SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ
องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบ 5 อย่าง (ดังรูป) ได้แก่
1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่
เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น
2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์
เครื่องพิมพ์เป็นต้น
3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่ง
ข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์
คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม
4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า
สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้
4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น
4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็น
เลขฐานสองโดยตรง
4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ
4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณ
ต่อเนื่องกันไป
4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป
5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถ
เข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์
โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตาม
โปรแกรมที่กาหนดไว้ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น
องค์ประกอบด้านสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศซึ่งเป็นระบบสนับสนุนการบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการ
ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นระดับบุคคล ระดับกลุ่ม หรือ ระดับองค์การ ไม่ใช่มีเพียงเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น
แต่ยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความสาเร็จของระบบอีก รวม 5 องค์ประกอบ ซึ่งจะขาด
องค์ประกอบใดไม่ได้คือ
1. ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์เครื่องกราด
ตรวจ
2. ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลาดับ
ขั้นตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของ
การใช้งาน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติงาน ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงาน ซอฟต์แวร์สาเร็จ และ
ซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับงานต่าง ๆ ลักษณะการใช้งานของซอฟต์แวร์ก่อนหน้านี้ ผู้ใช้จะต้องติดต่อใช้งาน
โดยใช้ข้อความเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์มีลักษณะการใช้งานที่ง่ายขึ้น โดยมีรูปแบบการติดต่อที่สื่อ
ความหมายให้เข้าใจง่าย เช่น มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ที่เรียกว่า กุย (Graphical User Interface :
GUI) ส่วนซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีใช้ในท้องตลาดทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับ บุคคลเป็นไปอย่าง
กว้างขวาง และเริ่มมีลักษณะส่งเสริมการทางานของกลุ่มมากขึ้น ส่วนงานในระดับองค์การส่วนใหญ่มักจะมี
การพัฒนาระบบตามความต้องการโดยการว่า จ้าง หรือโดยนักคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในฝ่ายคอมพิวเตอร์ของ
องค์การ เป็นต้น ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ
ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึง โปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของฮาร์ดแวร์
คอมพิวเตอร์ และอานวยเครื่องมือสาหรับทางานพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นโปรแกรมที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่างาน
ด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานทุก ๆ ด้านตามแต่ผู้ใช้ต้องการ จน
สามารถกล่าวได้ว่าซอฟต์แวร์ประยุกต์ก็คือซอฟต์แวร์ที่ทาให้เกิดการใช้งาน คอมพิวเตอร์กันอย่างกว้างขวาง
และทาให้คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่ไม่สามารถขาดได้ในยุคสารสนเทศนี้
ใน องค์กรขนาดใหญ่หรืองานที่มีความต้องการเฉพาะด้าน การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งานจะใช้วิธีพัฒนา
ซอฟต์แวร์ขึ้นมาเอง หรือว่าจ้างบริษัทซอฟต์แวร์เพื่อทาซอฟต์แวร์เฉพาะงานให้ซอฟต์แวร์ขึ้นมาใช้ เอง
ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะเรียกว่าซอฟต์แวร์เฉพาะงาน (Tailor Made software) มีข้อดีคือมีความเหมาะสมกับ
งานและสามารถแก้ไขตามความต้องการได้ ข้อเสียคือค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลาสาหรับการพัฒนา ปัจจุบันนี้
จึงมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้สาหรับงานทั่ว ๆ ไป วางจาหน่ายเป็นชุดสาเร็จรูปเรียกว่า
ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป (Software Package)
3. ข้อมูล ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็นตัวชี้ความสาเร็จ
หรือความล้มเหลวของระบบได้เนื่องจากจะต้องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูลจะต้องมีความ
ถูกต้อง มีการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้วเท่านั้นจึงจะมีประโยชน์ ข้อมูลจาเป็นจะต้องมีมาตรฐาน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้งานในระดับกลุ่มหรือระดับองค์การ ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็น
ระบบระเบียบเพื่อการสืบค้นที่รวด เร็วมีประสิทธิภาพ
4. บุคลากร บุคลากรในระดับผู้ใช้ผู้บริหาร ผู้พัฒนาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็น
องค์ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์
มากเท่าใด โอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภาพและคุ้มค่า ยิ่งมากขึ้น
เท่านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถมาก ขึ้น ทาให้
ผู้ใช้มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานได้เองตามความ ต้องการ สาหรับระบบ
สารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์การที่มีความซับซ้อนมาก อาจจะต้องใช้บุคคลากรในสาขาคอมพิวเตอร์
โดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผู้ใช้หรือของบุคลากรที่เกี่ยงข้องก็เป็น เรื่อง
สาคัญอีกประการหนึ่ง เมื่อได้พัฒนาระบบงานแล้วจาเป็นต้องปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอนในขณะที่ใช้ งาน
ก็จาเป็นต้องคานึงถึงลาดับขั้นตอน การปฏิบัติของคนและความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและกรณี
ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเครื่องมือชารุดหรือ
ข้อมูลสูญหาย และขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลสารองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเล่านี้ต้องมีการซักซ้อม
มีการเตรียมการ และการทาเอกสารคู่มือการใช้งานให้ชัดเจน

More Related Content

What's hot

เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลMrpopovic Popovic
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ปิยะดนัย วิเคียน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1Nuttapoom Tossanut
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3SO Good
 
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่ายหน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่ายekkachai kaikaew
 
Computer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunicationComputer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunicationPhuwit Innma
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3chushi1991
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Siratcha Wongkom
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์hisogakung
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5BumBoom Boom
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอนamppere
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลAqilla Madaka
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารAqilla Madaka
 

What's hot (19)

สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูลสื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
สื่อกลางในการสื่อสารข้อมูล
 
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูลเทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
เทอม 1 คาบ 8 การถ่ายโอนข้อมูลและรูปแบบการรับส่งข้อมูล
 
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทของการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บทที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่ายหน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
หน่วยที่ 4 การสื่อสารบนเครือข่าย
 
บริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ตบริการบนอินเทอร์เน็ต
บริการบนอินเทอร์เน็ต
 
4
44
4
 
Computer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunicationComputer_m2_datacommunication
Computer_m2_datacommunication
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
2.1 การสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ม.5
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสารLesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
Lesson3 ระบบเครือข่ายและการสื่อสาร
 

Similar to ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ

หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8ratiporn555
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลScholarBas Tanaporn
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลkruumawan
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลนายนันทวัฒน์ เสนาช่วย
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลMorn Suwanno
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายPokypoky Leonardo
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอมNattanaree
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5Aomsin Kittibullungkul
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11paween
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์swiz14018
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 

Similar to ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ (20)

หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8หน่วยที่ 8
หน่วยที่ 8
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูลใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ เรื่อง การสื่อสารข้อมูล
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูลใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
ใบความรู้ที่ 2 องค์ประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสาร
การสื่อสารการสื่อสาร
การสื่อสาร
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่ายบทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
บทที่ 6. การสื่อสารโทรคมนาคมและเครือข่าย
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
แม็พคอม
แม็พคอมแม็พคอม
แม็พคอม
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 5-5
 
Computer comunication
Computer comunicationComputer comunication
Computer comunication
 
Comunication netw01 11
Comunication netw01 11Comunication netw01 11
Comunication netw01 11
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 

More from สุเมธ แก้วระดี

ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58สุเมธ แก้วระดี
 
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้  เรื่อง  ขั้นตอนการพัฒนาระบบใบความรู้  เรื่อง  ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบสุเมธ แก้วระดี
 
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้  เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบใบความรู้  เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบสุเมธ แก้วระดี
 
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันสุเมธ แก้วระดี
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบงานสารสนเทศ
ใบความรู้  เรื่อง ระบบงานสารสนเทศใบความรู้  เรื่อง ระบบงานสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ระบบงานสารสนเทศสุเมธ แก้วระดี
 
ผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวย
ผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวยผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวย
ผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวยสุเมธ แก้วระดี
 

More from สุเมธ แก้วระดี (8)

ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58ใบความรู้  การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2  14  กันยายน  58
ใบความรู้ การจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศ ม.2 14 กันยายน 58
 
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้  เรื่อง  ขั้นตอนการพัฒนาระบบใบความรู้  เรื่อง  ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
 
การประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูลการประมวลผลข้อมูล
การประมวลผลข้อมูล
 
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้  เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบใบความรู้  เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
ใบความรู้ เรื่อง ขั้นตอนการพัฒนาระบบ
 
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบันระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
ระบบคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันแพร่หลายในปัจจุบัน
 
ใบความรู้ เรื่อง ระบบงานสารสนเทศ
ใบความรู้  เรื่อง ระบบงานสารสนเทศใบความรู้  เรื่อง ระบบงานสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ระบบงานสารสนเทศ
 
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
แผน 1 1 เทคโนโลยี ป.1
 
ผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวย
ผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวยผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวย
ผักหวานป่า ตอนกิ่ง ปลูกง่าย โตเร็ว พารวย
 

ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ

  • 1. ใบความรู้ องค์ประกอบด้านสื่อสารข้อมูลและสารสนเทศ องค์ประกอบของการสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูลมีองค์ประกอบ 5 อย่าง (ดังรูป) ได้แก่ 1. ผู้ส่ง (Sender) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการส่งข่าวสาร (Message) เป็นต้นทางของการสื่อสารข้อมูลมีหน้าที่ เตรียมสร้างข้อมูล เช่น ผู้พูด โทรทัศน์ กล้องวิดีโอ เป็นต้น 2. ผู้รับ (Receiver) เป็นปลายทางการสื่อสาร มีหน้าที่รับข้อมูลที่ส่งมาให้ เช่น ผู้ฟัง เครื่องรับโทรทัศน์ เครื่องพิมพ์เป็นต้น 3. สื่อกลาง (Medium) หรือตัวกลาง เป็นเส้นทางการสื่อสารเพื่อนาข้อมูลจากต้นทางไปยังปลายทาง สื่อส่ง ข้อมูลอาจเป็นสายคู่บิดเกลียว สายโคแอกเชียล สายใยแก้วนาแสง หรือคลื่นที่ส่งผ่านทางอากาศ เช่น เลเซอร์ คลื่นไมโครเวฟ คลื่นวิทยุภาคพื้นดิน หรือคลื่นวิทยุผ่านดาวเทียม 4. ข้อมูลข่าวสาร (Message) คือสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผ่านไปในระบบสื่อสาร ซึ่งอาจถูกเรียกว่า สารสนเทศ (Information) โดยแบ่งเป็น 5รูปแบบ ดังนี้ 4.1 ข้อความ (Text) ใช้แทนตัวอักขระต่าง ๆ ซึ่งจะแทนด้วยรหัสต่าง ๆ เช่น รหัสแอสกี เป็นต้น 4.2 ตัวเลข (Number) ใช้แทนตัวเลขต่าง ๆ ซึ่งตัวเลขไม่ได้ถูกแทนด้วยรหัสแอสกีแต่จะถูกแปลงเป็น เลขฐานสองโดยตรง 4.3 รูปภาพ (Images) ข้อมูลของรูปภาพจะแทนด้วยจุดสีเรียงกันไปตามขนาดของรูปภาพ 4.4 เสียง (Audio) ข้อมูลเสียงจะแตกต่างจากข้อความ ตัวเลข และรูปภาพเพราะข้อมูลเสียงจะเป็นสัญญาณ ต่อเนื่องกันไป 4.5 วิดีโอ (Video) ใช้แสดงภาพเคลื่อนไหว ซึ่งเกิดจากการรวมกันของรูปภาพหลาย ๆ รูป 5. โปรโตคอล (Protocol) คือ วิธีการหรือกฎระเบียบที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูลเพื่อให้ผู้รับและผู้ส่ง สามารถ เข้าใจกันหรือคุยกันรู้เรื่อง โดยทั้งสองฝั่งทั้งผู้รับและผู้ส่งได้ตกลงกันไว้ก่อนล่วงหน้าแล้ว ในคอมพิวเตอร์ โปรโตคอลอยู่ในส่วนของซอฟต์แวร์ที่มีหน้าที่ทาให้การดาเนินงาน ในการสื่อสารข้อมูลเป็นไปตาม โปรแกรมที่กาหนดไว้ตัวอย่างเช่น X.25, SDLC, HDLC, และ TCP/IP เป็นต้น องค์ประกอบด้านสารสนเทศ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศซึ่งเป็นระบบสนับสนุนการบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการ ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นระดับบุคคล ระดับกลุ่ม หรือ ระดับองค์การ ไม่ใช่มีเพียงเครื่องคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ยังมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับความสาเร็จของระบบอีก รวม 5 องค์ประกอบ ซึ่งจะขาด องค์ประกอบใดไม่ได้คือ
  • 2. 1. ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์เป็นองค์ประกอบสาคัญของระบบสารสนเทศ หมายถึง เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ รอบข้าง รวมทั้งอุปกรณ์สื่อสารสาหรับเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์เข้าเป็นเครือข่าย เช่น เครื่องพิมพ์เครื่องกราด ตรวจ 2. ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นองค์ประกอบที่สาคัญประการที่สอง ซึ่งก็คือลาดับ ขั้นตอนของคาสั่งที่จะสั่งงานให้ฮาร์ดแวร์ทางาน เพื่อประมวลผลข้อมูลให้ได้ผลลัพธ์ตามความต้องการของ การใช้งาน ในปัจจุบันมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติงาน ซอฟต์แวร์ควบคุมระบบงาน ซอฟต์แวร์สาเร็จ และ ซอฟต์แวร์ประยุกต์สาหรับงานต่าง ๆ ลักษณะการใช้งานของซอฟต์แวร์ก่อนหน้านี้ ผู้ใช้จะต้องติดต่อใช้งาน โดยใช้ข้อความเป็นหลัก แต่ในปัจจุบันซอฟต์แวร์มีลักษณะการใช้งานที่ง่ายขึ้น โดยมีรูปแบบการติดต่อที่สื่อ ความหมายให้เข้าใจง่าย เช่น มีส่วนต่อประสานกราฟิกกับผู้ใช้ที่เรียกว่า กุย (Graphical User Interface : GUI) ส่วนซอฟต์แวร์สาเร็จที่มีใช้ในท้องตลาดทาให้การใช้งานคอมพิวเตอร์ในระดับ บุคคลเป็นไปอย่าง กว้างขวาง และเริ่มมีลักษณะส่งเสริมการทางานของกลุ่มมากขึ้น ส่วนงานในระดับองค์การส่วนใหญ่มักจะมี การพัฒนาระบบตามความต้องการโดยการว่า จ้าง หรือโดยนักคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในฝ่ายคอมพิวเตอร์ของ องค์การ เป็นต้น ซอฟต์แวร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิด คือ ซอฟต์แวร์ระบบ หมายถึง โปรแกรมทุกโปรแกรมที่ทาหน้าที่ติดต่อกับส่วนประกอบต่าง ๆ ของฮาร์ดแวร์ คอมพิวเตอร์ และอานวยเครื่องมือสาหรับทางานพื้นฐานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ จะเป็นโปรแกรมที่ทาให้คอมพิวเตอร์สามารถทางานต่าง ๆ ตามที่ผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่างาน ด้านการจัดทาเอกสาร การทาบัญชี การจัดเก็บข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนงานทุก ๆ ด้านตามแต่ผู้ใช้ต้องการ จน สามารถกล่าวได้ว่าซอฟต์แวร์ประยุกต์ก็คือซอฟต์แวร์ที่ทาให้เกิดการใช้งาน คอมพิวเตอร์กันอย่างกว้างขวาง และทาให้คอมพิวเตอร์เป็นปัจจัยที่ไม่สามารถขาดได้ในยุคสารสนเทศนี้ ใน องค์กรขนาดใหญ่หรืองานที่มีความต้องการเฉพาะด้าน การจัดหาซอฟต์แวร์มาใช้งานจะใช้วิธีพัฒนา ซอฟต์แวร์ขึ้นมาเอง หรือว่าจ้างบริษัทซอฟต์แวร์เพื่อทาซอฟต์แวร์เฉพาะงานให้ซอฟต์แวร์ขึ้นมาใช้ เอง ซอฟต์แวร์ประเภทนี้จะเรียกว่าซอฟต์แวร์เฉพาะงาน (Tailor Made software) มีข้อดีคือมีความเหมาะสมกับ งานและสามารถแก้ไขตามความต้องการได้ ข้อเสียคือค่าใช้จ่ายสูงและใช้เวลาสาหรับการพัฒนา ปัจจุบันนี้ จึงมีโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เขียนขึ้นมาเพื่อใช้สาหรับงานทั่ว ๆ ไป วางจาหน่ายเป็นชุดสาเร็จรูปเรียกว่า ซอฟต์แวร์สาเร็จรูป (Software Package) 3. ข้อมูล ข้อมูล เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกประการหนึ่งของระบบสารสนเทศ อาจจะเป็นตัวชี้ความสาเร็จ หรือความล้มเหลวของระบบได้เนื่องจากจะต้องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูลจะต้องมีความ
  • 3. ถูกต้อง มีการกลั่นกรองและตรวจสอบแล้วเท่านั้นจึงจะมีประโยชน์ ข้อมูลจาเป็นจะต้องมีมาตรฐาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้งานในระดับกลุ่มหรือระดับองค์การ ข้อมูลต้องมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็น ระบบระเบียบเพื่อการสืบค้นที่รวด เร็วมีประสิทธิภาพ 4. บุคลากร บุคลากรในระดับผู้ใช้ผู้บริหาร ผู้พัฒนาระบบ นักวิเคราะห์ระบบ และนักเขียนโปรแกรม เป็น องค์ประกอบสาคัญในความสาเร็จของระบบสารสนเทศ บุคลากรมีความรู้ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ มากเท่าใด โอกาสที่จะใช้งานระบบสารสนเทศและระบบคอมพิวเตอร์ได้เต็มศักยภาพและคุ้มค่า ยิ่งมากขึ้น เท่านั้น โดยเฉพาะระบบสารสนเทศในระดับบุคคลซึ่งเครื่องคอมพิวเตอร์มีขีดความสามารถมาก ขึ้น ทาให้ ผู้ใช้มีโอกาสพัฒนาความสามารถของตนเองและพัฒนาระบบงานได้เองตามความ ต้องการ สาหรับระบบ สารสนเทศในระดับกลุ่มและองค์การที่มีความซับซ้อนมาก อาจจะต้องใช้บุคคลากรในสาขาคอมพิวเตอร์ โดยตรงมาพัฒนาและดูแลระบบงาน 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน ขั้นตอนการปฏิบัติงานที่ชัดเจนของผู้ใช้หรือของบุคลากรที่เกี่ยงข้องก็เป็น เรื่อง สาคัญอีกประการหนึ่ง เมื่อได้พัฒนาระบบงานแล้วจาเป็นต้องปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอนในขณะที่ใช้ งาน ก็จาเป็นต้องคานึงถึงลาดับขั้นตอน การปฏิบัติของคนและความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและกรณี ฉุกเฉิน เช่น ขั้นตอนการบันทึกข้อมูล ขั้นตอนการประมวลผล ขั้นตอนการปฏิบัติเมื่อเครื่องมือชารุดหรือ ข้อมูลสูญหาย และขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลสารองเพื่อความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเล่านี้ต้องมีการซักซ้อม มีการเตรียมการ และการทาเอกสารคู่มือการใช้งานให้ชัดเจน