ไกล-ใกล้ พ.ศ.๒๕๓๓ (น.๑๗๙-๑๘๐) ๑๐๓
เมตตา พ.ศ.๒๕๓๑ (น.๑๘๙-๑๙๑) ๑๐๕
อุเบกขา พ.ศ.๒๕๓๑ (น.๑๙๑-๑๙๓) ๑๐๗
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๑ - ขันติ (น.๑๙๔-๑๙๖) ๑๑๐
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๑ - อวิโรธนะ (น.๑๙๖-๑๙๗) ๑๑๔
สัจจะ พ.ศ.๒๕๓๐ (น.๒๑๑-๒๑๒) ๑๑๖
อธิษฐาน พ.ศ.๒๕๓๐ (น.๒๑๒-๒๑๔) ๑๑๗
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๐ - อักโกธะ (น.๒๑๔-๒๑๕) ๑๒๐
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๐ - อวิหิงสา และสรุปธรรมะทั้งสอง (น.๒๑๖-๒๑๘) ๑๒๑
วิริยะ พ.ศ.๒๕๒๙ (น.๒๓๓-๒๓๔) ๑๒๔
ขันติ พ.ศ.๒๕๓๐ (น.๒๓๔-๒๓๖) ๑๒๖
รัฏฐาภิปาลโนบาย - สรุป วิริยะ กับ มัททวะ (น.๒๓๖-๒๓๗) ๑๒๘
รัฏฐาภิปาลโนบาย - พระราชกรณียกิจบางประการ พ.ศ.๒๕๒๙ (น.๒๓๘-๒๔๐) ๑๒๙
ส่วนที่ ๔ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( าณวรมหาเถร)
อรรถจริยา พ.ศ.๒๔๖๔ (น.๒๕๓) ๑๓๔
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๖๔ (น.๒๕๔-๒๕๖)
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๖๕ (น.๒๖๗-๒๖๘) ๑๓๗
อัตตสัมมาปณิธิ พ.ศ.๒๔๖๖ (น.๒๖๙-๒๗๐) ๑๓๙
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๖๖ (น.๒๗๖) ๑๔๒
รัฏฐาภิปาลโนบาย - พ.ศ.๒๔๖๗ (น.๒๘๔-๒๘๖)
สมานัตตตา พ.ศ.๒๔๗๐ (น.๒๙๐) ๑๔๔
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๗๐ (น.๒๙๔-๒๙๖)
อัตถกามตา พ.ศ.๒๔๗๑ (น.๒๙๘-๒๙๙) ๑๔๗
ธิติ พ.ศ.๒๔๗๑ (น.๒๙๙-๓๐๒) ๑๔๙
[๗]
พหุปปิยตา-รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๗๑ (น.๓๐๒-๓๐๔) ๑๕๑
สหกรณ์ พ.ศ.๒๔๗๒ (น.๓๐๘-๓๑๐) ๑๕๓
ปฏิรูปเทสวาส พ.ศ.๒๔๗๓ (น.๓๑๗-๓๑๘) ๑๕๕
ปฏิรูปการิตา พ.ศ.๒๔๗๓ (น.๓๑๘-๓๒๐) ๑๕๙
รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๗๓ (น.๓๒๑) ๑๖๓
สติปัฏฐาน พ.ศ.๒๔๗๔ (น.๓๒๔-๓๒๖) ๑๖๔
การณวสิกตา พ.ศ.๒๔๗๕ (น.๓๒๗-๓๓๘) ๑๖๖
ขันติ พ.ศ.๒๔๗๖ (น.๓๔๐-๓๔๓) ๑๘๒
โสรัจจะ พ.ศ.๒๔๗๖ (น.๓๔๐-๓๔๓) ๑๘๓
ธัมมกามตา พ.ศ.๒๔๗๗ (น.๓๔๗-๓๔๘) ๑๘๖
อาชชวะ พ.ศ.๒๔๘๐ (น.๓๕๓-๓๕๕) ๑๘๗
ไมตรี พ.ศ.๒๔๘๐ (น.๓๕๖) ๑๙๑
สัจจะ พ.ศ.๒๔๘๒ (น.๓๕๙) ๑๙๒
รัฏฐาภิปาลโนบาย - ธรรมาธรรมะสงคราม พ.ศ.๒๔๘๒ (น.๓๖๐-๓๖๑) ๑๙๔
ยาจโยคตา พ.ศ.๒๔๙๐ (น.๑๘๖-๑๘๗) ๑๙๖
░
[๘]
คำนำ
ด้วยวิชาแต่งไทยภาษามคธ เป็นวิชาที่ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจอย่างมาก ไม่ว่าจะใน
ด้านหลักการทางภาษา และหลักการตีความจับประเด็นต่าง ๆ จึงเป็นเรื่องที่สร้างความหนักใจแก่
ผู้ศึกษาอยู่ไม่น้อย
หากได้อาศัยการทบทวนความรู้ในหลักภาษาที่มีอยู่เดิม สั่งสมประสบการณ์ ความรู้
รอบตัวต่าง ๆ เช่นด้านประวัติศาสตร์และธรรมทั้งหลาย และเรียนรู้จากการแต่งและตีความของ
เหล่าบูรพาจารย์แล้ว ผู้ศึกษาก็อาจได้ความเชี่ยวชาญและความมั่นใจโปร่งจิตได้ไม่มากก็น้อย
จึงได้รวบรวมศัพท์-สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ ของพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระมหา-
โพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต) อาจารย์สอนวิชาแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค
ป.ธ.๙ ประจำโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ส่วนกลาง วัดสามพระยา ตามที่เคย
ได้รับข้อแนะนำของอาจารย์เจ้าคุณพระเทพวัชรบัณฑิต (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ ป.ธ.๙, ศ.ดร.)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และอาจารย์สอนวิชาแต่งไทยเป็นมคธ
ประโยค ป.ธ.๙ สำนักเรียนวัดปากน้ำ จากเฉลยสนามหลวงและเฉลยในชั้นเรียนมา เพื่อเป็น
อุปการะในการศึกษาของตัวผู้รวบรวมเอง และผู้ที่จะได้พบเห็นเอกสารนี้
แต่เดิมเอกสารนี้ ได้จัดทำขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๖๓ โดยใช้ชื่อว่า “มหาโพธิวังสา
จริยสัททสังคหะ” ในขณะนั้น ยังเผยแพร่ในวงแคบ และยังปรากฏความบกพร่องที่ควรแก้ไขอย่าง
มาก ผู้เรียบเรียง จึงพยายามตรวจทาน ตัดลดหรือเพิ่มเนื้อหาต่าง ๆ ระหว่างที่ศึกษาประโยค
ป.ธ.๙ ปีที่ ๒ และพิมพ์ใหม่ทั้งหมด โดยจัดหมวดหมู่เนื้อหาตามสารบัญหนังสือพระมงคลวิเสสกถา
พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเอกสารจากเดิมที่ยาวและสื่อความหมายไม่ชัดเจน เป็น “ปรมาจารย์นิทัศน์”
อันหมายความว่า “ตัวอย่างของปรมาจารย์” นั่นเอง
ผู้เรียบเรียงขอคารวะเชิดชูพระคุณของพระเดชพระคุณทั้งสองรูปดังได้กล่าวถึงข้างต้น
ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลต่าง ๆ คือ หนังสือคู่มือประกอบแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ ผลงาน
ของพระปิฎกเมธี (ทองดี ปญฺ าวชิโร ป.ธ.๙) ไฟล์เอกสารมงคลวิเสสกถา จากกลุ่มปาลิภาสา
จูฬปาลิ และไฟล์หนังสือมงคลวิเสสกถาปกาสินี ผลงานของอาจารย์พระมหานพพร อริย าโณ
ป.ธ.๙ วัดอรุณราชวราราม โดยการเอื้อเฟื้อจากสามเณรญาณกร นรินทร์นอก ป.ธ.๘ วัดสระเกศ
และในการทำงานครั้งนี้ ได้อาศัยจอคอมพิวเตอร์ของสามเณรอภิวัฒน์ มะโนรัตน์ ป.ธ.๖ มาช่วยให้
ทำงานได้รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณทั้งพระอาจารย์ผู้เรียบเรียง และขอบคุณใน
น้ำใจของสหธรรมิกกับรุ่นน้องด้วย
[๙]
เอกสารฉบับนี้ แม้ผ่านการปรับปรุงมาแล้ว ก็อาจมีความไม่สมบูรณ์ครบถ้วน หรือ
ข้อผิดพลาดบางประการปรากฏ ผู้รวบรวมขอน้อมรับมาแก้ไข และขออภัยมา ณ ที่นี้
สามเณรอาชัญ สอาดเอี่ยม
วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ
ตึกธรรมปัญญาบดี วัดปากน้ำ
๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔
[๑๐]
[๑๑]
คำนำหนังสือพระมงคลวิเสสกถา [น.(๓)]
พระมงคลวิเสสกถา เป็นบทพระธรรม
เทศนาที่แสดงต่อหน้าพระที่นั่งในมหาสมาคม
สันนิบาตพระราชพิธีอันสำคัญ เช่น วันเฉลิม
พระชนมพรรษาของสมเด็จบรมบพิตร พระ
ราชสมภารเจ้า องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ผู้
ทรงพระคุณอันประเสริฐพระองค์นั้น ๆ
ย่อมเป็นบทพระธรรมเทศนาที่เพียบ
พร้อมด้วยอรรถสาระ ไพเราะด้วยสำนวน
โวหาร ก่อให้เกิดศรัทธาปสาทะอันมั่นคงแก่ผู้
สดับ
นับเป็นแบบฉบับที่อนุชนจะพึงกำหนด
และจดจำนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนและ
คนทั้งหลาย
สา หิ มงฺคลวิเสสกถา รญฺโ ชาตทิวเส
สงฺฆปรินายกภูเตหิ มหาเถเรหิ ตสฺส อนุมตึ
ลภิตฺวา เทสิตเทสนา โหติ ฯ
ตสฺสา สารตฺโถ หทยงฺคโม โหติ ปริ-
ปุณฺโณ ธมฺมิโก ตตฺถ จ อตฺถวณฺณนาปิ วิภูตา
หุตฺวา สุเขน อนุปสฺสิตุํ สกฺกา โหติ ฯ
สา เทสนาย ทิฏฺ านุคติ ภวิตุํ สกฺโกติ,
พุทฺธสาสนํ จ สนฺธาเรตุํ สมตฺถภูตานํ ธมฺม-
กถิกานํ อนุสิกฺขิตุํ เจว อนุปฏิปชฺชิตุํ จ ปฏิรูปา
โหติ ฯ
[๑๒]
พระมงคลวิเสสกถา
ส่วนที่ ๑
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส
วัดบวรนิเวศวิหาร
[๑๓]
ปุพเพกตปุญญตา ศก ๑๑๙ (น.๘-๑๐)
ปุพเพกตปุญญตา นั้น คือพระราช
กุศลสมภารบุญญาธิการบารมี ที่สมเด็จบรม-
บพิตรพระราชสมภารเจ้า ได้ทรงบำเพ็ญไว้ใน
ปางก่อนเป็นลำดับมา ตั้งแต่ปุเรชาติจนถึงภพ
ปัจจุบันอันเป็นส่วนอดีต
มาสโมสรเพิ่มพูนวิบากขันธ์อันมโหฬาร
ให้ทรงบริบูรณ์ด้วยสมบัติ ๔ ประการ คือ
พระชาติสมบัติ อิสริยสมบัติ โภคสมบัติ พระ
ญาณสมบัติ
อาจชักนำผู้อื่นที่เสมอหรือต่ำกว่าโดย
ชาติและตระกูล สำคัญเพื่อจะประพฤติตาม
โดยง่าย
สมเด็จพระสุคตมหามุนี จึงตรัสแสดง
ปุพเพกตปุญญตานั้นว่า เป็นสมบัติจักร อันจะ
พัดผันนำท่านผู้บำเพ็ญไว้แล้วนั้น ให้บรรลุผล
พิเศษ ดุจล้อรถอันพัดพาผู้ขึ้นให้ลุถึงสถานที่
ประสงค์
กรรมที่สัตว์กระทำด้วยไตรทวาร จะได้
โวหารว่า บุญก็ดี กุศลก็ดี ต้องมี อโลภะ อโท
สะ อโมหะ เป็นสมุฏฐาน
ข้อนี้เป็นการทวนกระแสโลกประวัติ
ยากที่สัตว์โลกจะบำเพ็ญ
เอตฺถ ปน ทยฺยานมินฺเทน วรราเชน
ปุพฺพกาลโต ปฏฺ าย ยาว สนฺทิฏฺ ิกกาลา
อนุปุพฺเพน สมฺภริโต อตีตํสกุสลภูโต ปุญฺ า-
ธิกาโร ปุพฺเพกตปุญฺ ตา นามฯ
เอสา อนุคนฺตฺวา ตสฺส มหนฺตํ วิปากํ
อนุปฺปเทติ, ยํ อาคมฺม โส ชาติสมฺปทา
อิสฺสริยสมฺปทา โภคสมฺปทา าณสมฺปทาติ
จตุสมฺปทาหิ ปริปูรึ สมฺปาเทติ
เย ชนา ชาติกุลโต อตฺตนา สมา วา
นีจตรา วา โหนฺติ, เต สุเขน อตฺตโน
วจนํ สทฺทหาเปตุํ อตฺตานญฺจ อนุวตฺตาเปตุํ
สกฺโกติ
เตน ภควา ตสฺสา ปุพฺเพกตปุญฺ ตาย
จตุนฺนํ สมฺปตฺติจกฺกานํ อญฺ ตรภาวํ ทสฺเสสิ,
ยานิ สมนฺนาคเต เทวมนุสฺเส น จิรสฺเสว
วิเสสโต มหนฺตตฺตํ เวปุลฺลตฺตํ ปาเปนฺติ ยถาตํ
รถจกฺกานิ รถคตํ ยถิจฺฉิตฏฺ านํ ปาปยมานานิ
ยานิ กานิจิ กมฺมานิ ติทฺวาเรหิ กตานิ,
เตสุ ยํ อโลภาโทสาโมหสมุฏฺ านํ โหติ, ตเทว
ปุญฺ นฺติ กุสลนฺติปิ โวหารํ ลภติ
อิทํ ปุญฺ กมฺมํ โลกปวตฺติยา ปฏิโสตํ
ปวตฺตติ น จ สุกรํ โหติ
[๑๔]
ข้อนี้แลเป็นเหตุให้สัตว์โลกพิเศษ และ
ต่ำช้าไม่เสมอทั่วกันไป
สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ประทาน
พระบรมพุทโธวาทห้ามอย่าให้เป็นคนกลัวแต่
บุญเช่นนั้น ตรัสสอนให้ปลูกฉันทรุจิในบุญญ-
กรรมนั้นแล้ว และอดทนกระทำ
อิทเมว สตฺตานํ หีนปฺปณีตตาสงฺขาตสฺส
อสมภาวสฺส การณํ โหติ ยถาห “กมฺมํ สตฺเต
วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตายาติ
ยํ “มา ภิกฺขเว ปุญฺ านํ ภายิตฺถาติ
วุตฺตํ ตํ ตาทิสํ ปุญฺ ภายนํ สนฺธาย
วุตฺตํ, ตมฺหิ จ ปุญฺเ ฉนฺทรุจิอุปฺปาทนตฺถาย
อุสฺสาหกรณตฺถาย จ วุตฺตํ ฯ ยถาห “ตมฺหิ
ฉนฺทํ กยิราถาติ ฯ
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๑๙ (น.๑๑-๑๒)
อีกประการหนึ่ง ได้ทรงพระราชศรัทธา
เริ่มการสถาปนาวัดเบญจมบพิตร และบูรณะ
วัดปรินายก ทรงพระราชอุทิศแก่จาตุทิศสงฆ์
ผู้จะมาอยู่อาศัยประกอบกิจพระศาสนา
และอานิสงส์นั้นเล่า เมื่อย่อกล่าวตามนัย
ในพุทธคาถาอนุโมทนาวิหารทานของท่าน
เศรษฐีอนาถบิณฑิกะ ในเสนาสนขันธ์ ก็เป็น
๒ คือ เป็นประโยชน์แก่สงฆ์ผู้อาศัยด้วย
เป็นเครื่องกั้นภยันตรายมีเย็นร้อนเป็นต้น
และเป็นประโยชน์แก่ผู้สร้าง ด้วยจะได้
สดับธรรมเป็นเครื่องบรรเทาทุกข์ จากสำนัก
ท่านพหุสุตผู้อยู่ในวิหารนั้น
อปิจ โส มหาราชา พุทฺธสาสเน สทฺธา-
ยิโก หุตฺวา สาสนกิจฺจํ ปูเรตุํ นิวสนตฺถาย
อาคตํ จาตุทฺทิสํ สงฺฆํ อุทฺทิสฺส เบญจมบพิตร
อิติ ลทฺธนามกสฺส วิหารสฺส ปติฏฺ าปนํ
เจว ปรินายก อิติ ลทฺธนามกสฺส วิหารสฺส
ปฏิสงฺขรณํ จ ปฏฺ เปสิ
อานิสํโส ปเนตฺถ ฯ เสนาสนกฺขนฺธเก
อนาถปิณฺฑิกสฺส คหปติโน วิหารทานสฺส
อนุโมทนาคาถาย สรูปนเยน ทุพฺพิโธ โหติ
สีตุณฺหาทิปฏิหนนภาวโต นิวาสีนํ อตฺถาวโห
โหติ
ตตฺถ จ นิวาสีนํ พหุสฺสุตานํ สนฺติกา
ทุกฺขาปนูทนธมฺมสฺสวนสฺส ปฏิลาภโต วิหาร-
การกานํ อตฺถาวโห โหติ ฯ
[๑๕]
อีกประการหนึ่ง ได้ทรงเริ่มจะตั้งหอ
พุทธศาสนสังคหะขึ้น ที่วัดเบญจมบพิตร ให้
เป็นที่รวบรวมพระคัมภีร์ และสมุทอันรจนา
สำแดงพระบรมพุทโธวาทานุศาสน์ เปิดเป็น
ธรรมทาน ให้มหาชนไปอ่าน เข้าไปดูได้ตาม
ปรารถนา
เพราะทานอื่น ไม่เป็นปัจจัยให้พระ
ศาสนาดำรงอยู่ เหมือนธรรมทาน พระปริยัติ
คำสอนของสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ ยังมี
ผู้ทรงผู้ปฏิบัติตามอยู่เพียงใด พระศาสนาก็ยัง
ได้ชื่อว่า ทรงอยู่เพียงนั้น
อิทานิปิ ราชา ทยฺยานมินฺโท พุทฺโธ-
วาทานุสาสนีปากฏีกรณภูตานํ รจิตสตฺถ-
โปตฺถกานํ สงฺคหฏฺ านตฺถาย เจว ยถารุจิยา
วาเจตุมฺปิ ปสฺสิตุมฺปิ มหาชนสฺส อุปสงฺกมนา-
รหํ ธมฺมทานฏฺ านํ กตฺวา วิวรณตฺถาย จ
เบญจมบพิตร อิตินามเธยฺเย อาวาเส พุทฺธ-
สาสนสงฺคหนามํ โปตฺถกาลยํ ปติฏฺ าเปตุํ
อารภติ
น หิ อญฺ ํ ทานํ ธมฺมทานํ วิย พุทฺธ-
สาสนสฺส ิติยา ปจฺจโย โหติ, ยํ สตฺถุ
ปริยตฺติธมฺมํ ธาเรนฺติ เจว อนุปฏิปชฺชนฺติ จ,
ตํ ยาวตา ภวติ ตาวตา พุทฺธสาสนํ ปติฏฺ าติ
นาม ฯ
อรรถจริยา ศก ๑๒๐ (น.๑๘-๑๙)
อรรถจริยา คือราชกิจที่ทรงประกอบ
ด้วยตั้งพระราชหฤทัยจะให้เป็นประโยชน์ แก่
พระราชวงศานุวงศ์ เสวกามตย์ และทวย
ประชาราษฎร์ทั้งปวง ด้วยสามารถแนะนำให้
ประกอบกิจ และชักชวนในกุศลจริยากิจจ-
การปนะ คือการแนะนำให้ประกอบกิจ
สงเคราะห์เข้าในรัฏฐาภิปาลโนบาย ซึ่ง
จะรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในวาระเป็น
ลำดับไป ในที่นี้จะพรรณนาแต่เพียงการกุศล-
สมาทาปนะ คือ การชักชวนในกุศลจริยา
เอตฺถ หิ อตฺถจริยา นาม มหาราชสฺส
ทยฺยานมินฺทสฺส กมฺมนฺตการาปเน วินยนวเสน
กุสลจริยาภูตกิจฺจการาปเน สมาทปนวเสน จ
ราชวํสิกานมฺปิ เสวกาทีนมฺปิ รฏฺ วาสีนมฺปิ
ชนานํ อตฺถปุเรกฺขารตาย ปยุตฺตกิจฺจํ ฯ
สา อนุกฺกเมน วุจฺจมาเน รฏฺ าภิปาล-
โนปาเย อนฺโตคธา โหติ ฯ เอตฺถ ปน กุสล-
สมาทปนมตฺตํ สํวณฺณยิสฺสามิ ฯ
[๑๖]
เมื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทานบริจาค
ได้พระราชทานโอกาสแก่พระราชวงศานุวงศ์
ข้าทูลละอองธุลีพระบาท ตลอดถึงราษฎร์
ให้ได้ช่องโดยเสด็จในการพระราชกุศล
เนือง ๆ มา
ทรงแสดงพระราชอัธยาศัยเผื่อแผ่ทั่วไป
ในประชุมชน ตามเยี่ยงอย่างของมรรคนายก
ผู้มีจิตใจโอบอ้อมอารี เมื่อบำเพ็ญทานด้วย
ตนย่อมชักชวนชนอื่นให้บำเพ็ญด้วย
ทานํ ททมาโนปิ นิพทฺธํ ตสฺมึ ทาเน สห
ภาคี ภวิตุํ โอตารํ ปฏิลาภตฺถาย ราชวํสิกานํ
เจว สาวกานํ จ รฏฺ วาสีนญฺจ โอกาสํ เทติ ฯ
โย จาคสีลี มคฺคนายโก อตฺตนา ทานํ
ททมาโน ตาทิสํ ทาตุํ ปเร สมาทเปติ, ตสฺส
อนุสาเรน ชนตาย ทานชฺฌาสยํ ทสฺเสติ ฯ
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๐ (น.๑๙-๒๐)
พระราชจริยารัฏฐาภิปาลโนบาย นั้น
คือราชกรณียกิจที่ทรงจัดขึ้นด้วยพระบรม-
เดชานุภาพ เพื่อเป็นประโยชน์คุณแก่พระราช
-อาณาจักรกับทั้งประชาชนข้าขอบขัณฑสีมา
เพียงข้อเดียวนี้ ก็ยากที่จะพรรณนา
ให้จบลงในกถามรรคกัณฑ์นี้ จะรับพระราช
ทานพรรณนาแต่การที่ได้เป็นไปแล้วในขวบ
หลัง ตั้งแต่กันยายน ร.ศ.๑๑๙ ถึง สิงหาคม
ร.ศ. ๑๒๐ โดยเอกเทศเท่านั้น
ในฝ่ายพุทธจักร ได้ทรงพระราชดำริ
โดยพระราโชบาย จะให้วัดทั้งหลายได้มี
ผลประโยชน์เกิดขึ้นในพระอารามและที่ธรณี
สงฆ์นั้นเอง เพื่อเป็นเครื่องรักษาวัดให้ทรง
อยู่ได้
ราชจริยารฏฺ าภิปาลโนปาโย นาม
มหาราเชน ทยฺยานมินฺเทน รฏฺ สฺส เจว ตตฺถ
นิวาสีนํ ชนานํ จ อตฺถาย เตชานุภาเวน กตํ
สพฺพกิจฺจํ ฯ
ตตฺถ เอกกิจฺจมฺปิ สํวณฺเณตฺวา อิมินา
กถามคฺเคน นิฏฺ าเปตุํ น สุกรํ ฯ เอกเทสโต
ปน ๑๑๙ รตนโกสินฺทสกสฺส กนฺยายนมาสโต
ปฏฺฐาย ยาว ๑๒๐ รตนโกสินฺทสกสฺส สิงฺหา-
คมมาสา ปจฺฉิมวสฺเสสุ ปวตฺติตํ กิจฺจเมว
สํวณฺณยิสฺสามิ ฯ
พุทฺธจกฺเก ตาว ฯ โส หิ มหาราชา
ทยฺยานมินฺโท อาวาสานํ ปติฏฺ าปนตฺถาย เตสํ
เจว สงฺฆิกภูมีนํ จ อตฺถํ อุปฺปาเทตุํ กุสโลปายํ
จินฺเตติ ฯ
[๑๗]
ในที่ไม่เป็นทำเล โปรดเกล้า ฯ ให้ตัด
ถนนเข้าไป ทำให้เป็นทำเล
เมื่อที่เป็นทำเลแล้ว ทรงขวนขวาย
เพื่อให้ได้ทุนสำหรับทำการปลูกสร้างและ
มีคนเช่าถือป้องกันสมบัติพระอาราม มิให้ตก
ไปและเพิ่มพูนให้บริบูรณ์ขึ้น
ทรงแนะนำให้บุคคลมีแก่ใจรับเป็น
มรรคนายกดูแลและปฏิบัติพระอาราม
กถํ ฯ โย อาวาโส อปฺปฏิรูปภูมิโก
โหติ ทุคฺคโม จ, ตตฺถ คมนวีถิโย มาเปตฺวา ตํ
ปฏิรูปภูมึ เจว สุเขน คมนียํ จ กโรติ ฯ
โย อาทิโต ปฏิรูปภูมิโก โหติ, ตํ
มาปนมูลํ ปฏิลาเภตุํ เจว อาวาสสมฺปตฺติยา
นิวารณตฺถาย ภิยฺโยโส (ตสฺสา) พฺรูหนตฺถาย จ
กาลิกคาหิโน ตาวกาลิกํ ทาเปตุํ จ พฺยาวโฏ
โหติ ฯ
อุฬารจิตฺเต ปุคฺคเล อาวาสปฏิชคฺค-
นตฺถาย มคฺคนายกภาวํ ปฏิคฺคเหตุํ วิเนติ ฯ
สัทธาสัมปทา ศก ๑๒๑ (น.๒๒-๒๕)
สัทธาสัมปทา คือ ความเชื่อประกอบด้วย
เหตุผลในสิ่งที่ควรเชื่อ ชื่อว่าสัทธา
กรรม ๒ ประเภทนี้ เมื่อความประชุม
ปัจจัยมีและได้ช่องเมื่อใด ก็ย่อมให้ผลเมื่อนั้น
ความหยั่งรู้กรรมคาดหน้าว่าเป็น
มูลเหตุให้ผลแก่ผู้ทำเช่นนั้น ๆ อนุวัตรตาม
มูลเหตุแล้วและเชื่อลง เหมือนแพทย์ผู้หยั่งรู้
สมุฏฐานก้าวหน้าว่า จะให้เกิดความรำคาญ
หรือเกิดโรคแก่ร่างกาย แล้วประกอบอุบาย
ชักนำหรือบำบัดเสีย นี้ชื่อว่า กัมมสัทธา
เชื่อกรรม
สทฺธาสมฺปทาติ เจตฺถ ฯ สทฺเธยฺยวตฺถุสฺมึ
าณสมฺปยุตฺตํ สทฺทหนํ สทฺธา นาม
ตทุภโย วิปาโก กมฺมมูลสูจโก เจว โหติ
กมฺมปญฺ าโณ จ ฯ
ยํ หิ เวชฺชสฺส อิทํ สรีรสฺส อผาสุกมฺปิ
โรคํปิ อุปฺปาเทสฺสตีติ ปุเรตรํ โรคสมุฏฺ านํ
วิชานิตฺวา ตสฺส อปนยนติกิจฺฉนุปายสฺส
ปยุญฺชนมิว กุสลสฺส “ปุคฺคลสฺส กมฺมํ นาม
เยน กตํ ตสฺส อีทิสญฺจีทิสญฺจ มูลานุรูปํ ผลํ
ทสฺสตีติ ปุเรตรํ กมฺมํ วิชานิตฺวา สทฺทหนํ
อิทํ กมฺมสทฺธา นาม
[๑๘]
วิบาก ๒ ประเภทนี้ ส่อมูลเหตุของตน
ให้คนเห็น
เหล่าสัตว์ผู้มีกิเลสานุสัย ทำกรรมอัน
ใดลงด้วยกาย วาจา ใจ ก็ย่อมได้เสวยผลของ
กรรมนั้น ทำชอบก็ได้เสวยผลอันดี ทำผิดก็ได้
เสวยผลอันชั่ว กรรมย่อมจำแนกสัตว์ผู้กระทำ
ให้เป็นผู้ประณีตและเลวทรามต่าง ๆ กัน
ความหยั่งรู้ดั่งนี้และเชื่อลง ชื่อว่า กัมมัสสกตา
สัทธา เชื่อความที่สัตว์มีกรรมเป็นของตน ฯ
ความหยั่งเห็นคุณของพระพุทธเจ้ากับทั้งพระ
ธรรมและพระสงฆ์และเชื่อลงโดยนัยว่า อรหํ
สมมาสมพุทโธ พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระ
อรหันต์ ไกลจากกิเลสบาปธรรม บริสุทธิ์ทุก
สถาน เป็นผู้ควรแนะนำสั่งสอนเวไนยสัตว์ให้
ปฏิบัติตามให้บรรลุถึงความบริสุทธิ์ และควร
แก่ครุฐานตั้งอยู่ในที่เป็นพระศาสดา เป็นที่
นับถือบูชาของมหาชน พระองค์ตรัสรู้ธรรม
ที่จริงที่ชอบตามลำพังพระองค์ ไม่มีผู้ใดเป็น
ครูอาจารย์สั่งสอน รู้ชอบไม่วิปริต ให้สำเร็จ
ประโยชน์ของพระองค์และผู้อื่นได้ สฺวาก-
ขาโต ภวตา ธมโม ธรรมที่พระองค์ทรงแสดง
สั่งสอนเวไนยสัตว์ ได้ชื่อว่าตรัสชอบแล้ว
สุปฏิปนโน ภควโต สาวกสงโฆ สงฆ์สาวก
ของพระผู้มีพระภาคเจ้า นี้ชื่อว่า ตถาคตโพธิ
สัทธา เชื่อพระปัญญาตรัสรู้ของพระตถาคต
เจ้า
ตทุภโย วิปาโก กมฺมมูลสูจโก เจว โหติ
กมฺมปญฺ าโณ จ ฯ
ยํ กิเลสานุคตา สตฺตา กาเยน วาจาย
มนสา วา ยํ กมฺมํ กโรนฺติ, ตสฺส วิปากํ ปฏิ-
ลภนฺตีติปิ สพฺเพ สตฺตา กมฺมสฺสกา กมฺม-
ทายาทา กมฺมโยนี กมฺมพนฺธู กมฺมปฏิสรณา
, ยํ กมฺมํ กริสฺสนฺติ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา,
ตสฺส ทายาทา ภวิสฺสนฺตีติปิ กลฺยาณการี
กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกนฺติปิ กมฺมํ สตฺเต
วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตายาติปิ เอวมาทีนิ
วิชานิตฺวา สทฺทหนํ, อิทํ กมฺมสฺสกตาสทฺธา
นามฯ
ยํ “อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร
ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ
ภควาติ “สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโมติ
“สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆติ จาทีหิ
นเยหิ พุทฺธสฺส สธมฺมสฺส สสงฺฆสฺส คุเณ
วิชานิตฺวา สทฺทหนํ, อิทํ ตถาคตโพธิสทฺธา
นาม ฯ
อถวา ฯ ยํ “โส ภควา อรหํ อารกา สพฺพ-
กิเลสปาเปหิ สุวิทูรทูเร ฐิโต สพฺพตฺถ สุ-
ปริสุทฺโธ เวเนยฺเย ปริสุทฺธึ ปาเปตุํ ปโพเธตา
เทวมนุสฺสานํ สตฺถุภาเวน ครุฏฺ านิโย มหา-
ชนสฺส ปูชนีโย จ โหติ, โส ภควา สมฺมา สามํ
สจฺจานิ พุชฺฌิตา โหติ, อสตฺถุโก หุตฺวา ตถํ
ภูตํ อวิปรีตํ อตฺตโน เจว ปเรสญฺจ อตฺถาวหํ
สพฺพธมฺมํ อพฺภญฺ าสีติ “สฺวากฺขาโต ภควตา
[๑๙]
ครั้งเมื่อได้เสด็จเถลิงยราชสมบัติเป็น
พระเจ้าแผ่นดินแล้ว ยังได้ทรงอุปสมบทเป็น
พระภิกษุบำเพ็ญสมณธรรมเป็นอุปนิสัย
และทรงสถาปนาและปฏิสังขรณ์พระ
อารามใหญ่น้อย
ทรงสร้างพระปริยัติธรรม ครั้งหนึ่งได้
พิมพ์พระบาลีไตรปิฎกขึ้นถึง ๑,๐๐๐ จบ มี
พระเกียรติคุณปรากฏไปทั่วโลก
ทรงปิดทองและสมโภชพระพุทธชิน-
ราช อันเป็นพระพุทธรูปสำคัญพระองค์หนึ่ง
ในประเทศนี้ มีพระนามปรากฏในพระราช-
พงศาวดาร
สารีริกเจดีย์ พระเจดีย์ที่บรรจุพระบรม
สารีริกธาตุนี้ มีพระบรมพุทธานุญาตไว้เมื่อ
ใกล้จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ให้สร้างขึ้น ณ
สถานที่เป็นที่ประชุมถนนใหญ่ทั้ง ๔ สำหรับ
เป็นที่สักการะบูชาของมหาชน เจริญกุศลอัน
จะเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขสิ้นกาลนาน
ธมฺโมติ “สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆติ
จาทีหิ นเยหิ พุทฺธสฺส สธมฺมสฺส คุเณ
วิชานิตฺวา สทฺทหนํ, อิทํ ตถาคตโพธิสทฺธา
นามฯ
โส หิ รชฺชํ กาเรตฺวา ราชาภูโต หุตฺวา
เอกสฺมึ สมเย รชฺชํ ปหาย พุทฺธสาสเน
อุปสมฺปทํ ลภิตฺวา ภิกฺขุภาเว ปติฏฺ ิโต ยถิจฺฉิตํ
สมณธมฺมํ อกาสิ
ตโต โส พุทฺธสาสเน อภิปฺปสนฺโน หุตฺวา
นวกาวาเส ปติฏฺ าเปสิ พหุเก ชิณฺณกาวาเส
ปฏิสงฺขราเปสิ
ปริยตฺติธมฺมโปตฺถเก จ กาเรสิ เอกทา
สหสฺสปฺปมาเณ เตปิฏกปาลิโปตฺถเก มุทฺทา-
เปตฺวา พหุกานํ รฏฺ านํ อทาสิ, ตปฺปจฺจยา
ตสฺส กิตฺติคุโณ สพฺพทิสา อภิปตฺถริ ฯ
สุวณฺณปฏฺเฏหิ “พุทธชินราช อิตินามํ
พุทฺธปฏิมํ ลิมฺเปสิ ตสฺสา จ มหํ กาเรสิ, ยา
ทยฺยรฏฺเ อุตฺตรา เจว ทยฺยวํสาวตาเร จ
ปากฏนามา โหติ
ตตฺถ สารีริกเจติยํ นาม พุทฺธสฺส สารีริก-
ธาตูนํ นิธานเจติยํ ยํ พุทฺโธ ปรินิพฺพานสฺส
อาสนฺนกาเล มหาชนสฺส ปูชนตฺถาย เจว ทีฆ-
รตฺตํ หิตาย สุขาย สํวตฺตนิกสฺส กุสลกมฺมสฺส
ปูรณตฺถาย จ จตุปฺปเถ กาตุํ อนุญฺ าสิ
[๒๐]
บริโภคเจดีย์ คือพระสถูปที่บรรจุบริขาร
ที่สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ ทรงทำพุทธ-
บริโภคมีบาตรทรงเป็นต้น และพระคันธกุฎี
ที่ประทับในพุทธนิวาสสถานนั้น ๆ มีพระ
เชตวันเป็นต้น
สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีพระ
บรมพุทธานุญาต ไว้เมื่อใกล้จะเสด็จดับขันธ
ปรินิพพานทรงแสดงสถาน ๔ ตำบล คือ
สถานที่ประสูติ สถานที่ตรัสรู้ สถานที่ทรง
แสดงพระธรรมจักรประถมเทศนา และสถาน
ที่ดับขันธปรินิพพาน ว่าเป็นเจดียสถาน ควรดู
ควรเห็น เป็นที่ตั้งแห่งความสังเวชของกุลบุตร
ผู้มีศรัทธา
มีผู้สร้างพระสถูปบรรจุอักษรแสดงพระ
ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เช่น คาถา
เย ธมฺมา เป็นต้น
ปริโภคเจติยํ นาม เย ภควโต ปริภุตฺตานํ
ปตฺตาทิปริกฺขารานํ นิธานภูตา ถูปา ยา จ
เชตวนาทีสุ ภควโต นิวาสฏฺ าเนสุ คนฺธกุฏิโย
ตทา หิ พุทฺเธน ภควตา อิมานิ จตฺตาริ
สทฺธสฺส กุลปุตฺตสฺส ทสฺสนียานิ สํเวชนียานิ
านานิ ทสฺสิตานิ ยํ ตถาคตสฺส ชาตฏฺ านํ
ยํ ตถาคตสฺส อนุตฺตราย สมฺมาสมฺโพธิยา
อภิสมฺพุทฺธฏฺ านํ ยํ ตถาคตสฺส อนุตฺตรสฺส
ธมฺมจกฺกสฺส ปวตฺติตฏฺ านํ ยํ ตถาคตสฺส อนุ-
ปาทิเสสาย นิพฺพานธาตุยา ปรินิพฺพุตฏฺ านํ
ตสฺมา ปจฺฉิมาย ชนตาย เจติยํ การิตํ
เย ธมฺมาติอาทิกคาถายตฺถปริทีปกสฺส สาสน-
ธมฺมสฺส โปตฺถเก ปติฏฺ าเปตุํ
สามัตถิยะ ศก ๑๒๑ (น.๒๕-๒๖)
สมัยหนึ่ง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
เสด็จจาริกโปรดเวไนยสัตว์ไปในตำบล
ทักขิณาคีรี ทอดพระพระเนตรเห็นนาใน
แคว้นมคธอันมีคันนากั้นเป็นอัน รับสั่งถาม
พระอานนท์ว่า จักสามารถจัดทำจีวรมีรูป
เหมือนอย่างนี้ได้หรือไม่
เอกทา ภควา ทกฺขิณาคิริสฺมึ จาริกญฺ-
จรมาโน อจฺจิพทฺธํ ปาลิพทฺธํ มริยาทพทฺธํ
สิงฺฆาฏพทฺธํ มคธกฺเขตฺตํ ทิสฺวา “อุสฺสหสิ
อานนฺท ภิกฺขูนํ เอวรูปานิ จีวรานิ สํวิทหิตุนฺติ
ปุจฺฉิ ฯ
[๒๑]
พระเถรเจ้าทูลรับแล้วครั้นเสด็จถึง
กรุงราชคฤห์แล้ว ท่านจัดทำจีวรมีรูปเหมือน
เช่นนั้นถวายสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ให้
ทอดพระเนตร
พระองค์ทรงสรรเสริญพระเถรเจ้าว่า
เป็นบัณฑิต มีปัญญาใหญ่ รู้อรรถแห่งภาษิต
ที่พระองค์ตรัสแต่เพียงย่อ ๆ ได้โดยพิสดาร
ได้ทำจีวรให้มีสัณฐานต้องตามลักษณะ
มีเส้นผ้าน้อย ๆ เปรียบด้วยคันนาไปตามยาว
เรียกว่า กุสิ ไปตามขวางเรียกว่า อัฑฒกุสิ มี
กระทงเทียบด้วยอันนาใหญ่เรียกว่า มณฑล
เล็กเรียกว่า อัฑฒมณฑล ได้ชื่อต่าง ๆ กัน
ตามท่อนผ้า เป็นจีวรตัด เศร้าหมองด้วย
ศัสตรา เป็นสมณสารูป ไม่เป็นของต้องการ
ของโจร
แต่กาลนั้นมาพระองค์ได้อนุญาตไตร
จีวร คือ สังฆาฏิ อุตตราสงค์ อันตราวาสก
เป็นผ้าตัดตามสัณฐานนั้น ให้ภิกษุสงฆ์ใช้
กันมา
ความสามารถนี้แต่เพียงเป็นไปในกิจ
ไม่สำคัญ ยังประโยชน์ให้สำเร็จแก่ตนและ
ผู้อื่นได้ตามวิสัย ถ้ามีกว้างขวางออกไปในกิจ
ใหญ่ ๆ ที่สำคัญ ประโยชน์อันใหญ่ก็ย่อม
เกิดมียิ่งขึ้น
เถโร หตฺถกุสลตาย “อุสฺสหามิ ภนฺเตติ
อาห ฯ โส สตฺถริ ปุนเทว ราชคหํ ปจฺฉาคเต
ตถารูปานิ จีวรานิ สํวิทหิตฺวา สตฺถุ ทสฺเสสิ
สตฺถา เถรํ ปสํสนฺโต ภิกฺขู อามนฺเตสิ
“ปณฺฑิโต ภิกฺขเว อานนฺโท มหาปญฺโ
ภิกฺขเว อานนฺโท ยตฺร หิ นาม มยา สงฺขิตฺเตน
ภาสิตสฺส วิตฺถาเรน อตฺถํ อาชานิสฺสติ, กุสิมฺปิ
นาม กริสฺสติ อฑฺฒกุสิมฺปิ นาม กริสฺสติ
มณฺฑลมฺปิ นาม กริสฺสติ อฑฺฒมณฺฑลมฺปิ นาม
กริสฺสติ ฯเปฯ ฉินฺนกญฺจ ภวิสฺสติ สตฺถลูขํ
สมณสารุปฺปํ ปจฺจตฺถิกานญฺจ อนภิชฺฌิตนฺติ ฯ
ตตฺถ กุสิ นาม อายามโต จ วิตฺถารโต จ
ปาลิสทิสทีฆปฏํ ฯ อฑฺฒกุสิ นาม อนฺตร-
นฺตรา รสฺสปฏํ ฯ มณฺฑลํ นาม มหามริยาท-
สทิเส เอเกกสฺมึ ขณฺเฑ มณฺฑลํ ฯ อฑฺฒ-
มณฺฑลํ นาม ขุทฺทกมณฺฑลํ ฯ
ตโต ภควา ภิกฺขูนํ ปริโภคตฺถาย ตถา-
รูปสณฺ านํ ติจีวรํ อนุญฺ าสิ “อนุชานามิ
ภิกฺขเว ฉินฺนกํ สงฺฆาฏึ ฉินฺนกํ อุตฺตราสงฺคํ
ฉินฺนกํ อนฺตรวาสกนฺติ ฯ
ยถาวุตฺตํ หิทํ สามตฺถิยํ นาติสยกิจฺเจปิ
ปวตฺติตํ หุตฺวา ปกติวิสเยน อตฺตโน เจว
ปเรสญฺจ อตฺถํ สาเธติ ฯ สเจ ปน มหนฺเตสุ
อติสเยสุ กิจฺเจสุ ปวตฺติตํ สิยา, มหนฺโต อตฺโถ
ภิยฺโยโส มตฺตาย ปาตุภวติ ฯ
[๒๒]
ถ้ามุขมาตยาธิบดีมีสามารถ ก็อาจจะ
วิจารณ์ราชกิจให้ลุล่วงไปไม่อากูล
เป็นกำลังของสมเด็จบรมกษัตริยา-
ธิราชเจ้า แผ่พระราชอิสริยยศพระบรมเด-
ชานุภาพและเกียรติคุณไพศาล
ได้ทรงแก้ไขเปลี่ยนธรรมเนียมต่าง ๆ
ให้เจริญขึ้นทันสมัยที่โลกดำเนินไปอยู่
สิ่งใด ๆ ที่เป็นภัยอันจะทำอนัตถ-
พินาศแก่ราชอาณาจักร และประชาชน ก็ได้
ทรงป้องกันเพื่อมิให้เกิดขึ้น
หากเกิดขึ้นแล้วก็รีบบำบัดเสียโดยพลัน
ข้อนี้พึงสันนิษฐานด้วยเหตุการณ์ที่
เกิดขึ้นในไม่ช้า ครั้งเกิดพวกโจรกบฏก่อการ
จลาจลปล้นปัจจันตชนบทในจังหวัดมณฑล
อีสานและมณฑลพายัพ สมเด็จบรมบพิตร
พระราชสมภารเจ้าได้ทรงระงับการจลาจล
นั้น ให้สงบไม่ลุกลามไปได้ในเร็ววัน ด้วย
กำลังพระปรีชาสามารถอันยิ่งใหญ่
เป็นมงคลวิเสสที่ ๒
สเจ หิ เสนาปติ วา อมจฺโจ วา
อิมินา สามตฺถิเยน สมนฺนาคโต ภวิสฺสติ โส
ราชกรณียํ อนากุลปฺปตฺตํ กตฺวา อนุยุญฺชิตุํ
เจว ตเมว อุปสคฺคาภาเวน อภินิปฺผาเทตุํ จ
สมตฺโถ อภวิสฺส ปฏิพโล พฺยตฺโต
อีทิโส ปนายํ ยสฺส พลนิกาโย โหติ,
ตสฺเสว รญฺโ อิสฺสริยยสญฺเจว กิตฺติสทฺทญฺจ
นานารฏฺเ สุ ปวตฺตาเปตุํ สกฺโกติ จกฺกวตฺติ-
รญฺโ อิสฺสริยยสญฺเจว กิตฺติสทฺทญฺจ นานา-
รฏฺเ สุ ปวตฺตาเปตุํ สกฺโกนฺโต วิย
ยา จายํ ตนฺติปเวณิ กาลาตีตา โหติ
ตนฺตํ ยถากาลํ ปริวตฺเตสิ
ยมฺปน รฏฺ สฺส จ รฏฺ วาสีนญฺจ อนตฺถา-
วหํ โหติ ตสฺส อนุปฺปาทาย อารกฺขํ สุสํวิหิตํ
อกาสิ,
เย จิเม อุปฺปนฺนา โหนฺติ เต สพฺเพปิ
วินาเสตุํ ปฏิกจฺเจว อุปายํ คเวสิ
นิทสฺสนญฺเจตฺถ ทฏฺ พฺพํ ฯ ยทา ปน
โจรา ปาจีนทิสาย วา พายพฺพทิสาย วา
ปจฺจนฺตชนปเทสุ ขนฺธวารํ พนฺธิตฺวา วคฺค-
วคฺคา หุตฺวา ตตฺถ ตตฺเถว คามํ วิลุมฺปิตฺวา
วิจรนฺติ, ตทา มหาราชา สฺยามิกานมินฺโท
อิมินา ว สามตฺถิเยน สมนฺนาคโต ขิปฺปเมว
วูปสเมตุํ อสกฺขิ
เอวมยํ ทุติโย มงฺคลวิเสโส
[๒๓]
รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๑ (น.๒๖-๒๗)
ฝ่ายพระพุทธจักร ได้ทรงตั้งพระราช-
บัญญัติปกครองคณะสงฆ์เพื่อวางแบบลงให้
เป็นหลักฐาน
พระราชทานอำนาจแก่เจ้าอาวาสตลอด
ขึ้นไปถึงเจ้าคณะใหญ่ เพื่อเป็นภารธุระในกิจ
พระศาสนาได้โดยสะดวก ทั้งในส่วนนิคคหะ
คือปราบปรามพวกอลัชชี และทั้งในส่วน
ปัคคหะ คือยกย่องผู้มีศีลเป็นที่รัก
และทรงวางหน้าที่ของเจ้าพนักงานฝ่าย
ฆราวาส ได้อุดหนุนเจ้าคณะนั้นด้วยพระราช
บัญญัตินี้
พระราชบัญญัตินี้ จะเป็นเครื่องรักษา
คณะสงฆ์ให้ตั้งอยู่ในระเบียบเรียบร้อย อุด-
หนุนพระวินัยบัญญัติ ด้วยอำนาจฝ่ายราช-
อาณาจักรอีกส่วนหนึ่ง
พุทฺธจกฺเกปิ ราชา ทยฺยานมินฺโท สงฺฆ-
ปสาสนรูปํ มูลการณํ กาตุํ สงฺฆปสาสน-
ปญฺ ตฺตึ ปญฺ าเปสิ,
ตตฺถ จ ยาว มหาสงฺฆคณีหิ อาวาสิกานํ
ภิกฺขูนํ สุเขน สาสนกิจฺจานํ กรณตฺถาย อลชฺชี-
นิคฺคณฺหนสงฺขาเต นิคฺคหปกฺเข เจว เปสล-
ปคฺคหณสงฺขาเต ปคฺคหปกฺเข จ ปวตฺตภูตํ
อิสฺสริยํ อทาสิ,
สพฺเพสํ สงฺฆคณีนํ อุปตฺถมฺภนํ อธิการ-
ภูตานํ คิหีนํ ธุรํ กตฺวา นิยเมสิ ฯ
อยํ สงฺฆปสาสนปญฺ ตฺติ ภิกฺขุสงฺฆสฺส
รกฺขนภูตา โหติ วินยปญฺญตฺติยา สุฏฺฐุ
ปติฏฺ าปนภูตา โหติ อาณาจกฺกวเสน จ
วินยปญฺ ตฺติยา อุปตฺถมฺภนภูตา โหติ
พาหุสัจจะ ศก ๑๒๒ (น.๒๙-๓๑)
พาหุสัจจะนั้น กล่าวโดยศัพท์รูป คือ
ความเป็นพหุสุตบุคคลผู้มีอรรถธรรมได้สดับ
มาก ชื่อว่าพหุสุต ในที่นี้
กล่าวโดยความ พาหุสัจจะนั้น คือความ
เป็นผู้ฉลาดแตกฉานในอรรถธรรมเกิดขึ้นแล้ว
เพราะการศึกษา
พาหุสจฺจนฺติ ปเนตฺถ ฯ สทฺทรูปโต หิ
พหุสฺสุตสฺส ภาโว พาหุสจฺจํ, ตตฺถ พหุํ อสฺส สุตํ
นวงฺคสตฺถุสาสนนฺติ พหุสฺสุโต ฯ
อตฺถโต พาหุสจฺจํ นาม พุทฺธวจนํ วา
พาหิรสิปฺปํ วา อุคฺคณฺหิตฺวา วา สุตฺวา วา
อุปฺปนฺนํ ตตฺถ ตตฺถ โกสลฺลํ ฯ
[๒๔]
เพราะเหตุพระราชบุตรทั้งหลายไม่นำพา
ในการศึกษา มัวแต่ประพฤติผิดคลองธรรม
และในที่ประชุมนั้นมีมหาปราชญ์ผู้หนึ่ง
นามว่าวิษณุศรรมัน ทูลว่า พระราชบุตรเหล่า
นั้นประสูติในราชตระกูล คงมีปรีชาสามารถ
ศึกษาได้ฉับไว และรับอาสาเป็นผู้สอน
ครั้งเมื่อสมเด็จพระบรมศาสดา เสด็จ
ดับขันธปรินิพพานแล้ว พระเถรเจ้าก็เป็น
ผู้วิสัชนาพระธรรมแก่พระภิกษุสงฆ์ มีพระ
มหากัสสปเป็นประธานผู้ทำสังคายนาพระ
ธรรมวินัยให้ตั้งไว้เป็นหลักพระศาสนา
อุบายโกศลคือความเป็นผู้ฉลาดใน
อุบาย สำหรับประกอบกิจนั้น ๆ เพื่อป้องกัน
ภยันตรายและขวนขวายหาสุขให้แก่กัน เป็น
ผลมีพาหุสัจจะเป็นมูลเดิม
ตสฺส หิ ปุตฺตา อุปฺปถคามิโน หุตฺวา น
สิกฺขํ มนสิกรึสุ
ตสฺมิญฺจ สนฺนิปาเต วิสฺสุกมฺโม นาม
เอโก มหาธีโร อโหสิ ฯ โส อิเม กุมารา ราช-
กุเล ชาตา หุตฺวา ขิปฺปํ นีติสตฺถํ สิกฺขิตุํ สมตฺถา
ภวิสฺสนฺตีติ วตฺวา สจฺฉนฺเทน เตสํ วาจโก ภวิตุํ
สมฺปติจฺฉิ ฯ
ภควติ ปรินิพฺพุเต, สาสนสฺส จิรฏฺ ิติยา
มหากสฺสปมหาเถรปฺปมุขสฺส ธมฺมสงฺคีติ-
การกสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ธมฺมํ วิสฺสชฺเชสิ
อญฺ มญฺ สฺส อนฺตรายปฏิพาหนาย เจว
สุขปริเยสนาย จ กิจฺจานิ ปยุญฺชิตุํ ปวตฺตํ
อุปายโกสลฺลมฺปิ พาหุสจฺจมูลํเยว โหติ
อุบายโกศล ศก ๑๒๒ (น.๓๒-๓๔)
ครั้งเมื่อมัลลกษัตริย์ผู้ครองกุสิรานา
นครน้อย ทำการถวายพระเพลิงพระพุทธ
สรีระแล้วข่าวทราบไป
ยทา หิ ปรินิพฺพุเต ภควติ โกสินารกา
มลฺลา พุทฺธสฺส สรีรํ ฌาเปสุํ, ตทา โข ตํ
ภควนฺตํ กิตฺติสทฺโท อญฺญาสุปิ ราชธานีสุ
อพฺภุคฺคโต ภควา กิร กุสินารายํ ปรินิพฺพุโต
ตสฺส จ สรีรํ ฌาปิตนฺติ ฯ
[๒๕]
ถึงกษัตริย์และปชาธิบดีผู้ครองราชย์
ธานี และนครใหญ่น้อย ๗ ตำบลมีพระเจ้า
อชาตศัตรูผู้ครองราไชศวรรยาธิปัตย์มคธ
ราชอาณาจักรเป็นประธาน ต่างพระองค์ทรง
แต่งราชทูตจำทูลราชศาสน์ส่งไปสู่กุสินารา
นคร ให้ทูลขอส่วนพระพุทธสารีริกธาตุ
ต่อมัลลกษัตริย์ เพื่อเชิญมาบรรจุไว้ในพระ
สถูปเป็นที่ทำสักการบูชา
ถ้าคณะมัลลกษัตริย์ จะไม่ฉลาดในอุบาย
หยั่งเห็นการณ์ข้างหน้า พอทูตเมืองไหน
มาถึง ก็จะแจกให้ไป ๆ
ฉวยว่าพระสารีริกธาตุหมดแล้ว จะมีใคร
มาขออีกและจะไม่ได้หรือผู้ที่ได้ แจกแล้วแต่
จะไม่ประสงค์เพียงเท่านั้น ยังจะต้องการอีก
เมื่อไม่ได้สมประสงค์ ก็จะเกิดอาฆาตบาด
หมางแล้วและเข้ากัน หรือแต่ลำพังยกพยุห-
แสนยามาทำสงคราม เพื่อชิงเอาด้วยพลการ
ตํ สุตฺวา ว มาคธอชาตสตฺตุราชปฺ-
ปมุขา สตฺต ขตฺติยา ราชาโน พุทฺเธ
อภิปฺปสนฺนา ราชทูเต สปริวาเร โกสินารากานํ
มลฺลานํ กุสินารํ ปาเหสุํ พุทฺธสารีริก-
ธาตุโย อภิยาจิตฺวา อตฺตโน อตฺตโน
ปเทเส อพฺภาหริตฺวา มหาชนสฺสาภิปูชนตฺถาย
ถูเปสุ ปติฏฺฐาเปตุํ ฯ
สเจ ปน โกสินารกา มลฺลา อิมินาว
อุปายโกสลฺเลน สมนฺนาคตา นาภิสฺสํสุ ทีฆ-
ทสฺสิโน จ อาคตาคตสฺเสว เอเกกสฺส ราช-
ทูตสฺส พุทฺธสารีริกธาตุโย วิภชิตฺวา อทิสฺสํสุ,
ยทิ วา พุทฺธสารีริกธาตุโย ปริกฺขีณา
อภวิสฺสํสุ, โย วา ขตฺติโย ราชา อตฺตโน
ราชทูตํ สปริวารํ กุสินารํ ปาเหสฺส ปุนปิ พุทฺธ
สารีริกธาตุโย อภิยาจิตุํ เสฺวว จ พุทฺธ
สารีริกธาตุโย นาลภิสฺส,
โกจิ วา ขตฺติโย ราชา วิภตฺตพุทฺธ-
สารีริกธาตุโย ลภิตฺวา ยถาลทฺธํ อสนฺตุฏฺโ
หุตฺวา ตโตปิ ปฏิลภิตุํ อภิปตฺถิสฺส,
สพฺเพเปเต ยถิจฺฉิตํ พุทฺธสารีริกธาตุโย
เนวาลภิสฺสํสุ,
เตเนว จ เนสํ ภณฺฑนาทีนิ อภวิสฺสํสุ, เต
จ เอกโต หุตฺวา สยเมว วา มหติยา จาตุรงฺ-
คินิยา เสนาย อาคจฺฉิสฺสํสุ พลกฺกาเรน พุทฺธ-
สารีริกธาตูนํ อจฺฉินฺทนตฺถาย โกสินารเกหิ
มลฺเลหิ สงฺคามํ กาตุํ ฯ
[๒๖]
ไหนเลยคณะมัลลกษัตริย์ผู้มีกำลังน้อย
จะต่อต้านกำลังข้าศึกผู้มีกำลังมากกว่าได้ถึง
อย่างไร
ก็ไม่ควรให้มีสงครามมาติดนครในอันใช่ที่
คณะมัลลกษัตริย์ทรงเห็นการณ์ดังนี้ จึง
ยังไม่ยอมแจกพระสารีริกธาตุให้ไปก่อน กว่า
ทูตทั้งหลาย พระนครจะพร้อมกันเข้าแล้ว
และรบเร้าจะแจกจนได้
เมื่อได้ทำเช่นนี้หากจะมีใครมาขอในภาย
หลัง ก็จะอ้างได้ถนัดว่า พระสารีริกธาตุนั้น
แบ่งกันเสร็จแล้ว
ถ้าจะขืนต่อยุทธทำการประหารแย่งชิง
ก็จะได้อาศัย ๗ พระนครนั้น อันร่วมสามัคคี
ธรรมเป็นกำลังช่วยต่อสู้ข้าศึก ข้อนี้ก็มีผล ฯ
ถ้าอำนาจใหญ่อันประกอบด้วยกำลัง
อันตั้งอยู่ในอุบายโกศล รู้จักดำเนินการให้
เป็นผลแก่บ้านเมือง ก็ย่อมจะแผ่อานุภาพให้
ไพศาลออกไปได้
กุโต ปเนตํ ภวิสฺสติ ยํ โกสินารกา มลฺลา
อปฺปพลนิกายา อปฺปเสนา หุตฺวา สกฺกุเณยฺยุํ
มหพฺพลนิกาเย มหาเสเน อรโย ปฏิพาหิตุํ ฯ
อปฺปฏิรูปํ โข ปเนตํ โหติ ยเมตฺถ สงฺคาโม
อุปฺปชฺเชยฺย ฯ
เอวํ มนสิกโรนฺตา โกสินารกา มลฺลา เตสํ
พุทฺธสารีริกธาตุโย อวิภชิตฺวา ยาว นานาราช-
ธานีนํ ราชทูตา สมาคตา อเหสุํ พุทฺธสารี-
ริกธาตุโย จ วิภชาเปสุํ วายมึสุเยว, ตาว
อาคเมสุํฯ
เอวญฺหิ สติ สเจ โย โกจิ ขตฺติโย ราชา
ปจฺฉา อตฺตโน ราชทูตํ สปริวารํ กุสินารํ
ปาเหสฺส พุทฺธสารีริกธาตุโย อภิยาจิตุํ, เตเนว
จสฺส โกสินารกา มลฺลา นิสฺสํสยเมวํ วทิสฺสํสุ
วิภชิตาเยว พุทฺธสารีริกธาตุโยติ ฯ
โส เจ ขตฺติโย ราชา โกสินารเกหิ
มลฺเลหิ สทฺธึ ยุทฺธมสชฺชิสฺส พุทฺธสารีริกธาตุโย
อจฺฉินฺทิตุํ, เต โกสินารกา มลฺลา เตหิ สตฺตหิ
ขตฺติเยหิ ราชูหิ สทฺธึ สมานจิตฺตา สมานจฺ-
ฉนฺทา สมคฺคา หุตฺวา เตเนว สทฺธึ ยุทฺธํ
กเรยฺยุํ ฯ
สเจ หิ อิสฺสรชโน อุปายโกสลฺลปทฏฺ าเนน
อิสฺสริยพเลน สมนฺนาคโต หุตฺวา รฏฺ วาสี-
อาทีนํ อตฺถสาธกานิ กิจฺจานิ อนุยุญฺเชยฺย,
อตฺตโน อานุภาวํ วิปฺผาเรตุํ สกฺโกติ ฯ
[๒๗]
ทรงบำเพ็ญจักรพรรดิวัตร
จัดธรรมมิการักขาวรณคุตติ์ ปกครองเหล่า
อนุยันตกษัตริย์ราชบริพาร พราหมณ์คฤหบดี
เสวกามาตย์ ราษฎร์ชาวนิคมชนบท ข้าขอบ
ขัณฑสีมา สมณพราหมณาจารย์ ตลอดถึง
มฤคปักษีชาติ
ทำนุบำรุงประชาชนผู้ไร้ทรัพย์ให้มั่งคั่ง
สมบูรณ์ ไม่ต้องประพฤติมิจฉาชีพอันจะก่อ
ให้เกิดการเบียดเบียนกันและกัน
หมั่นไต่ถามถึงบาปบุญ คุณโทษประ-
โยชน์ใช่ประโยชน์ กะสมณพราหมณาจารย์
ผู้ทรงคุณธรรม
ไม่มีกษัตริย์เจ้านครนั้น ๆ จะอาจแข่งขันไม่
อ่อนน้อม
เสด็จยาตราตุรงคินีแสนยากรไปถึง
ไหนก็ได้ความยอมไปถึงนั้น
นี้ก็เป็นเรื่องปรัมปรา แต่เป็นข้อสาธก
ให้เห็นผลแห่งอุบายโกศล อันเป็นเครื่องทวี
ความเจริญของอำนาจนั้น ๆ ให้ยิ่งขึ้น
ชนเหล่าใดมีสันดานหนาไปด้วยอกุศล
ก็ทรงแสดงทุจริตและผลของทุจริต ให้เกิด
สังเวชแล้วและละเว้นเสีย
ในเวลาใด ควรจะทรงแสดงธรรมเช่นไร
ก็ทรงแสดงตามควรแก่เวลานั้น
จกฺกวตฺติวตฺตํ ปริปูเรสิ ฯ กถํ ฯ
ธมฺมิกํ อารกฺขาวรณคุตฺตึ สํวิทหติ
อนฺโตชนสฺมึ พลกายสฺมึ ขตฺติเยสุ อนุยนฺเตสุ
พฺราหฺมณคหปติเกสุ เนคมชานปเทสุ สมณ-
พฺราหฺมเณสุ มิคปกฺขีสุ จ
เย อธนา โหนฺติ เตสํ ธนํ อนุปฺปเทติ ยํ
นิสฺสาย เต ปรวิหึสาสมุฏฺ าปิกํ มิจฺฉาชีวํ น
ปโยเชนฺติ
เย สมณพฺราหฺมณา ธมฺมิกา โหนฺติ มทปฺ-
ปมาทา ปฏิวิรตา, เต กาเลน กาลํ อุป-
สงฺกมิตฺวา กุสลากุสลมฺปิ สาวชฺชานวชฺชมฺปิ
อตฺถานตฺถมฺปิ ปริปุจฺฉติ ปริปญฺหติ
เย เต นคเรสุ ขตฺติยา วา ปฏิราชาโน วา
ตํ ปวตฺตึ ปชานนฺติ, เตสุ เอโกปิ เตน สทฺธึ
ยุคคฺคาหํ คหมาโน วา นิปจฺจการํ อกโรนฺโต
วา นตฺถิ
โส จาตุรงฺคิกํ เสนํ อากฑฺฒิตฺวา ยํ ยํ นครํ
ภชติ, ตตฺถ ตตฺถ อนุวตฺตนํ ปฏิลภิ
อิทํ กิญฺจาปิ ปรมฺปราภตํ, ตํตํอิสฺสริยา-
ภิวฑฺฒนภูตสฺส ปน อุปายโกสลฺลสฺส อตฺถ-
ปริทีปกํ สาธกํ โหติ
เย ชนา อกุสเลหิ ธมฺเมหิ อุสฺสนฺน-
สนฺตานา โหนฺติ, เตสํ สํเวคํ อุปฺปาเทตฺวา
อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานตฺถาย ทุจฺจริตํ ตสฺส
จ ผลํ ทสฺเสติ,
อปิจ ยาทิเส กาเล ยาทิโส ธมฺโม เทเสตพฺโพ
ตาทิเส กาเล อนุรูปํ ตาทิสํ ธมฺมํ เทเสติ ฯ
[๒๘]
ศาสโนวาทของพระองค์ จึงมีคุณเป็น
อัศจรรย์ ผู้กระทำตามได้ผลสมควรแก่ความ
ปฏิบัติ
เตน หิสฺส ภควโต สาสนํ สปฺปาฏิหาริย-
คุณํ โหติ, ยํ อนุปฏิปชฺชนฺโต ปฏิปตฺติยานุรูปํ
ผลํ ลภติ
สมานัตตตา ศก ๑๒๓ (น.๓๗-๔๓)
สมานัตตตานั้นแปลว่า ความเป็นผู้มีตน
เสมอ อธิบายว่า ความประพฤติสม่ำเสมอใน
ธรรมทั้งหลายที่ให้เป็นไปในบุคคลนั้น ๆ ตาม
สมควร ชื่อว่าสมานัตตา
ชนผู้เป็นญาติก็ประพฤติตนตามฉันที่
เป็นญาติคือนับถือกันตามสมควรไม่ดูหมิ่นกัน
เพราะมีอิสริยยศอำนาจศฤงคารบริวารไม่
เสมอกัน ดังนี้ ชื่อว่าประพฤติตนสม่ำเสมอใน
ญาติธรรม
สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์จึง
ประทานพระบรมพุทโธวาทให้ตั้งอยู่ในคุณ
ข้อนี้ทั้งคฤหัสถ์บรรพชิต
ทรงแสดงกิจของผู้ครองเรือนที่ใช้จ่ายโภค-
ทรัพย์ด้วยดี ก็ยกญาติพลีคือการสงเคราะห์
ญาติว่าเป็น กรณียะอย่างหนึ่ง ซึ่งทำแล้วก็จะ
ได้ชื่อว่าถือเอาประโยชน์แห่งโภคทรัพย์ เป็น
อันไม่จับจ่ายเปล่า
ฝ่ายบรรพชิตเล่าก็ทรงเปิดโอกาสให้บำเพ็ญ
ญาตัตถจริยาได้ตามสมควร
เช่น ภิกษุจะทำยาให้แก่ญาติก็ไม่ห้ามให้
พัสดุของตนก็ไม่เป็นกุลทูสกหรือทำศรัทธา
ไทยให้ตก
สมานตฺตตาติ ปเนตฺถ ฯ สมาโน ปรสฺส
อตฺตา เอเตนาติ สมานตฺโต สมานตฺตสฺส
ภาโว สมานตฺตตา
โย อตฺตโน าตโก โหติ, ตสฺมึ ปุคฺคเล
ยถารหํ มานนายปิ อสมานิสฺสริยยสวสธน-
ปริวารเหตุ อนวมญฺ นายปิ าตกฏฺ านา-
นุรูปโต สมํ จรติ ฯ อยํ าติธมฺเม สมจริยา
นาม ฯ
ตสฺมา ภควาปิ คิหิโน เจว ปพฺพชิเต จ
อิมิสฺสํ สมจริยาย ปติฏฺ าเปตุํ โอวทิ ฯ กถํ ฯ
ฆรมาวสตํ คิหีนํ โภควลญฺชนกิจฺจํ ทสฺเสนฺโต
าติสงฺคหสงฺขาตํ าติพลึ กรณียํ อุทฺทิสิ, ยํ
กตฺวา โภคานํ อาทิเย อาทิยติ นาม น จ
นิรตฺถกฏฺ าเนน โภเค วลญฺเชติ นาม
ปพฺพชิตานมฺปิ ยถารหํ าตตฺถจริยํ กาตุํ
โอกาสํ อทาสิ ฯ กถํ ฯ
ภิกฺขุสฺส าตกานํ เภสชฺชกมฺมํ น นิวาริตํ,
อตฺตโน สนฺตกํ าตกานํ ททนฺตสฺส กุลทูสก-
กมฺมํ น โหติ, น สทฺธาเทยฺยวินิปาตนํ,
[๒๙]
จะให้จีวรแก่นางภิกษุณีผู้เป็นญาติ หรือรับ
บิณฑบาตจากเธอด้วยมือของตนเองแล้วฉัน
ก็ไม่ต้องอาบัติ และไม่เป็นวิญญัติเพราะขอ
ปัจจัย ๔ กะคฤหบดีผู้เป็นญาติ
และมีเรื่องเล่าในอรรถกถาธรรมบทว่า
พระองค์ได้ทรงห้ามวิวาทในระหว่างหมู่พระ
ญาติให้ระงับ และห้ามทัพวิฑูฑภะเจ้าโกศล
รัฐผู้คิดจะกำจัดศากยวงศ์ไว้ได้ด้วยอุบายถึง
๒ ครั้ง.
อนึ่ง พระองค์ยังได้ประทานบริหารแผนก
หนึ่งแก่พระญาติผู้บวชเป็นเดียรถีย์จะมาบวช
ในพระธรรมวินัยนี้
ไม่ต้องประพฤติติตถิยปริวาสถ้วน ๔
เดือนก่อน เหมือนผู้อื่น พอมาถึงก็ให้บวชได้
ทีเดียว
อันญาตินี้ ย่อมมีไมตรีสนิทกว่าผู้อื่น
เป็นผู้ช่วยรู้สึกด้วยในสุขทุกข์ และเป็นกำลัง
ในกิจการ
ชนผู้ไร้ญาติ ก็ปานพฤกษชาติอันหา
สาขามิได้ ไม่มีกำลังพอจะทนพายุพัด มี
ทางจะถึงวิบัติโดยง่ายดาย
าติกภูตาย ภิกฺขุนิยา จีวรํ ททนฺตสฺส
วา ตสฺสา หตฺถโต สหตฺถา ปิณฺฑปาตํ
ปฏิคฺคเหตฺวา ภุญฺชนฺตสฺส วา อาปตฺติ วา โหติ,
าตกภูตํ คหปตึ วา คหปตานึ วา จีวราทิ-
ปจฺจเย วิญฺ าเปนฺตสฺส กตวิญฺ ตฺติ น โหติ ฯ
ธมฺมปทฏ กถายญฺเจตํ วุตฺตํ “โส ภควา
อุทกเหตุ วิวาทาปนฺนานํ าตกานํ กลหํ
วูปสเมสิ, สากิยวํสญฺจ วินาเสตุํ มหนฺเตน
พเลน นิกฺขนฺตํ วิฑูฑภํ โกสลราชานํ อุปาเยน
ทฺวิกฺขตฺตุํ นิวาเรสีติ ฯ
โส จ ภควา โย ชาติยา สากิยภูโต
าตโก อญฺ ติตฺถิยภูตโก หุตฺวา อาคนฺตฺวา
อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อุปสมฺปทํ อากงฺขติ, ตสฺส
อาเวณิกํ ปริหารํ อทาสิ ฯ กถํ ฯ
เตน าตเกน ยถา อญฺเ น อญฺ ติตฺถิย-
ปุพฺพเกน อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อุปสมฺปทํ อากงฺข-
มาเนน จตฺตาโร มาเส ปริวาโส ปูเรตพฺโพ
เอวํ น ปูเรตพฺโพ, โส อาคตมตฺโต ว อุปสมฺ-
ปาเทตพฺโพ
าตกา นาม สินิทฺธเมตฺติยุตฺตา โหนฺติ
สมานสุขทุกฺขา กิจฺเจสุ จ พลภูตา ฯ
ยสฺส าตกา นตฺถิ โส สุเขน วิปตฺตึ
ปาปุณาติ ฯ เสยฺยถาปิ นาม โย รุกฺโข
นิสฺสาโข โหติ, ตสฺส วาตํ ตายิตุํ ปโหนกํ
พลํ นตฺถิ, โส สุเขน วิปตฺตึ ปาปุณาติ เอวํ
สมฺปทมิทํ ทฏฺ พฺพํ ฯ
[๓๐]
อีกประการหนึ่ง ชนผู้เป็นมิตรแห่ง
กันประพฤติตนตามฉันที่เป็นมิตร มีจิตคงที่
ไม่แปรผัน ในเวลาที่ฝ่ายหนึ่งได้ดีผิดกว่ากัน
หรือฝ่ายหนึ่งเสื่อมทรามลงไป ดังนี้ ได้ชื่อว่า
ประพฤติตนสม่ำเสมอในมิตรธรรม
และเป็นผู้ช่วยรู้สึกด้วยในสมบัติวิบัติ
และกิริยาที่คบมิตรเล่า ก็ผิดกับกิริยาที่นับ
ถือญาติ บุคคลนับถือกันว่าเป็นญาติก็เพราะ
นับถือว่าเป็นผู้เนื่องกันทางฝ่ายมารดาหรือ
ฝ่ายบิดา แต่จะคบกันเป็นมิตรนั้น ก็เพราะ
เป็นผู้ถูกอัธยาศัยร่วมกันในกิจการนั้น ๆ
การคบมิตรจึงเป็นสำคัญในปัจจัย
ภายนอก ที่จะจูงให้บุคคลถึงความเสื่อมหรือ
ความเจริญ
อีกประการหนึ่ง ชนผู้นับเนื่องในหมู่
เดียวกันประพฤติตามฉันที่เป็นพวกเดียวกัน
ไม่คิดอารัดเอาเปรียบ ต่างรักษาประโยชน์
ของกัน ดังนี้ ได้ชื่อว่าประพฤติตนสม่ำเสมอ
ในตัปปริยาปันนธรรม คือธรรมของชนผู้เนื่อง
ในหมู่นั้น ๆ
เหมือนดังไม้หลาย ๆ อันที่ตั้งยันกันอยู่
มีผู้ชักออกเสียจนมีกำลังไม่พอจะทานกันไว้
ได้ ก็ต่างจะล้ม ฉะนั้น
อถวาฯ โย หิ อญฺ สฺส มิตฺตภูโต ปุคฺคโล
มิตฺตภาวานุโลมโต อาจรติ อตฺตโน มิตฺตสฺส
วรตราธิคตกาเล วา ปริหานิปตฺตกาเล วา
ตาทิ โหติ อวิปริณามธมฺโม, อยํ มิตฺตธมฺเม สมํ
จรติ นาม
ตสฺมิญฺจ สมฺปตฺติวิปตฺตึ สมฺปตฺเต ตสฺส
อนุตาปาทิจิตฺตสภาวํ ทสฺเสติ
เอตฺถ จ มิตฺตเสวนาปิ าติมานนาปิ
วิสทิสา โหนฺติ ฯ กถํ ฯ ยงฺกญฺจิ ปุคฺคลํ อตฺตโน
าตกํ มาเนนฺโต อตฺตโน ปิตุนา วา มาตุยา วา
สทฺธึ ปริยาปนฺนตาย มาเนติ, ยงฺกญฺจิ ปน
อตฺตโน มิตฺตํ เสวมาโน ตสฺมึ ตสฺมึ กิจฺเจ
สมานชฺฌาสยตาย เสวติ,
สา จ มิตฺตเสวนา ปริหานึ วา วุฑฺฒึ วา
ปาเปตุํ ปฏิพลภูเตสุ พาหิรปจฺจเยสุ อติสาร-
ภูตา โหติ ฯ
อถวา เย เต เอกสฺมึ นิกาเย ปริยาปนฺนา
ชนา ปรตฺถภญฺชเนน พหุตรํ อตฺตทตฺถํ ลทฺธุํ
น วายมนฺติ, อญฺ มญฺ สฺส ปน อตฺถํ อนุรกฺขิตุํ
วายมนฺติ, เต ตปฺปริยาปนฺนา ธมฺเมสุ สมํ
จรนฺติ นาม ฯ
เสยฺยถาปิ นาม ตโย วา จตฺตาโร วา
ทารุทณฺฑกา อญฺ มญฺ ํ นิสฺสาย ิตา, เตสุ
เอโก วา เทฺว วา เกนจิ อปนีตา โหนฺติ, เสสา
ทุพฺพลา หุตฺวา อญฺ มญฺ ํ สนฺธาเรตุํ น
สกฺโกนฺติ, ขิปฺปเมว ภูมิยํ ปตนฺติ, เอวํ สมฺปท-
มิทํ ทฏฺ พฺพํ
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf

More Related Content

What's hot

โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพSurapong Klamboot
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญPhatphong Mahawattano
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพYaowaluck Promdee
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่niralai
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาniralai
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
บทละครวันแม่
บทละครวันแม่บทละครวันแม่
บทละครวันแม่PT Protae
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานพัน พัน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์Nhui Srr
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาG ''Pamiiz Porpam
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติTongsamut vorasan
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพItt Bandhudhara
 

What's hot (20)

โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญสวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
สวดมนต์ วัดพระธาตุจอมมอญ
 
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพการเป็นพิธีการมืออาชีพ
การเป็นพิธีการมืออาชีพ
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี ๙๐ พระคาถา
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี  ๙๐ พระคาถา9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี  ๙๐ พระคาถา
9. กัณฑ์ที่ ๙ มัทรี ๙๐ พระคาถา
 
บทสวดมนต์
บทสวดมนต์บทสวดมนต์
บทสวดมนต์
 
บทละครวันแม่
บทละครวันแม่บทละครวันแม่
บทละครวันแม่
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
เหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษาเหตุผลกับภาษา
เหตุผลกับภาษา
 
แผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธาแผ่นพับมัทนะพาธา
แผ่นพับมัทนะพาธา
 
แหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติแหล่กลับชาติ
แหล่กลับชาติ
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
 
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพวรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
วรรณกรรมเรื่อง ทวิภพ
 

Similar to แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf

พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2Tongsamut vorasan
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80Rose Banioki
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Wataustin Austin
 
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
บาลี 40 80
บาลี 40 80บาลี 40 80
บาลี 40 80Rose Banioki
 
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)Wataustin Austin
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 

Similar to แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf (20)

พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
พิธีสะเดาะห์เคราะห์2
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
Sukhothai
SukhothaiSukhothai
Sukhothai
 
Aksorn 3
Aksorn 3Aksorn 3
Aksorn 3
 
แปลอุภยพากย์
แปลอุภยพากย์แปลอุภยพากย์
แปลอุภยพากย์
 
Pray everyday
Pray everydayPray everyday
Pray everyday
 
บาลี 04 80
บาลี 04 80บาลี 04 80
บาลี 04 80
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
7 57+สมนฺตปาสาทิกาย+นาม+วินยฏฐกถา+อตฺถโยชนา+(ปฐโม+ภาโค)
 
บาลี 40 80
บาลี 40 80บาลี 40 80
บาลี 40 80
 
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
 
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
4 40+มงฺคลตฺถทีปนี+(ปฐโม+ภาโค)
 
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
2 17+ธมฺมปทฏฐกถา+(ตติโย+ภาโค)
 

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral) (20)

ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Buildingทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
 
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลีการใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
 
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลีการสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
 
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdfประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
 
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Wordsการแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
 
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdfคําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
 
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocabประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
 
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translationการแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการหลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
 
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลีธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
 
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
 
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdfสำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
 
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลีจูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
 
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 

แต่งไทย ป.ธ. 9 ปรมาจารย์นิทัศน์ ๒๕๖๔.pdf

  • 3. [๓] ปณามคาถา อนนฺตคุณสมฺปนฺโน สตฺเต ธมฺเมน โตเสติ อนนฺต าณนิทฺทิฏฺโ สตฺเต ทุกฺขา ปโมเจติ อเนกคุณสมฺปนฺโน สตฺเต ธมฺเม นิโยเชติ อเนกสุตสมฺปนฺโน มหาครุ มหาเถโร คุณํ ตสฺส สริตฺวาน ยาทานิ สิกฺขกามานํ มงฺคลวิเสสกถา- มหาเถเรน เอเตน อิมาสํ เอกเทสํธ กริสฺสํ สิกฺขกามานํ โย พุทฺโธ โลกนายโก สิรสา ตํ นมามิหํ โย ธมฺโม สุขทายโก สิรสา ตํ นมามิหํ โย สงฺโฆ วํสปาลโก สิรสา ตํ นมามิหํ ปริยตฺติวิสารโท โย สุรเตชสวฺหโย สิรสา ตํ นมามิหํ นิทสฺสนานุรูปกา ทีปิกา อตฺถวณฺณนา ปาลิภาสาย วณฺณิตา อุจฺจินิตฺวา ยถาพลํ อุปการาย สงฺคหํ ฯ
  • 4. [๔] ปณามคาถา ข้าพเจ้าขอถวายนมัสการด้วยเศียรเกล้าพระพุทธเจ้า ผู้ถึงพร้อมด้วยพระคุณ อันหาที่สุดมิได้ ทรงนำไปซึ่งสัตวโลกให้ยินดีด้วยธรรมปฏิบัติ ข้าพเจ้าขอถวายนมัสการ ด้วยเศียรเกล้าซึ่งพระธรรมเจ้า อันพระพุทธเจ้าพระองค์นั้นทรงแสดงไว้ด้วยพระญาณ อันหาขอบเขตมิได้ ประทานให้ซึ่งความสุข ให้เหล่าสัตว์พ้นทุกข์ด้วยธรรมปฏิบัติ ข้าพเจ้า ขอถวายนมัสการด้วยเศียรเกล้าซึ่งพระสงฆเจ้า ผู้สมบูรณ์ด้วยคุณอเนกประการ รักษา อภิบาลวงศ์ของพระพุทธเจ้า เฝ้าชักชวนเหล่าสัตว์ในธรรมปฏิบัติ ข้าพเจ้าขอน้อมนบ ด้วยเศียรเกล้าซึ่งพระมหาเถระผู้สมบูรณ์ด้วยสุตะอเนกประการ องอาจกล้าหาญในพระ ปริยัติ เป็นครูผู้ยิ่งใหญ่ มีนามว่า สุรเตชะ บัดนี้ ข้าพเจ้าจักเลือกเอาเฉพาะบางส่วนแห่งอรรถวรรณนา อันเป็นเครื่อง แสดงพระมงคลวิเสสกถา อันพระมหาเถระรูปนั้นรจนาด้วยบาลีภาษา ซึ่งสมควรเป็น แบบอย่างแก่ผู้ใคร่ต่อการศึกษาทั้งหลายได้ มารวบรวมไว้ที่นี้ตามกำลัง เพื่อเป็นอุปการะ นักศึกษาทั้งหลาย ต่อไป ฯ
  • 5. [๕] สารบัญ คำนำ ๘ คำนำหนังสือพระมงคลวิเสสกถา [น.(๓)] ๑๑ ส่วนที่ ๑ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ปุพเพกตปุญญตา ศก ๑๑๙ (น.๘-๑๐) ๑๓ รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๑๙ (น.๑๑-๑๒) ๑๔ อรรถจริยา ศก ๑๒๐ (น.๑๘-๑๙) ๑๕ รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๐ (น.๑๙-๒๐) ๑๖ สัทธาสัมปทา ศก ๑๒๑ (น.๒๒-๒๕) ๑๗ สามัตถิยะ ศก ๑๒๑ (น.๒๕-๒๖) ๒๐ รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๑ (น.๒๖-๒๗) ๒๓ พาหุสัจจะ ศก ๑๒๒ (น.๒๙-๓๑) อุบายโกศล ศก ๑๒๒ (น.๓๒-๓๔) ๒๔ สมานัตตตา ศก ๑๒๓ (น.๓๗-๔๓) ๒๘ การุญญภาพ ศก ๑๒๓ (น.๔๓-๔๕) ๓๔ รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๓ (น.๔๕-๔๖) ๓๖ เมตตาปุเรจาริกตา ศก ๑๒๔ (น.๔๗-๕๑) ๓๗ ปฏิสันถารกุสลตา ศก ๑๒๔ (น.๕๑-๕๔) ๔๐ กาลัญญุตา ศก ๑๒๕ (น.๕๗-๖๒) ๔๔ ปุตตสังคหะ ศก ๑๒๕ (น.๖๓-๖๕) ๕๐ รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๕ (น.๖๕-๖๖) ๕๑ วิริยสมบัติ ศก ๑๒๖ (น.๖๘-๗๓) ๕๓ โลกัตถจริยา ศก ๑๒๖ (น.๗๓-๗๕) ๕๙ มิตรสมบัติ ศก ๑๒๗ (น.๗๙-๘๔) ๖๒ มัตตัญญุตา ศก ๑๒๗ (น.๘๕-๘๗) ๖๓ ธรรมภาษิตสัตยาธิษฐาน (กัตตุกัมยตาฉันทะ และปุคคลัญญุตา - น.๙๐-๙๑) ๖๙ กัตตุกัมยตาฉันทะ ศก ๑๒๙ (น.๙๓-๙๗) ๗๐ ปุคคลัญญุตา ศก ๑๒๙ (น.๙๗-๙๘) ๗๕ ส่วนที่ ๒ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ (กิตฺติโสภณมหาเถร) สหกรณ์ (น.๑๐๖-๑๐๙) ๗๘ สันติ (น.๑๐๙-๑๑๐) ๘๓
  • 6. [๖] ส่วนที่ ๓ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร (สุวฑฺฒนมหาเถร) พระขันติธรรม พ.ศ.๒๕๔๐ (น.๑๑๙-๑๒๐) ๘๖ จักร ๔ พ.ศ.๒๕๓๘ (น.๑๒๖-๑๒๗) ๘๙ ไตรสรณคมน์ พ.ศ.๒๕๓๙ (น.๑๓๒-๑๓๓) ๙๐ พาหุสัจจธรรม พ.ศ.๒๕๓๖ (น.๑๓๘) ๙๒ กัลยาณมิตตตาธรรม พ.ศ.๒๕๓๖ (น.๑๓๙-๑๔๐) ๙๓ รัฏฐาภิปาลโนบาย - พลวัฑฒนธรรม พ.ศ.๒๕๓๕ (น.๑๕๐-๑๕๒) ๙๔ วรรณวัฑฒนธรรม - จักกวัตติสูตร พ.ศ.๒๕๓๔ (น.๑๖๐-๑๖๑) ๙๗ ธรรม พ.ศ.๒๕๓๓ (น.๑๗๑-๑๗๓) ๙๘ วินัย พ.ศ.๒๕๓๓ (น.๑๗๖-๑๗๗) ๑๐๑ รัฏฐาภิปาลโนบาย - มองจากที่ไกล-ใกล้ พ.ศ.๒๕๓๓ (น.๑๗๙-๑๘๐) ๑๐๓ เมตตา พ.ศ.๒๕๓๑ (น.๑๘๙-๑๙๑) ๑๐๕ อุเบกขา พ.ศ.๒๕๓๑ (น.๑๙๑-๑๙๓) ๑๐๗ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๑ - ขันติ (น.๑๙๔-๑๙๖) ๑๑๐ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๑ - อวิโรธนะ (น.๑๙๖-๑๙๗) ๑๑๔ สัจจะ พ.ศ.๒๕๓๐ (น.๒๑๑-๒๑๒) ๑๑๖ อธิษฐาน พ.ศ.๒๕๓๐ (น.๒๑๒-๒๑๔) ๑๑๗ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๐ - อักโกธะ (น.๒๑๔-๒๑๕) ๑๒๐ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๕๓๐ - อวิหิงสา และสรุปธรรมะทั้งสอง (น.๒๑๖-๒๑๘) ๑๒๑ วิริยะ พ.ศ.๒๕๒๙ (น.๒๓๓-๒๓๔) ๑๒๔ ขันติ พ.ศ.๒๕๓๐ (น.๒๓๔-๒๓๖) ๑๒๖ รัฏฐาภิปาลโนบาย - สรุป วิริยะ กับ มัททวะ (น.๒๓๖-๒๓๗) ๑๒๘ รัฏฐาภิปาลโนบาย - พระราชกรณียกิจบางประการ พ.ศ.๒๕๒๙ (น.๒๓๘-๒๔๐) ๑๒๙ ส่วนที่ ๔ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ ( าณวรมหาเถร) อรรถจริยา พ.ศ.๒๔๖๔ (น.๒๕๓) ๑๓๔ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๖๔ (น.๒๕๔-๒๕๖) รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๖๕ (น.๒๖๗-๒๖๘) ๑๓๗ อัตตสัมมาปณิธิ พ.ศ.๒๔๖๖ (น.๒๖๙-๒๗๐) ๑๓๙ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๖๖ (น.๒๗๖) ๑๔๒ รัฏฐาภิปาลโนบาย - พ.ศ.๒๔๖๗ (น.๒๘๔-๒๘๖) สมานัตตตา พ.ศ.๒๔๗๐ (น.๒๙๐) ๑๔๔ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๗๐ (น.๒๙๔-๒๙๖) อัตถกามตา พ.ศ.๒๔๗๑ (น.๒๙๘-๒๙๙) ๑๔๗ ธิติ พ.ศ.๒๔๗๑ (น.๒๙๙-๓๐๒) ๑๔๙
  • 7. [๗] พหุปปิยตา-รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๗๑ (น.๓๐๒-๓๐๔) ๑๕๑ สหกรณ์ พ.ศ.๒๔๗๒ (น.๓๐๘-๓๑๐) ๑๕๓ ปฏิรูปเทสวาส พ.ศ.๒๔๗๓ (น.๓๑๗-๓๑๘) ๑๕๕ ปฏิรูปการิตา พ.ศ.๒๔๗๓ (น.๓๑๘-๓๒๐) ๑๕๙ รัฏฐาภิปาลโนบาย พ.ศ.๒๔๗๓ (น.๓๒๑) ๑๖๓ สติปัฏฐาน พ.ศ.๒๔๗๔ (น.๓๒๔-๓๒๖) ๑๖๔ การณวสิกตา พ.ศ.๒๔๗๕ (น.๓๒๗-๓๓๘) ๑๖๖ ขันติ พ.ศ.๒๔๗๖ (น.๓๔๐-๓๔๓) ๑๘๒ โสรัจจะ พ.ศ.๒๔๗๖ (น.๓๔๐-๓๔๓) ๑๘๓ ธัมมกามตา พ.ศ.๒๔๗๗ (น.๓๔๗-๓๔๘) ๑๘๖ อาชชวะ พ.ศ.๒๔๘๐ (น.๓๕๓-๓๕๕) ๑๘๗ ไมตรี พ.ศ.๒๔๘๐ (น.๓๕๖) ๑๙๑ สัจจะ พ.ศ.๒๔๘๒ (น.๓๕๙) ๑๙๒ รัฏฐาภิปาลโนบาย - ธรรมาธรรมะสงคราม พ.ศ.๒๔๘๒ (น.๓๖๐-๓๖๑) ๑๙๔ ยาจโยคตา พ.ศ.๒๔๙๐ (น.๑๘๖-๑๘๗) ๑๙๖ ░
  • 8. [๘] คำนำ ด้วยวิชาแต่งไทยภาษามคธ เป็นวิชาที่ต้องใช้ความรู้ความเข้าใจอย่างมาก ไม่ว่าจะใน ด้านหลักการทางภาษา และหลักการตีความจับประเด็นต่าง ๆ จึงเป็นเรื่องที่สร้างความหนักใจแก่ ผู้ศึกษาอยู่ไม่น้อย หากได้อาศัยการทบทวนความรู้ในหลักภาษาที่มีอยู่เดิม สั่งสมประสบการณ์ ความรู้ รอบตัวต่าง ๆ เช่นด้านประวัติศาสตร์และธรรมทั้งหลาย และเรียนรู้จากการแต่งและตีความของ เหล่าบูรพาจารย์แล้ว ผู้ศึกษาก็อาจได้ความเชี่ยวชาญและความมั่นใจโปร่งจิตได้ไม่มากก็น้อย จึงได้รวบรวมศัพท์-สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ ของพระเดชพระคุณหลวงพ่อพระมหา- โพธิวงศาจารย์ (ทองดี สุรเตโช ป.ธ.๙, ราชบัณฑิต) อาจารย์สอนวิชาแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ ประจำโรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ส่วนกลาง วัดสามพระยา ตามที่เคย ได้รับข้อแนะนำของอาจารย์เจ้าคุณพระเทพวัชรบัณฑิต (สมจินต์ สมฺมาปญฺโ ป.ธ.๙, ศ.ดร.) อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และอาจารย์สอนวิชาแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ สำนักเรียนวัดปากน้ำ จากเฉลยสนามหลวงและเฉลยในชั้นเรียนมา เพื่อเป็น อุปการะในการศึกษาของตัวผู้รวบรวมเอง และผู้ที่จะได้พบเห็นเอกสารนี้ แต่เดิมเอกสารนี้ ได้จัดทำขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ.๒๕๖๓ โดยใช้ชื่อว่า “มหาโพธิวังสา จริยสัททสังคหะ” ในขณะนั้น ยังเผยแพร่ในวงแคบ และยังปรากฏความบกพร่องที่ควรแก้ไขอย่าง มาก ผู้เรียบเรียง จึงพยายามตรวจทาน ตัดลดหรือเพิ่มเนื้อหาต่าง ๆ ระหว่างที่ศึกษาประโยค ป.ธ.๙ ปีที่ ๒ และพิมพ์ใหม่ทั้งหมด โดยจัดหมวดหมู่เนื้อหาตามสารบัญหนังสือพระมงคลวิเสสกถา พร้อมทั้งเปลี่ยนชื่อเอกสารจากเดิมที่ยาวและสื่อความหมายไม่ชัดเจน เป็น “ปรมาจารย์นิทัศน์” อันหมายความว่า “ตัวอย่างของปรมาจารย์” นั่นเอง ผู้เรียบเรียงขอคารวะเชิดชูพระคุณของพระเดชพระคุณทั้งสองรูปดังได้กล่าวถึงข้างต้น ขอขอบคุณแหล่งข้อมูลต่าง ๆ คือ หนังสือคู่มือประกอบแต่งไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.๙ ผลงาน ของพระปิฎกเมธี (ทองดี ปญฺ าวชิโร ป.ธ.๙) ไฟล์เอกสารมงคลวิเสสกถา จากกลุ่มปาลิภาสา จูฬปาลิ และไฟล์หนังสือมงคลวิเสสกถาปกาสินี ผลงานของอาจารย์พระมหานพพร อริย าโณ ป.ธ.๙ วัดอรุณราชวราราม โดยการเอื้อเฟื้อจากสามเณรญาณกร นรินทร์นอก ป.ธ.๘ วัดสระเกศ และในการทำงานครั้งนี้ ได้อาศัยจอคอมพิวเตอร์ของสามเณรอภิวัฒน์ มะโนรัตน์ ป.ธ.๖ มาช่วยให้ ทำงานได้รวดเร็วและสะดวกยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณทั้งพระอาจารย์ผู้เรียบเรียง และขอบคุณใน น้ำใจของสหธรรมิกกับรุ่นน้องด้วย
  • 9. [๙] เอกสารฉบับนี้ แม้ผ่านการปรับปรุงมาแล้ว ก็อาจมีความไม่สมบูรณ์ครบถ้วน หรือ ข้อผิดพลาดบางประการปรากฏ ผู้รวบรวมขอน้อมรับมาแก้ไข และขออภัยมา ณ ที่นี้ สามเณรอาชัญ สอาดเอี่ยม วัดปากน้ำ ภาษีเจริญ กรุงเทพฯ ตึกธรรมปัญญาบดี วัดปากน้ำ ๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔
  • 11. [๑๑] คำนำหนังสือพระมงคลวิเสสกถา [น.(๓)] พระมงคลวิเสสกถา เป็นบทพระธรรม เทศนาที่แสดงต่อหน้าพระที่นั่งในมหาสมาคม สันนิบาตพระราชพิธีอันสำคัญ เช่น วันเฉลิม พระชนมพรรษาของสมเด็จบรมบพิตร พระ ราชสมภารเจ้า องค์เอกอัครศาสนูปถัมภก ผู้ ทรงพระคุณอันประเสริฐพระองค์นั้น ๆ ย่อมเป็นบทพระธรรมเทศนาที่เพียบ พร้อมด้วยอรรถสาระ ไพเราะด้วยสำนวน โวหาร ก่อให้เกิดศรัทธาปสาทะอันมั่นคงแก่ผู้ สดับ นับเป็นแบบฉบับที่อนุชนจะพึงกำหนด และจดจำนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนและ คนทั้งหลาย สา หิ มงฺคลวิเสสกถา รญฺโ ชาตทิวเส สงฺฆปรินายกภูเตหิ มหาเถเรหิ ตสฺส อนุมตึ ลภิตฺวา เทสิตเทสนา โหติ ฯ ตสฺสา สารตฺโถ หทยงฺคโม โหติ ปริ- ปุณฺโณ ธมฺมิโก ตตฺถ จ อตฺถวณฺณนาปิ วิภูตา หุตฺวา สุเขน อนุปสฺสิตุํ สกฺกา โหติ ฯ สา เทสนาย ทิฏฺ านุคติ ภวิตุํ สกฺโกติ, พุทฺธสาสนํ จ สนฺธาเรตุํ สมตฺถภูตานํ ธมฺม- กถิกานํ อนุสิกฺขิตุํ เจว อนุปฏิปชฺชิตุํ จ ปฏิรูปา โหติ ฯ
  • 13. [๑๓] ปุพเพกตปุญญตา ศก ๑๑๙ (น.๘-๑๐) ปุพเพกตปุญญตา นั้น คือพระราช กุศลสมภารบุญญาธิการบารมี ที่สมเด็จบรม- บพิตรพระราชสมภารเจ้า ได้ทรงบำเพ็ญไว้ใน ปางก่อนเป็นลำดับมา ตั้งแต่ปุเรชาติจนถึงภพ ปัจจุบันอันเป็นส่วนอดีต มาสโมสรเพิ่มพูนวิบากขันธ์อันมโหฬาร ให้ทรงบริบูรณ์ด้วยสมบัติ ๔ ประการ คือ พระชาติสมบัติ อิสริยสมบัติ โภคสมบัติ พระ ญาณสมบัติ อาจชักนำผู้อื่นที่เสมอหรือต่ำกว่าโดย ชาติและตระกูล สำคัญเพื่อจะประพฤติตาม โดยง่าย สมเด็จพระสุคตมหามุนี จึงตรัสแสดง ปุพเพกตปุญญตานั้นว่า เป็นสมบัติจักร อันจะ พัดผันนำท่านผู้บำเพ็ญไว้แล้วนั้น ให้บรรลุผล พิเศษ ดุจล้อรถอันพัดพาผู้ขึ้นให้ลุถึงสถานที่ ประสงค์ กรรมที่สัตว์กระทำด้วยไตรทวาร จะได้ โวหารว่า บุญก็ดี กุศลก็ดี ต้องมี อโลภะ อโท สะ อโมหะ เป็นสมุฏฐาน ข้อนี้เป็นการทวนกระแสโลกประวัติ ยากที่สัตว์โลกจะบำเพ็ญ เอตฺถ ปน ทยฺยานมินฺเทน วรราเชน ปุพฺพกาลโต ปฏฺ าย ยาว สนฺทิฏฺ ิกกาลา อนุปุพฺเพน สมฺภริโต อตีตํสกุสลภูโต ปุญฺ า- ธิกาโร ปุพฺเพกตปุญฺ ตา นามฯ เอสา อนุคนฺตฺวา ตสฺส มหนฺตํ วิปากํ อนุปฺปเทติ, ยํ อาคมฺม โส ชาติสมฺปทา อิสฺสริยสมฺปทา โภคสมฺปทา าณสมฺปทาติ จตุสมฺปทาหิ ปริปูรึ สมฺปาเทติ เย ชนา ชาติกุลโต อตฺตนา สมา วา นีจตรา วา โหนฺติ, เต สุเขน อตฺตโน วจนํ สทฺทหาเปตุํ อตฺตานญฺจ อนุวตฺตาเปตุํ สกฺโกติ เตน ภควา ตสฺสา ปุพฺเพกตปุญฺ ตาย จตุนฺนํ สมฺปตฺติจกฺกานํ อญฺ ตรภาวํ ทสฺเสสิ, ยานิ สมนฺนาคเต เทวมนุสฺเส น จิรสฺเสว วิเสสโต มหนฺตตฺตํ เวปุลฺลตฺตํ ปาเปนฺติ ยถาตํ รถจกฺกานิ รถคตํ ยถิจฺฉิตฏฺ านํ ปาปยมานานิ ยานิ กานิจิ กมฺมานิ ติทฺวาเรหิ กตานิ, เตสุ ยํ อโลภาโทสาโมหสมุฏฺ านํ โหติ, ตเทว ปุญฺ นฺติ กุสลนฺติปิ โวหารํ ลภติ อิทํ ปุญฺ กมฺมํ โลกปวตฺติยา ปฏิโสตํ ปวตฺตติ น จ สุกรํ โหติ
  • 14. [๑๔] ข้อนี้แลเป็นเหตุให้สัตว์โลกพิเศษ และ ต่ำช้าไม่เสมอทั่วกันไป สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ประทาน พระบรมพุทโธวาทห้ามอย่าให้เป็นคนกลัวแต่ บุญเช่นนั้น ตรัสสอนให้ปลูกฉันทรุจิในบุญญ- กรรมนั้นแล้ว และอดทนกระทำ อิทเมว สตฺตานํ หีนปฺปณีตตาสงฺขาตสฺส อสมภาวสฺส การณํ โหติ ยถาห “กมฺมํ สตฺเต วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตายาติ ยํ “มา ภิกฺขเว ปุญฺ านํ ภายิตฺถาติ วุตฺตํ ตํ ตาทิสํ ปุญฺ ภายนํ สนฺธาย วุตฺตํ, ตมฺหิ จ ปุญฺเ ฉนฺทรุจิอุปฺปาทนตฺถาย อุสฺสาหกรณตฺถาย จ วุตฺตํ ฯ ยถาห “ตมฺหิ ฉนฺทํ กยิราถาติ ฯ รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๑๙ (น.๑๑-๑๒) อีกประการหนึ่ง ได้ทรงพระราชศรัทธา เริ่มการสถาปนาวัดเบญจมบพิตร และบูรณะ วัดปรินายก ทรงพระราชอุทิศแก่จาตุทิศสงฆ์ ผู้จะมาอยู่อาศัยประกอบกิจพระศาสนา และอานิสงส์นั้นเล่า เมื่อย่อกล่าวตามนัย ในพุทธคาถาอนุโมทนาวิหารทานของท่าน เศรษฐีอนาถบิณฑิกะ ในเสนาสนขันธ์ ก็เป็น ๒ คือ เป็นประโยชน์แก่สงฆ์ผู้อาศัยด้วย เป็นเครื่องกั้นภยันตรายมีเย็นร้อนเป็นต้น และเป็นประโยชน์แก่ผู้สร้าง ด้วยจะได้ สดับธรรมเป็นเครื่องบรรเทาทุกข์ จากสำนัก ท่านพหุสุตผู้อยู่ในวิหารนั้น อปิจ โส มหาราชา พุทฺธสาสเน สทฺธา- ยิโก หุตฺวา สาสนกิจฺจํ ปูเรตุํ นิวสนตฺถาย อาคตํ จาตุทฺทิสํ สงฺฆํ อุทฺทิสฺส เบญจมบพิตร อิติ ลทฺธนามกสฺส วิหารสฺส ปติฏฺ าปนํ เจว ปรินายก อิติ ลทฺธนามกสฺส วิหารสฺส ปฏิสงฺขรณํ จ ปฏฺ เปสิ อานิสํโส ปเนตฺถ ฯ เสนาสนกฺขนฺธเก อนาถปิณฺฑิกสฺส คหปติโน วิหารทานสฺส อนุโมทนาคาถาย สรูปนเยน ทุพฺพิโธ โหติ สีตุณฺหาทิปฏิหนนภาวโต นิวาสีนํ อตฺถาวโห โหติ ตตฺถ จ นิวาสีนํ พหุสฺสุตานํ สนฺติกา ทุกฺขาปนูทนธมฺมสฺสวนสฺส ปฏิลาภโต วิหาร- การกานํ อตฺถาวโห โหติ ฯ
  • 15. [๑๕] อีกประการหนึ่ง ได้ทรงเริ่มจะตั้งหอ พุทธศาสนสังคหะขึ้น ที่วัดเบญจมบพิตร ให้ เป็นที่รวบรวมพระคัมภีร์ และสมุทอันรจนา สำแดงพระบรมพุทโธวาทานุศาสน์ เปิดเป็น ธรรมทาน ให้มหาชนไปอ่าน เข้าไปดูได้ตาม ปรารถนา เพราะทานอื่น ไม่เป็นปัจจัยให้พระ ศาสนาดำรงอยู่ เหมือนธรรมทาน พระปริยัติ คำสอนของสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ ยังมี ผู้ทรงผู้ปฏิบัติตามอยู่เพียงใด พระศาสนาก็ยัง ได้ชื่อว่า ทรงอยู่เพียงนั้น อิทานิปิ ราชา ทยฺยานมินฺโท พุทฺโธ- วาทานุสาสนีปากฏีกรณภูตานํ รจิตสตฺถ- โปตฺถกานํ สงฺคหฏฺ านตฺถาย เจว ยถารุจิยา วาเจตุมฺปิ ปสฺสิตุมฺปิ มหาชนสฺส อุปสงฺกมนา- รหํ ธมฺมทานฏฺ านํ กตฺวา วิวรณตฺถาย จ เบญจมบพิตร อิตินามเธยฺเย อาวาเส พุทฺธ- สาสนสงฺคหนามํ โปตฺถกาลยํ ปติฏฺ าเปตุํ อารภติ น หิ อญฺ ํ ทานํ ธมฺมทานํ วิย พุทฺธ- สาสนสฺส ิติยา ปจฺจโย โหติ, ยํ สตฺถุ ปริยตฺติธมฺมํ ธาเรนฺติ เจว อนุปฏิปชฺชนฺติ จ, ตํ ยาวตา ภวติ ตาวตา พุทฺธสาสนํ ปติฏฺ าติ นาม ฯ อรรถจริยา ศก ๑๒๐ (น.๑๘-๑๙) อรรถจริยา คือราชกิจที่ทรงประกอบ ด้วยตั้งพระราชหฤทัยจะให้เป็นประโยชน์ แก่ พระราชวงศานุวงศ์ เสวกามตย์ และทวย ประชาราษฎร์ทั้งปวง ด้วยสามารถแนะนำให้ ประกอบกิจ และชักชวนในกุศลจริยากิจจ- การปนะ คือการแนะนำให้ประกอบกิจ สงเคราะห์เข้าในรัฏฐาภิปาลโนบาย ซึ่ง จะรับพระราชทานถวายวิสัชนา ในวาระเป็น ลำดับไป ในที่นี้จะพรรณนาแต่เพียงการกุศล- สมาทาปนะ คือ การชักชวนในกุศลจริยา เอตฺถ หิ อตฺถจริยา นาม มหาราชสฺส ทยฺยานมินฺทสฺส กมฺมนฺตการาปเน วินยนวเสน กุสลจริยาภูตกิจฺจการาปเน สมาทปนวเสน จ ราชวํสิกานมฺปิ เสวกาทีนมฺปิ รฏฺ วาสีนมฺปิ ชนานํ อตฺถปุเรกฺขารตาย ปยุตฺตกิจฺจํ ฯ สา อนุกฺกเมน วุจฺจมาเน รฏฺ าภิปาล- โนปาเย อนฺโตคธา โหติ ฯ เอตฺถ ปน กุสล- สมาทปนมตฺตํ สํวณฺณยิสฺสามิ ฯ
  • 16. [๑๖] เมื่อทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทานบริจาค ได้พระราชทานโอกาสแก่พระราชวงศานุวงศ์ ข้าทูลละอองธุลีพระบาท ตลอดถึงราษฎร์ ให้ได้ช่องโดยเสด็จในการพระราชกุศล เนือง ๆ มา ทรงแสดงพระราชอัธยาศัยเผื่อแผ่ทั่วไป ในประชุมชน ตามเยี่ยงอย่างของมรรคนายก ผู้มีจิตใจโอบอ้อมอารี เมื่อบำเพ็ญทานด้วย ตนย่อมชักชวนชนอื่นให้บำเพ็ญด้วย ทานํ ททมาโนปิ นิพทฺธํ ตสฺมึ ทาเน สห ภาคี ภวิตุํ โอตารํ ปฏิลาภตฺถาย ราชวํสิกานํ เจว สาวกานํ จ รฏฺ วาสีนญฺจ โอกาสํ เทติ ฯ โย จาคสีลี มคฺคนายโก อตฺตนา ทานํ ททมาโน ตาทิสํ ทาตุํ ปเร สมาทเปติ, ตสฺส อนุสาเรน ชนตาย ทานชฺฌาสยํ ทสฺเสติ ฯ รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๐ (น.๑๙-๒๐) พระราชจริยารัฏฐาภิปาลโนบาย นั้น คือราชกรณียกิจที่ทรงจัดขึ้นด้วยพระบรม- เดชานุภาพ เพื่อเป็นประโยชน์คุณแก่พระราช -อาณาจักรกับทั้งประชาชนข้าขอบขัณฑสีมา เพียงข้อเดียวนี้ ก็ยากที่จะพรรณนา ให้จบลงในกถามรรคกัณฑ์นี้ จะรับพระราช ทานพรรณนาแต่การที่ได้เป็นไปแล้วในขวบ หลัง ตั้งแต่กันยายน ร.ศ.๑๑๙ ถึง สิงหาคม ร.ศ. ๑๒๐ โดยเอกเทศเท่านั้น ในฝ่ายพุทธจักร ได้ทรงพระราชดำริ โดยพระราโชบาย จะให้วัดทั้งหลายได้มี ผลประโยชน์เกิดขึ้นในพระอารามและที่ธรณี สงฆ์นั้นเอง เพื่อเป็นเครื่องรักษาวัดให้ทรง อยู่ได้ ราชจริยารฏฺ าภิปาลโนปาโย นาม มหาราเชน ทยฺยานมินฺเทน รฏฺ สฺส เจว ตตฺถ นิวาสีนํ ชนานํ จ อตฺถาย เตชานุภาเวน กตํ สพฺพกิจฺจํ ฯ ตตฺถ เอกกิจฺจมฺปิ สํวณฺเณตฺวา อิมินา กถามคฺเคน นิฏฺ าเปตุํ น สุกรํ ฯ เอกเทสโต ปน ๑๑๙ รตนโกสินฺทสกสฺส กนฺยายนมาสโต ปฏฺฐาย ยาว ๑๒๐ รตนโกสินฺทสกสฺส สิงฺหา- คมมาสา ปจฺฉิมวสฺเสสุ ปวตฺติตํ กิจฺจเมว สํวณฺณยิสฺสามิ ฯ พุทฺธจกฺเก ตาว ฯ โส หิ มหาราชา ทยฺยานมินฺโท อาวาสานํ ปติฏฺ าปนตฺถาย เตสํ เจว สงฺฆิกภูมีนํ จ อตฺถํ อุปฺปาเทตุํ กุสโลปายํ จินฺเตติ ฯ
  • 17. [๑๗] ในที่ไม่เป็นทำเล โปรดเกล้า ฯ ให้ตัด ถนนเข้าไป ทำให้เป็นทำเล เมื่อที่เป็นทำเลแล้ว ทรงขวนขวาย เพื่อให้ได้ทุนสำหรับทำการปลูกสร้างและ มีคนเช่าถือป้องกันสมบัติพระอาราม มิให้ตก ไปและเพิ่มพูนให้บริบูรณ์ขึ้น ทรงแนะนำให้บุคคลมีแก่ใจรับเป็น มรรคนายกดูแลและปฏิบัติพระอาราม กถํ ฯ โย อาวาโส อปฺปฏิรูปภูมิโก โหติ ทุคฺคโม จ, ตตฺถ คมนวีถิโย มาเปตฺวา ตํ ปฏิรูปภูมึ เจว สุเขน คมนียํ จ กโรติ ฯ โย อาทิโต ปฏิรูปภูมิโก โหติ, ตํ มาปนมูลํ ปฏิลาเภตุํ เจว อาวาสสมฺปตฺติยา นิวารณตฺถาย ภิยฺโยโส (ตสฺสา) พฺรูหนตฺถาย จ กาลิกคาหิโน ตาวกาลิกํ ทาเปตุํ จ พฺยาวโฏ โหติ ฯ อุฬารจิตฺเต ปุคฺคเล อาวาสปฏิชคฺค- นตฺถาย มคฺคนายกภาวํ ปฏิคฺคเหตุํ วิเนติ ฯ สัทธาสัมปทา ศก ๑๒๑ (น.๒๒-๒๕) สัทธาสัมปทา คือ ความเชื่อประกอบด้วย เหตุผลในสิ่งที่ควรเชื่อ ชื่อว่าสัทธา กรรม ๒ ประเภทนี้ เมื่อความประชุม ปัจจัยมีและได้ช่องเมื่อใด ก็ย่อมให้ผลเมื่อนั้น ความหยั่งรู้กรรมคาดหน้าว่าเป็น มูลเหตุให้ผลแก่ผู้ทำเช่นนั้น ๆ อนุวัตรตาม มูลเหตุแล้วและเชื่อลง เหมือนแพทย์ผู้หยั่งรู้ สมุฏฐานก้าวหน้าว่า จะให้เกิดความรำคาญ หรือเกิดโรคแก่ร่างกาย แล้วประกอบอุบาย ชักนำหรือบำบัดเสีย นี้ชื่อว่า กัมมสัทธา เชื่อกรรม สทฺธาสมฺปทาติ เจตฺถ ฯ สทฺเธยฺยวตฺถุสฺมึ าณสมฺปยุตฺตํ สทฺทหนํ สทฺธา นาม ตทุภโย วิปาโก กมฺมมูลสูจโก เจว โหติ กมฺมปญฺ าโณ จ ฯ ยํ หิ เวชฺชสฺส อิทํ สรีรสฺส อผาสุกมฺปิ โรคํปิ อุปฺปาเทสฺสตีติ ปุเรตรํ โรคสมุฏฺ านํ วิชานิตฺวา ตสฺส อปนยนติกิจฺฉนุปายสฺส ปยุญฺชนมิว กุสลสฺส “ปุคฺคลสฺส กมฺมํ นาม เยน กตํ ตสฺส อีทิสญฺจีทิสญฺจ มูลานุรูปํ ผลํ ทสฺสตีติ ปุเรตรํ กมฺมํ วิชานิตฺวา สทฺทหนํ อิทํ กมฺมสทฺธา นาม
  • 18. [๑๘] วิบาก ๒ ประเภทนี้ ส่อมูลเหตุของตน ให้คนเห็น เหล่าสัตว์ผู้มีกิเลสานุสัย ทำกรรมอัน ใดลงด้วยกาย วาจา ใจ ก็ย่อมได้เสวยผลของ กรรมนั้น ทำชอบก็ได้เสวยผลอันดี ทำผิดก็ได้ เสวยผลอันชั่ว กรรมย่อมจำแนกสัตว์ผู้กระทำ ให้เป็นผู้ประณีตและเลวทรามต่าง ๆ กัน ความหยั่งรู้ดั่งนี้และเชื่อลง ชื่อว่า กัมมัสสกตา สัทธา เชื่อความที่สัตว์มีกรรมเป็นของตน ฯ ความหยั่งเห็นคุณของพระพุทธเจ้ากับทั้งพระ ธรรมและพระสงฆ์และเชื่อลงโดยนัยว่า อรหํ สมมาสมพุทโธ พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระ อรหันต์ ไกลจากกิเลสบาปธรรม บริสุทธิ์ทุก สถาน เป็นผู้ควรแนะนำสั่งสอนเวไนยสัตว์ให้ ปฏิบัติตามให้บรรลุถึงความบริสุทธิ์ และควร แก่ครุฐานตั้งอยู่ในที่เป็นพระศาสดา เป็นที่ นับถือบูชาของมหาชน พระองค์ตรัสรู้ธรรม ที่จริงที่ชอบตามลำพังพระองค์ ไม่มีผู้ใดเป็น ครูอาจารย์สั่งสอน รู้ชอบไม่วิปริต ให้สำเร็จ ประโยชน์ของพระองค์และผู้อื่นได้ สฺวาก- ขาโต ภวตา ธมโม ธรรมที่พระองค์ทรงแสดง สั่งสอนเวไนยสัตว์ ได้ชื่อว่าตรัสชอบแล้ว สุปฏิปนโน ภควโต สาวกสงโฆ สงฆ์สาวก ของพระผู้มีพระภาคเจ้า นี้ชื่อว่า ตถาคตโพธิ สัทธา เชื่อพระปัญญาตรัสรู้ของพระตถาคต เจ้า ตทุภโย วิปาโก กมฺมมูลสูจโก เจว โหติ กมฺมปญฺ าโณ จ ฯ ยํ กิเลสานุคตา สตฺตา กาเยน วาจาย มนสา วา ยํ กมฺมํ กโรนฺติ, ตสฺส วิปากํ ปฏิ- ลภนฺตีติปิ สพฺเพ สตฺตา กมฺมสฺสกา กมฺม- ทายาทา กมฺมโยนี กมฺมพนฺธู กมฺมปฏิสรณา , ยํ กมฺมํ กริสฺสนฺติ กลฺยาณํ วา ปาปกํ วา, ตสฺส ทายาทา ภวิสฺสนฺตีติปิ กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกนฺติปิ กมฺมํ สตฺเต วิภชติ ยทิทํ หีนปฺปณีตตายาติปิ เอวมาทีนิ วิชานิตฺวา สทฺทหนํ, อิทํ กมฺมสฺสกตาสทฺธา นามฯ ยํ “อิติปิ โส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถา เทวมนุสฺสานํ พุทฺโธ ภควาติ “สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโมติ “สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆติ จาทีหิ นเยหิ พุทฺธสฺส สธมฺมสฺส สสงฺฆสฺส คุเณ วิชานิตฺวา สทฺทหนํ, อิทํ ตถาคตโพธิสทฺธา นาม ฯ อถวา ฯ ยํ “โส ภควา อรหํ อารกา สพฺพ- กิเลสปาเปหิ สุวิทูรทูเร ฐิโต สพฺพตฺถ สุ- ปริสุทฺโธ เวเนยฺเย ปริสุทฺธึ ปาเปตุํ ปโพเธตา เทวมนุสฺสานํ สตฺถุภาเวน ครุฏฺ านิโย มหา- ชนสฺส ปูชนีโย จ โหติ, โส ภควา สมฺมา สามํ สจฺจานิ พุชฺฌิตา โหติ, อสตฺถุโก หุตฺวา ตถํ ภูตํ อวิปรีตํ อตฺตโน เจว ปเรสญฺจ อตฺถาวหํ สพฺพธมฺมํ อพฺภญฺ าสีติ “สฺวากฺขาโต ภควตา
  • 19. [๑๙] ครั้งเมื่อได้เสด็จเถลิงยราชสมบัติเป็น พระเจ้าแผ่นดินแล้ว ยังได้ทรงอุปสมบทเป็น พระภิกษุบำเพ็ญสมณธรรมเป็นอุปนิสัย และทรงสถาปนาและปฏิสังขรณ์พระ อารามใหญ่น้อย ทรงสร้างพระปริยัติธรรม ครั้งหนึ่งได้ พิมพ์พระบาลีไตรปิฎกขึ้นถึง ๑,๐๐๐ จบ มี พระเกียรติคุณปรากฏไปทั่วโลก ทรงปิดทองและสมโภชพระพุทธชิน- ราช อันเป็นพระพุทธรูปสำคัญพระองค์หนึ่ง ในประเทศนี้ มีพระนามปรากฏในพระราช- พงศาวดาร สารีริกเจดีย์ พระเจดีย์ที่บรรจุพระบรม สารีริกธาตุนี้ มีพระบรมพุทธานุญาตไว้เมื่อ ใกล้จะเสด็จดับขันธปรินิพพาน ให้สร้างขึ้น ณ สถานที่เป็นที่ประชุมถนนใหญ่ทั้ง ๔ สำหรับ เป็นที่สักการะบูชาของมหาชน เจริญกุศลอัน จะเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขสิ้นกาลนาน ธมฺโมติ “สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆติ จาทีหิ นเยหิ พุทฺธสฺส สธมฺมสฺส คุเณ วิชานิตฺวา สทฺทหนํ, อิทํ ตถาคตโพธิสทฺธา นามฯ โส หิ รชฺชํ กาเรตฺวา ราชาภูโต หุตฺวา เอกสฺมึ สมเย รชฺชํ ปหาย พุทฺธสาสเน อุปสมฺปทํ ลภิตฺวา ภิกฺขุภาเว ปติฏฺ ิโต ยถิจฺฉิตํ สมณธมฺมํ อกาสิ ตโต โส พุทฺธสาสเน อภิปฺปสนฺโน หุตฺวา นวกาวาเส ปติฏฺ าเปสิ พหุเก ชิณฺณกาวาเส ปฏิสงฺขราเปสิ ปริยตฺติธมฺมโปตฺถเก จ กาเรสิ เอกทา สหสฺสปฺปมาเณ เตปิฏกปาลิโปตฺถเก มุทฺทา- เปตฺวา พหุกานํ รฏฺ านํ อทาสิ, ตปฺปจฺจยา ตสฺส กิตฺติคุโณ สพฺพทิสา อภิปตฺถริ ฯ สุวณฺณปฏฺเฏหิ “พุทธชินราช อิตินามํ พุทฺธปฏิมํ ลิมฺเปสิ ตสฺสา จ มหํ กาเรสิ, ยา ทยฺยรฏฺเ อุตฺตรา เจว ทยฺยวํสาวตาเร จ ปากฏนามา โหติ ตตฺถ สารีริกเจติยํ นาม พุทฺธสฺส สารีริก- ธาตูนํ นิธานเจติยํ ยํ พุทฺโธ ปรินิพฺพานสฺส อาสนฺนกาเล มหาชนสฺส ปูชนตฺถาย เจว ทีฆ- รตฺตํ หิตาย สุขาย สํวตฺตนิกสฺส กุสลกมฺมสฺส ปูรณตฺถาย จ จตุปฺปเถ กาตุํ อนุญฺ าสิ
  • 20. [๒๐] บริโภคเจดีย์ คือพระสถูปที่บรรจุบริขาร ที่สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ ทรงทำพุทธ- บริโภคมีบาตรทรงเป็นต้น และพระคันธกุฎี ที่ประทับในพุทธนิวาสสถานนั้น ๆ มีพระ เชตวันเป็นต้น สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มีพระ บรมพุทธานุญาต ไว้เมื่อใกล้จะเสด็จดับขันธ ปรินิพพานทรงแสดงสถาน ๔ ตำบล คือ สถานที่ประสูติ สถานที่ตรัสรู้ สถานที่ทรง แสดงพระธรรมจักรประถมเทศนา และสถาน ที่ดับขันธปรินิพพาน ว่าเป็นเจดียสถาน ควรดู ควรเห็น เป็นที่ตั้งแห่งความสังเวชของกุลบุตร ผู้มีศรัทธา มีผู้สร้างพระสถูปบรรจุอักษรแสดงพระ ธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า เช่น คาถา เย ธมฺมา เป็นต้น ปริโภคเจติยํ นาม เย ภควโต ปริภุตฺตานํ ปตฺตาทิปริกฺขารานํ นิธานภูตา ถูปา ยา จ เชตวนาทีสุ ภควโต นิวาสฏฺ าเนสุ คนฺธกุฏิโย ตทา หิ พุทฺเธน ภควตา อิมานิ จตฺตาริ สทฺธสฺส กุลปุตฺตสฺส ทสฺสนียานิ สํเวชนียานิ านานิ ทสฺสิตานิ ยํ ตถาคตสฺส ชาตฏฺ านํ ยํ ตถาคตสฺส อนุตฺตราย สมฺมาสมฺโพธิยา อภิสมฺพุทฺธฏฺ านํ ยํ ตถาคตสฺส อนุตฺตรสฺส ธมฺมจกฺกสฺส ปวตฺติตฏฺ านํ ยํ ตถาคตสฺส อนุ- ปาทิเสสาย นิพฺพานธาตุยา ปรินิพฺพุตฏฺ านํ ตสฺมา ปจฺฉิมาย ชนตาย เจติยํ การิตํ เย ธมฺมาติอาทิกคาถายตฺถปริทีปกสฺส สาสน- ธมฺมสฺส โปตฺถเก ปติฏฺ าเปตุํ สามัตถิยะ ศก ๑๒๑ (น.๒๕-๒๖) สมัยหนึ่ง สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า เสด็จจาริกโปรดเวไนยสัตว์ไปในตำบล ทักขิณาคีรี ทอดพระพระเนตรเห็นนาใน แคว้นมคธอันมีคันนากั้นเป็นอัน รับสั่งถาม พระอานนท์ว่า จักสามารถจัดทำจีวรมีรูป เหมือนอย่างนี้ได้หรือไม่ เอกทา ภควา ทกฺขิณาคิริสฺมึ จาริกญฺ- จรมาโน อจฺจิพทฺธํ ปาลิพทฺธํ มริยาทพทฺธํ สิงฺฆาฏพทฺธํ มคธกฺเขตฺตํ ทิสฺวา “อุสฺสหสิ อานนฺท ภิกฺขูนํ เอวรูปานิ จีวรานิ สํวิทหิตุนฺติ ปุจฺฉิ ฯ
  • 21. [๒๑] พระเถรเจ้าทูลรับแล้วครั้นเสด็จถึง กรุงราชคฤห์แล้ว ท่านจัดทำจีวรมีรูปเหมือน เช่นนั้นถวายสมเด็จพระบรมศาสดาจารย์ให้ ทอดพระเนตร พระองค์ทรงสรรเสริญพระเถรเจ้าว่า เป็นบัณฑิต มีปัญญาใหญ่ รู้อรรถแห่งภาษิต ที่พระองค์ตรัสแต่เพียงย่อ ๆ ได้โดยพิสดาร ได้ทำจีวรให้มีสัณฐานต้องตามลักษณะ มีเส้นผ้าน้อย ๆ เปรียบด้วยคันนาไปตามยาว เรียกว่า กุสิ ไปตามขวางเรียกว่า อัฑฒกุสิ มี กระทงเทียบด้วยอันนาใหญ่เรียกว่า มณฑล เล็กเรียกว่า อัฑฒมณฑล ได้ชื่อต่าง ๆ กัน ตามท่อนผ้า เป็นจีวรตัด เศร้าหมองด้วย ศัสตรา เป็นสมณสารูป ไม่เป็นของต้องการ ของโจร แต่กาลนั้นมาพระองค์ได้อนุญาตไตร จีวร คือ สังฆาฏิ อุตตราสงค์ อันตราวาสก เป็นผ้าตัดตามสัณฐานนั้น ให้ภิกษุสงฆ์ใช้ กันมา ความสามารถนี้แต่เพียงเป็นไปในกิจ ไม่สำคัญ ยังประโยชน์ให้สำเร็จแก่ตนและ ผู้อื่นได้ตามวิสัย ถ้ามีกว้างขวางออกไปในกิจ ใหญ่ ๆ ที่สำคัญ ประโยชน์อันใหญ่ก็ย่อม เกิดมียิ่งขึ้น เถโร หตฺถกุสลตาย “อุสฺสหามิ ภนฺเตติ อาห ฯ โส สตฺถริ ปุนเทว ราชคหํ ปจฺฉาคเต ตถารูปานิ จีวรานิ สํวิทหิตฺวา สตฺถุ ทสฺเสสิ สตฺถา เถรํ ปสํสนฺโต ภิกฺขู อามนฺเตสิ “ปณฺฑิโต ภิกฺขเว อานนฺโท มหาปญฺโ ภิกฺขเว อานนฺโท ยตฺร หิ นาม มยา สงฺขิตฺเตน ภาสิตสฺส วิตฺถาเรน อตฺถํ อาชานิสฺสติ, กุสิมฺปิ นาม กริสฺสติ อฑฺฒกุสิมฺปิ นาม กริสฺสติ มณฺฑลมฺปิ นาม กริสฺสติ อฑฺฒมณฺฑลมฺปิ นาม กริสฺสติ ฯเปฯ ฉินฺนกญฺจ ภวิสฺสติ สตฺถลูขํ สมณสารุปฺปํ ปจฺจตฺถิกานญฺจ อนภิชฺฌิตนฺติ ฯ ตตฺถ กุสิ นาม อายามโต จ วิตฺถารโต จ ปาลิสทิสทีฆปฏํ ฯ อฑฺฒกุสิ นาม อนฺตร- นฺตรา รสฺสปฏํ ฯ มณฺฑลํ นาม มหามริยาท- สทิเส เอเกกสฺมึ ขณฺเฑ มณฺฑลํ ฯ อฑฺฒ- มณฺฑลํ นาม ขุทฺทกมณฺฑลํ ฯ ตโต ภควา ภิกฺขูนํ ปริโภคตฺถาย ตถา- รูปสณฺ านํ ติจีวรํ อนุญฺ าสิ “อนุชานามิ ภิกฺขเว ฉินฺนกํ สงฺฆาฏึ ฉินฺนกํ อุตฺตราสงฺคํ ฉินฺนกํ อนฺตรวาสกนฺติ ฯ ยถาวุตฺตํ หิทํ สามตฺถิยํ นาติสยกิจฺเจปิ ปวตฺติตํ หุตฺวา ปกติวิสเยน อตฺตโน เจว ปเรสญฺจ อตฺถํ สาเธติ ฯ สเจ ปน มหนฺเตสุ อติสเยสุ กิจฺเจสุ ปวตฺติตํ สิยา, มหนฺโต อตฺโถ ภิยฺโยโส มตฺตาย ปาตุภวติ ฯ
  • 22. [๒๒] ถ้ามุขมาตยาธิบดีมีสามารถ ก็อาจจะ วิจารณ์ราชกิจให้ลุล่วงไปไม่อากูล เป็นกำลังของสมเด็จบรมกษัตริยา- ธิราชเจ้า แผ่พระราชอิสริยยศพระบรมเด- ชานุภาพและเกียรติคุณไพศาล ได้ทรงแก้ไขเปลี่ยนธรรมเนียมต่าง ๆ ให้เจริญขึ้นทันสมัยที่โลกดำเนินไปอยู่ สิ่งใด ๆ ที่เป็นภัยอันจะทำอนัตถ- พินาศแก่ราชอาณาจักร และประชาชน ก็ได้ ทรงป้องกันเพื่อมิให้เกิดขึ้น หากเกิดขึ้นแล้วก็รีบบำบัดเสียโดยพลัน ข้อนี้พึงสันนิษฐานด้วยเหตุการณ์ที่ เกิดขึ้นในไม่ช้า ครั้งเกิดพวกโจรกบฏก่อการ จลาจลปล้นปัจจันตชนบทในจังหวัดมณฑล อีสานและมณฑลพายัพ สมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ้าได้ทรงระงับการจลาจล นั้น ให้สงบไม่ลุกลามไปได้ในเร็ววัน ด้วย กำลังพระปรีชาสามารถอันยิ่งใหญ่ เป็นมงคลวิเสสที่ ๒ สเจ หิ เสนาปติ วา อมจฺโจ วา อิมินา สามตฺถิเยน สมนฺนาคโต ภวิสฺสติ โส ราชกรณียํ อนากุลปฺปตฺตํ กตฺวา อนุยุญฺชิตุํ เจว ตเมว อุปสคฺคาภาเวน อภินิปฺผาเทตุํ จ สมตฺโถ อภวิสฺส ปฏิพโล พฺยตฺโต อีทิโส ปนายํ ยสฺส พลนิกาโย โหติ, ตสฺเสว รญฺโ อิสฺสริยยสญฺเจว กิตฺติสทฺทญฺจ นานารฏฺเ สุ ปวตฺตาเปตุํ สกฺโกติ จกฺกวตฺติ- รญฺโ อิสฺสริยยสญฺเจว กิตฺติสทฺทญฺจ นานา- รฏฺเ สุ ปวตฺตาเปตุํ สกฺโกนฺโต วิย ยา จายํ ตนฺติปเวณิ กาลาตีตา โหติ ตนฺตํ ยถากาลํ ปริวตฺเตสิ ยมฺปน รฏฺ สฺส จ รฏฺ วาสีนญฺจ อนตฺถา- วหํ โหติ ตสฺส อนุปฺปาทาย อารกฺขํ สุสํวิหิตํ อกาสิ, เย จิเม อุปฺปนฺนา โหนฺติ เต สพฺเพปิ วินาเสตุํ ปฏิกจฺเจว อุปายํ คเวสิ นิทสฺสนญฺเจตฺถ ทฏฺ พฺพํ ฯ ยทา ปน โจรา ปาจีนทิสาย วา พายพฺพทิสาย วา ปจฺจนฺตชนปเทสุ ขนฺธวารํ พนฺธิตฺวา วคฺค- วคฺคา หุตฺวา ตตฺถ ตตฺเถว คามํ วิลุมฺปิตฺวา วิจรนฺติ, ตทา มหาราชา สฺยามิกานมินฺโท อิมินา ว สามตฺถิเยน สมนฺนาคโต ขิปฺปเมว วูปสเมตุํ อสกฺขิ เอวมยํ ทุติโย มงฺคลวิเสโส
  • 23. [๒๓] รัฏฐาภิปาลโนบาย ศก ๑๒๑ (น.๒๖-๒๗) ฝ่ายพระพุทธจักร ได้ทรงตั้งพระราช- บัญญัติปกครองคณะสงฆ์เพื่อวางแบบลงให้ เป็นหลักฐาน พระราชทานอำนาจแก่เจ้าอาวาสตลอด ขึ้นไปถึงเจ้าคณะใหญ่ เพื่อเป็นภารธุระในกิจ พระศาสนาได้โดยสะดวก ทั้งในส่วนนิคคหะ คือปราบปรามพวกอลัชชี และทั้งในส่วน ปัคคหะ คือยกย่องผู้มีศีลเป็นที่รัก และทรงวางหน้าที่ของเจ้าพนักงานฝ่าย ฆราวาส ได้อุดหนุนเจ้าคณะนั้นด้วยพระราช บัญญัตินี้ พระราชบัญญัตินี้ จะเป็นเครื่องรักษา คณะสงฆ์ให้ตั้งอยู่ในระเบียบเรียบร้อย อุด- หนุนพระวินัยบัญญัติ ด้วยอำนาจฝ่ายราช- อาณาจักรอีกส่วนหนึ่ง พุทฺธจกฺเกปิ ราชา ทยฺยานมินฺโท สงฺฆ- ปสาสนรูปํ มูลการณํ กาตุํ สงฺฆปสาสน- ปญฺ ตฺตึ ปญฺ าเปสิ, ตตฺถ จ ยาว มหาสงฺฆคณีหิ อาวาสิกานํ ภิกฺขูนํ สุเขน สาสนกิจฺจานํ กรณตฺถาย อลชฺชี- นิคฺคณฺหนสงฺขาเต นิคฺคหปกฺเข เจว เปสล- ปคฺคหณสงฺขาเต ปคฺคหปกฺเข จ ปวตฺตภูตํ อิสฺสริยํ อทาสิ, สพฺเพสํ สงฺฆคณีนํ อุปตฺถมฺภนํ อธิการ- ภูตานํ คิหีนํ ธุรํ กตฺวา นิยเมสิ ฯ อยํ สงฺฆปสาสนปญฺ ตฺติ ภิกฺขุสงฺฆสฺส รกฺขนภูตา โหติ วินยปญฺญตฺติยา สุฏฺฐุ ปติฏฺ าปนภูตา โหติ อาณาจกฺกวเสน จ วินยปญฺ ตฺติยา อุปตฺถมฺภนภูตา โหติ พาหุสัจจะ ศก ๑๒๒ (น.๒๙-๓๑) พาหุสัจจะนั้น กล่าวโดยศัพท์รูป คือ ความเป็นพหุสุตบุคคลผู้มีอรรถธรรมได้สดับ มาก ชื่อว่าพหุสุต ในที่นี้ กล่าวโดยความ พาหุสัจจะนั้น คือความ เป็นผู้ฉลาดแตกฉานในอรรถธรรมเกิดขึ้นแล้ว เพราะการศึกษา พาหุสจฺจนฺติ ปเนตฺถ ฯ สทฺทรูปโต หิ พหุสฺสุตสฺส ภาโว พาหุสจฺจํ, ตตฺถ พหุํ อสฺส สุตํ นวงฺคสตฺถุสาสนนฺติ พหุสฺสุโต ฯ อตฺถโต พาหุสจฺจํ นาม พุทฺธวจนํ วา พาหิรสิปฺปํ วา อุคฺคณฺหิตฺวา วา สุตฺวา วา อุปฺปนฺนํ ตตฺถ ตตฺถ โกสลฺลํ ฯ
  • 24. [๒๔] เพราะเหตุพระราชบุตรทั้งหลายไม่นำพา ในการศึกษา มัวแต่ประพฤติผิดคลองธรรม และในที่ประชุมนั้นมีมหาปราชญ์ผู้หนึ่ง นามว่าวิษณุศรรมัน ทูลว่า พระราชบุตรเหล่า นั้นประสูติในราชตระกูล คงมีปรีชาสามารถ ศึกษาได้ฉับไว และรับอาสาเป็นผู้สอน ครั้งเมื่อสมเด็จพระบรมศาสดา เสด็จ ดับขันธปรินิพพานแล้ว พระเถรเจ้าก็เป็น ผู้วิสัชนาพระธรรมแก่พระภิกษุสงฆ์ มีพระ มหากัสสปเป็นประธานผู้ทำสังคายนาพระ ธรรมวินัยให้ตั้งไว้เป็นหลักพระศาสนา อุบายโกศลคือความเป็นผู้ฉลาดใน อุบาย สำหรับประกอบกิจนั้น ๆ เพื่อป้องกัน ภยันตรายและขวนขวายหาสุขให้แก่กัน เป็น ผลมีพาหุสัจจะเป็นมูลเดิม ตสฺส หิ ปุตฺตา อุปฺปถคามิโน หุตฺวา น สิกฺขํ มนสิกรึสุ ตสฺมิญฺจ สนฺนิปาเต วิสฺสุกมฺโม นาม เอโก มหาธีโร อโหสิ ฯ โส อิเม กุมารา ราช- กุเล ชาตา หุตฺวา ขิปฺปํ นีติสตฺถํ สิกฺขิตุํ สมตฺถา ภวิสฺสนฺตีติ วตฺวา สจฺฉนฺเทน เตสํ วาจโก ภวิตุํ สมฺปติจฺฉิ ฯ ภควติ ปรินิพฺพุเต, สาสนสฺส จิรฏฺ ิติยา มหากสฺสปมหาเถรปฺปมุขสฺส ธมฺมสงฺคีติ- การกสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส ธมฺมํ วิสฺสชฺเชสิ อญฺ มญฺ สฺส อนฺตรายปฏิพาหนาย เจว สุขปริเยสนาย จ กิจฺจานิ ปยุญฺชิตุํ ปวตฺตํ อุปายโกสลฺลมฺปิ พาหุสจฺจมูลํเยว โหติ อุบายโกศล ศก ๑๒๒ (น.๓๒-๓๔) ครั้งเมื่อมัลลกษัตริย์ผู้ครองกุสิรานา นครน้อย ทำการถวายพระเพลิงพระพุทธ สรีระแล้วข่าวทราบไป ยทา หิ ปรินิพฺพุเต ภควติ โกสินารกา มลฺลา พุทฺธสฺส สรีรํ ฌาเปสุํ, ตทา โข ตํ ภควนฺตํ กิตฺติสทฺโท อญฺญาสุปิ ราชธานีสุ อพฺภุคฺคโต ภควา กิร กุสินารายํ ปรินิพฺพุโต ตสฺส จ สรีรํ ฌาปิตนฺติ ฯ
  • 25. [๒๕] ถึงกษัตริย์และปชาธิบดีผู้ครองราชย์ ธานี และนครใหญ่น้อย ๗ ตำบลมีพระเจ้า อชาตศัตรูผู้ครองราไชศวรรยาธิปัตย์มคธ ราชอาณาจักรเป็นประธาน ต่างพระองค์ทรง แต่งราชทูตจำทูลราชศาสน์ส่งไปสู่กุสินารา นคร ให้ทูลขอส่วนพระพุทธสารีริกธาตุ ต่อมัลลกษัตริย์ เพื่อเชิญมาบรรจุไว้ในพระ สถูปเป็นที่ทำสักการบูชา ถ้าคณะมัลลกษัตริย์ จะไม่ฉลาดในอุบาย หยั่งเห็นการณ์ข้างหน้า พอทูตเมืองไหน มาถึง ก็จะแจกให้ไป ๆ ฉวยว่าพระสารีริกธาตุหมดแล้ว จะมีใคร มาขออีกและจะไม่ได้หรือผู้ที่ได้ แจกแล้วแต่ จะไม่ประสงค์เพียงเท่านั้น ยังจะต้องการอีก เมื่อไม่ได้สมประสงค์ ก็จะเกิดอาฆาตบาด หมางแล้วและเข้ากัน หรือแต่ลำพังยกพยุห- แสนยามาทำสงคราม เพื่อชิงเอาด้วยพลการ ตํ สุตฺวา ว มาคธอชาตสตฺตุราชปฺ- ปมุขา สตฺต ขตฺติยา ราชาโน พุทฺเธ อภิปฺปสนฺนา ราชทูเต สปริวาเร โกสินารากานํ มลฺลานํ กุสินารํ ปาเหสุํ พุทฺธสารีริก- ธาตุโย อภิยาจิตฺวา อตฺตโน อตฺตโน ปเทเส อพฺภาหริตฺวา มหาชนสฺสาภิปูชนตฺถาย ถูเปสุ ปติฏฺฐาเปตุํ ฯ สเจ ปน โกสินารกา มลฺลา อิมินาว อุปายโกสลฺเลน สมนฺนาคตา นาภิสฺสํสุ ทีฆ- ทสฺสิโน จ อาคตาคตสฺเสว เอเกกสฺส ราช- ทูตสฺส พุทฺธสารีริกธาตุโย วิภชิตฺวา อทิสฺสํสุ, ยทิ วา พุทฺธสารีริกธาตุโย ปริกฺขีณา อภวิสฺสํสุ, โย วา ขตฺติโย ราชา อตฺตโน ราชทูตํ สปริวารํ กุสินารํ ปาเหสฺส ปุนปิ พุทฺธ สารีริกธาตุโย อภิยาจิตุํ เสฺวว จ พุทฺธ สารีริกธาตุโย นาลภิสฺส, โกจิ วา ขตฺติโย ราชา วิภตฺตพุทฺธ- สารีริกธาตุโย ลภิตฺวา ยถาลทฺธํ อสนฺตุฏฺโ หุตฺวา ตโตปิ ปฏิลภิตุํ อภิปตฺถิสฺส, สพฺเพเปเต ยถิจฺฉิตํ พุทฺธสารีริกธาตุโย เนวาลภิสฺสํสุ, เตเนว จ เนสํ ภณฺฑนาทีนิ อภวิสฺสํสุ, เต จ เอกโต หุตฺวา สยเมว วา มหติยา จาตุรงฺ- คินิยา เสนาย อาคจฺฉิสฺสํสุ พลกฺกาเรน พุทฺธ- สารีริกธาตูนํ อจฺฉินฺทนตฺถาย โกสินารเกหิ มลฺเลหิ สงฺคามํ กาตุํ ฯ
  • 26. [๒๖] ไหนเลยคณะมัลลกษัตริย์ผู้มีกำลังน้อย จะต่อต้านกำลังข้าศึกผู้มีกำลังมากกว่าได้ถึง อย่างไร ก็ไม่ควรให้มีสงครามมาติดนครในอันใช่ที่ คณะมัลลกษัตริย์ทรงเห็นการณ์ดังนี้ จึง ยังไม่ยอมแจกพระสารีริกธาตุให้ไปก่อน กว่า ทูตทั้งหลาย พระนครจะพร้อมกันเข้าแล้ว และรบเร้าจะแจกจนได้ เมื่อได้ทำเช่นนี้หากจะมีใครมาขอในภาย หลัง ก็จะอ้างได้ถนัดว่า พระสารีริกธาตุนั้น แบ่งกันเสร็จแล้ว ถ้าจะขืนต่อยุทธทำการประหารแย่งชิง ก็จะได้อาศัย ๗ พระนครนั้น อันร่วมสามัคคี ธรรมเป็นกำลังช่วยต่อสู้ข้าศึก ข้อนี้ก็มีผล ฯ ถ้าอำนาจใหญ่อันประกอบด้วยกำลัง อันตั้งอยู่ในอุบายโกศล รู้จักดำเนินการให้ เป็นผลแก่บ้านเมือง ก็ย่อมจะแผ่อานุภาพให้ ไพศาลออกไปได้ กุโต ปเนตํ ภวิสฺสติ ยํ โกสินารกา มลฺลา อปฺปพลนิกายา อปฺปเสนา หุตฺวา สกฺกุเณยฺยุํ มหพฺพลนิกาเย มหาเสเน อรโย ปฏิพาหิตุํ ฯ อปฺปฏิรูปํ โข ปเนตํ โหติ ยเมตฺถ สงฺคาโม อุปฺปชฺเชยฺย ฯ เอวํ มนสิกโรนฺตา โกสินารกา มลฺลา เตสํ พุทฺธสารีริกธาตุโย อวิภชิตฺวา ยาว นานาราช- ธานีนํ ราชทูตา สมาคตา อเหสุํ พุทฺธสารี- ริกธาตุโย จ วิภชาเปสุํ วายมึสุเยว, ตาว อาคเมสุํฯ เอวญฺหิ สติ สเจ โย โกจิ ขตฺติโย ราชา ปจฺฉา อตฺตโน ราชทูตํ สปริวารํ กุสินารํ ปาเหสฺส พุทฺธสารีริกธาตุโย อภิยาจิตุํ, เตเนว จสฺส โกสินารกา มลฺลา นิสฺสํสยเมวํ วทิสฺสํสุ วิภชิตาเยว พุทฺธสารีริกธาตุโยติ ฯ โส เจ ขตฺติโย ราชา โกสินารเกหิ มลฺเลหิ สทฺธึ ยุทฺธมสชฺชิสฺส พุทฺธสารีริกธาตุโย อจฺฉินฺทิตุํ, เต โกสินารกา มลฺลา เตหิ สตฺตหิ ขตฺติเยหิ ราชูหิ สทฺธึ สมานจิตฺตา สมานจฺ- ฉนฺทา สมคฺคา หุตฺวา เตเนว สทฺธึ ยุทฺธํ กเรยฺยุํ ฯ สเจ หิ อิสฺสรชโน อุปายโกสลฺลปทฏฺ าเนน อิสฺสริยพเลน สมนฺนาคโต หุตฺวา รฏฺ วาสี- อาทีนํ อตฺถสาธกานิ กิจฺจานิ อนุยุญฺเชยฺย, อตฺตโน อานุภาวํ วิปฺผาเรตุํ สกฺโกติ ฯ
  • 27. [๒๗] ทรงบำเพ็ญจักรพรรดิวัตร จัดธรรมมิการักขาวรณคุตติ์ ปกครองเหล่า อนุยันตกษัตริย์ราชบริพาร พราหมณ์คฤหบดี เสวกามาตย์ ราษฎร์ชาวนิคมชนบท ข้าขอบ ขัณฑสีมา สมณพราหมณาจารย์ ตลอดถึง มฤคปักษีชาติ ทำนุบำรุงประชาชนผู้ไร้ทรัพย์ให้มั่งคั่ง สมบูรณ์ ไม่ต้องประพฤติมิจฉาชีพอันจะก่อ ให้เกิดการเบียดเบียนกันและกัน หมั่นไต่ถามถึงบาปบุญ คุณโทษประ- โยชน์ใช่ประโยชน์ กะสมณพราหมณาจารย์ ผู้ทรงคุณธรรม ไม่มีกษัตริย์เจ้านครนั้น ๆ จะอาจแข่งขันไม่ อ่อนน้อม เสด็จยาตราตุรงคินีแสนยากรไปถึง ไหนก็ได้ความยอมไปถึงนั้น นี้ก็เป็นเรื่องปรัมปรา แต่เป็นข้อสาธก ให้เห็นผลแห่งอุบายโกศล อันเป็นเครื่องทวี ความเจริญของอำนาจนั้น ๆ ให้ยิ่งขึ้น ชนเหล่าใดมีสันดานหนาไปด้วยอกุศล ก็ทรงแสดงทุจริตและผลของทุจริต ให้เกิด สังเวชแล้วและละเว้นเสีย ในเวลาใด ควรจะทรงแสดงธรรมเช่นไร ก็ทรงแสดงตามควรแก่เวลานั้น จกฺกวตฺติวตฺตํ ปริปูเรสิ ฯ กถํ ฯ ธมฺมิกํ อารกฺขาวรณคุตฺตึ สํวิทหติ อนฺโตชนสฺมึ พลกายสฺมึ ขตฺติเยสุ อนุยนฺเตสุ พฺราหฺมณคหปติเกสุ เนคมชานปเทสุ สมณ- พฺราหฺมเณสุ มิคปกฺขีสุ จ เย อธนา โหนฺติ เตสํ ธนํ อนุปฺปเทติ ยํ นิสฺสาย เต ปรวิหึสาสมุฏฺ าปิกํ มิจฺฉาชีวํ น ปโยเชนฺติ เย สมณพฺราหฺมณา ธมฺมิกา โหนฺติ มทปฺ- ปมาทา ปฏิวิรตา, เต กาเลน กาลํ อุป- สงฺกมิตฺวา กุสลากุสลมฺปิ สาวชฺชานวชฺชมฺปิ อตฺถานตฺถมฺปิ ปริปุจฺฉติ ปริปญฺหติ เย เต นคเรสุ ขตฺติยา วา ปฏิราชาโน วา ตํ ปวตฺตึ ปชานนฺติ, เตสุ เอโกปิ เตน สทฺธึ ยุคคฺคาหํ คหมาโน วา นิปจฺจการํ อกโรนฺโต วา นตฺถิ โส จาตุรงฺคิกํ เสนํ อากฑฺฒิตฺวา ยํ ยํ นครํ ภชติ, ตตฺถ ตตฺถ อนุวตฺตนํ ปฏิลภิ อิทํ กิญฺจาปิ ปรมฺปราภตํ, ตํตํอิสฺสริยา- ภิวฑฺฒนภูตสฺส ปน อุปายโกสลฺลสฺส อตฺถ- ปริทีปกํ สาธกํ โหติ เย ชนา อกุสเลหิ ธมฺเมหิ อุสฺสนฺน- สนฺตานา โหนฺติ, เตสํ สํเวคํ อุปฺปาเทตฺวา อกุสลานํ ธมฺมานํ ปหานตฺถาย ทุจฺจริตํ ตสฺส จ ผลํ ทสฺเสติ, อปิจ ยาทิเส กาเล ยาทิโส ธมฺโม เทเสตพฺโพ ตาทิเส กาเล อนุรูปํ ตาทิสํ ธมฺมํ เทเสติ ฯ
  • 28. [๒๘] ศาสโนวาทของพระองค์ จึงมีคุณเป็น อัศจรรย์ ผู้กระทำตามได้ผลสมควรแก่ความ ปฏิบัติ เตน หิสฺส ภควโต สาสนํ สปฺปาฏิหาริย- คุณํ โหติ, ยํ อนุปฏิปชฺชนฺโต ปฏิปตฺติยานุรูปํ ผลํ ลภติ สมานัตตตา ศก ๑๒๓ (น.๓๗-๔๓) สมานัตตตานั้นแปลว่า ความเป็นผู้มีตน เสมอ อธิบายว่า ความประพฤติสม่ำเสมอใน ธรรมทั้งหลายที่ให้เป็นไปในบุคคลนั้น ๆ ตาม สมควร ชื่อว่าสมานัตตา ชนผู้เป็นญาติก็ประพฤติตนตามฉันที่ เป็นญาติคือนับถือกันตามสมควรไม่ดูหมิ่นกัน เพราะมีอิสริยยศอำนาจศฤงคารบริวารไม่ เสมอกัน ดังนี้ ชื่อว่าประพฤติตนสม่ำเสมอใน ญาติธรรม สมเด็จพระบรมศาสดาจารย์จึง ประทานพระบรมพุทโธวาทให้ตั้งอยู่ในคุณ ข้อนี้ทั้งคฤหัสถ์บรรพชิต ทรงแสดงกิจของผู้ครองเรือนที่ใช้จ่ายโภค- ทรัพย์ด้วยดี ก็ยกญาติพลีคือการสงเคราะห์ ญาติว่าเป็น กรณียะอย่างหนึ่ง ซึ่งทำแล้วก็จะ ได้ชื่อว่าถือเอาประโยชน์แห่งโภคทรัพย์ เป็น อันไม่จับจ่ายเปล่า ฝ่ายบรรพชิตเล่าก็ทรงเปิดโอกาสให้บำเพ็ญ ญาตัตถจริยาได้ตามสมควร เช่น ภิกษุจะทำยาให้แก่ญาติก็ไม่ห้ามให้ พัสดุของตนก็ไม่เป็นกุลทูสกหรือทำศรัทธา ไทยให้ตก สมานตฺตตาติ ปเนตฺถ ฯ สมาโน ปรสฺส อตฺตา เอเตนาติ สมานตฺโต สมานตฺตสฺส ภาโว สมานตฺตตา โย อตฺตโน าตโก โหติ, ตสฺมึ ปุคฺคเล ยถารหํ มานนายปิ อสมานิสฺสริยยสวสธน- ปริวารเหตุ อนวมญฺ นายปิ าตกฏฺ านา- นุรูปโต สมํ จรติ ฯ อยํ าติธมฺเม สมจริยา นาม ฯ ตสฺมา ภควาปิ คิหิโน เจว ปพฺพชิเต จ อิมิสฺสํ สมจริยาย ปติฏฺ าเปตุํ โอวทิ ฯ กถํ ฯ ฆรมาวสตํ คิหีนํ โภควลญฺชนกิจฺจํ ทสฺเสนฺโต าติสงฺคหสงฺขาตํ าติพลึ กรณียํ อุทฺทิสิ, ยํ กตฺวา โภคานํ อาทิเย อาทิยติ นาม น จ นิรตฺถกฏฺ าเนน โภเค วลญฺเชติ นาม ปพฺพชิตานมฺปิ ยถารหํ าตตฺถจริยํ กาตุํ โอกาสํ อทาสิ ฯ กถํ ฯ ภิกฺขุสฺส าตกานํ เภสชฺชกมฺมํ น นิวาริตํ, อตฺตโน สนฺตกํ าตกานํ ททนฺตสฺส กุลทูสก- กมฺมํ น โหติ, น สทฺธาเทยฺยวินิปาตนํ,
  • 29. [๒๙] จะให้จีวรแก่นางภิกษุณีผู้เป็นญาติ หรือรับ บิณฑบาตจากเธอด้วยมือของตนเองแล้วฉัน ก็ไม่ต้องอาบัติ และไม่เป็นวิญญัติเพราะขอ ปัจจัย ๔ กะคฤหบดีผู้เป็นญาติ และมีเรื่องเล่าในอรรถกถาธรรมบทว่า พระองค์ได้ทรงห้ามวิวาทในระหว่างหมู่พระ ญาติให้ระงับ และห้ามทัพวิฑูฑภะเจ้าโกศล รัฐผู้คิดจะกำจัดศากยวงศ์ไว้ได้ด้วยอุบายถึง ๒ ครั้ง. อนึ่ง พระองค์ยังได้ประทานบริหารแผนก หนึ่งแก่พระญาติผู้บวชเป็นเดียรถีย์จะมาบวช ในพระธรรมวินัยนี้ ไม่ต้องประพฤติติตถิยปริวาสถ้วน ๔ เดือนก่อน เหมือนผู้อื่น พอมาถึงก็ให้บวชได้ ทีเดียว อันญาตินี้ ย่อมมีไมตรีสนิทกว่าผู้อื่น เป็นผู้ช่วยรู้สึกด้วยในสุขทุกข์ และเป็นกำลัง ในกิจการ ชนผู้ไร้ญาติ ก็ปานพฤกษชาติอันหา สาขามิได้ ไม่มีกำลังพอจะทนพายุพัด มี ทางจะถึงวิบัติโดยง่ายดาย าติกภูตาย ภิกฺขุนิยา จีวรํ ททนฺตสฺส วา ตสฺสา หตฺถโต สหตฺถา ปิณฺฑปาตํ ปฏิคฺคเหตฺวา ภุญฺชนฺตสฺส วา อาปตฺติ วา โหติ, าตกภูตํ คหปตึ วา คหปตานึ วา จีวราทิ- ปจฺจเย วิญฺ าเปนฺตสฺส กตวิญฺ ตฺติ น โหติ ฯ ธมฺมปทฏ กถายญฺเจตํ วุตฺตํ “โส ภควา อุทกเหตุ วิวาทาปนฺนานํ าตกานํ กลหํ วูปสเมสิ, สากิยวํสญฺจ วินาเสตุํ มหนฺเตน พเลน นิกฺขนฺตํ วิฑูฑภํ โกสลราชานํ อุปาเยน ทฺวิกฺขตฺตุํ นิวาเรสีติ ฯ โส จ ภควา โย ชาติยา สากิยภูโต าตโก อญฺ ติตฺถิยภูตโก หุตฺวา อาคนฺตฺวา อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อุปสมฺปทํ อากงฺขติ, ตสฺส อาเวณิกํ ปริหารํ อทาสิ ฯ กถํ ฯ เตน าตเกน ยถา อญฺเ น อญฺ ติตฺถิย- ปุพฺพเกน อิมสฺมึ ธมฺมวินเย อุปสมฺปทํ อากงฺข- มาเนน จตฺตาโร มาเส ปริวาโส ปูเรตพฺโพ เอวํ น ปูเรตพฺโพ, โส อาคตมตฺโต ว อุปสมฺ- ปาเทตพฺโพ าตกา นาม สินิทฺธเมตฺติยุตฺตา โหนฺติ สมานสุขทุกฺขา กิจฺเจสุ จ พลภูตา ฯ ยสฺส าตกา นตฺถิ โส สุเขน วิปตฺตึ ปาปุณาติ ฯ เสยฺยถาปิ นาม โย รุกฺโข นิสฺสาโข โหติ, ตสฺส วาตํ ตายิตุํ ปโหนกํ พลํ นตฺถิ, โส สุเขน วิปตฺตึ ปาปุณาติ เอวํ สมฺปทมิทํ ทฏฺ พฺพํ ฯ
  • 30. [๓๐] อีกประการหนึ่ง ชนผู้เป็นมิตรแห่ง กันประพฤติตนตามฉันที่เป็นมิตร มีจิตคงที่ ไม่แปรผัน ในเวลาที่ฝ่ายหนึ่งได้ดีผิดกว่ากัน หรือฝ่ายหนึ่งเสื่อมทรามลงไป ดังนี้ ได้ชื่อว่า ประพฤติตนสม่ำเสมอในมิตรธรรม และเป็นผู้ช่วยรู้สึกด้วยในสมบัติวิบัติ และกิริยาที่คบมิตรเล่า ก็ผิดกับกิริยาที่นับ ถือญาติ บุคคลนับถือกันว่าเป็นญาติก็เพราะ นับถือว่าเป็นผู้เนื่องกันทางฝ่ายมารดาหรือ ฝ่ายบิดา แต่จะคบกันเป็นมิตรนั้น ก็เพราะ เป็นผู้ถูกอัธยาศัยร่วมกันในกิจการนั้น ๆ การคบมิตรจึงเป็นสำคัญในปัจจัย ภายนอก ที่จะจูงให้บุคคลถึงความเสื่อมหรือ ความเจริญ อีกประการหนึ่ง ชนผู้นับเนื่องในหมู่ เดียวกันประพฤติตามฉันที่เป็นพวกเดียวกัน ไม่คิดอารัดเอาเปรียบ ต่างรักษาประโยชน์ ของกัน ดังนี้ ได้ชื่อว่าประพฤติตนสม่ำเสมอ ในตัปปริยาปันนธรรม คือธรรมของชนผู้เนื่อง ในหมู่นั้น ๆ เหมือนดังไม้หลาย ๆ อันที่ตั้งยันกันอยู่ มีผู้ชักออกเสียจนมีกำลังไม่พอจะทานกันไว้ ได้ ก็ต่างจะล้ม ฉะนั้น อถวาฯ โย หิ อญฺ สฺส มิตฺตภูโต ปุคฺคโล มิตฺตภาวานุโลมโต อาจรติ อตฺตโน มิตฺตสฺส วรตราธิคตกาเล วา ปริหานิปตฺตกาเล วา ตาทิ โหติ อวิปริณามธมฺโม, อยํ มิตฺตธมฺเม สมํ จรติ นาม ตสฺมิญฺจ สมฺปตฺติวิปตฺตึ สมฺปตฺเต ตสฺส อนุตาปาทิจิตฺตสภาวํ ทสฺเสติ เอตฺถ จ มิตฺตเสวนาปิ าติมานนาปิ วิสทิสา โหนฺติ ฯ กถํ ฯ ยงฺกญฺจิ ปุคฺคลํ อตฺตโน าตกํ มาเนนฺโต อตฺตโน ปิตุนา วา มาตุยา วา สทฺธึ ปริยาปนฺนตาย มาเนติ, ยงฺกญฺจิ ปน อตฺตโน มิตฺตํ เสวมาโน ตสฺมึ ตสฺมึ กิจฺเจ สมานชฺฌาสยตาย เสวติ, สา จ มิตฺตเสวนา ปริหานึ วา วุฑฺฒึ วา ปาเปตุํ ปฏิพลภูเตสุ พาหิรปจฺจเยสุ อติสาร- ภูตา โหติ ฯ อถวา เย เต เอกสฺมึ นิกาเย ปริยาปนฺนา ชนา ปรตฺถภญฺชเนน พหุตรํ อตฺตทตฺถํ ลทฺธุํ น วายมนฺติ, อญฺ มญฺ สฺส ปน อตฺถํ อนุรกฺขิตุํ วายมนฺติ, เต ตปฺปริยาปนฺนา ธมฺเมสุ สมํ จรนฺติ นาม ฯ เสยฺยถาปิ นาม ตโย วา จตฺตาโร วา ทารุทณฺฑกา อญฺ มญฺ ํ นิสฺสาย ิตา, เตสุ เอโก วา เทฺว วา เกนจิ อปนีตา โหนฺติ, เสสา ทุพฺพลา หุตฺวา อญฺ มญฺ ํ สนฺธาเรตุํ น สกฺโกนฺติ, ขิปฺปเมว ภูมิยํ ปตนฺติ, เอวํ สมฺปท- มิทํ ทฏฺ พฺพํ