SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
กลุม ม.3/5 กลุมที่ 3
          ่           ่
   1.นฤพันธ์ กันทะวัง เลขที่ 9
    2.ปถากร สีทอง เลขที่ 10
   3.ปั ฐพล เมืองวงศ์ เลขที่ 11
4.พาณิชญกรณ์ นาเจริ ญ เลขที่ 12
เครื่ องใช้ไฟฟ้ า
เครื่องใช้ ไฟฟา คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานรู ปอื่น เพื่อนาไปใช้ใน
                 ้
ชีวิตประจาวัน ได้แก่
1. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้แสงสว่าง
2. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้ความร้อน
3. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล
4. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานเสี ยง
นอกจากนี้ยงมีเครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่สามารถเปลี่ยนเป็ นพลังงานรู ปอื่นหลายรู ปในเวลาเดียวกัน
               ั
16.3.1 เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้แสงสว่าง
หลอดไฟ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นแสงสว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่ ง
ต่างๆ ได้ ซึ่ ง โธมัส เอดิสัน เป็ นผูประดิษฐ์หลอดไฟเป็ นครั้งแรก โดยใช้คาร์ บอนเส้น
                                     ้
เล็กๆ เป็ นไส้หลอดและได้มีการพัฒนาเรื่ อยมาเป็ นลาดับ
ประเภทของหลอดไฟ
1. หลอดไฟฟ้ าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทาด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสู ง เช่น ทังสเตนเส้น
เล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริ งภายในหลอดแก้วสู บอากาศออกหมดแล้วบรรจุก๊าซเฉื่ อย
เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนี้ ช่วยป้ องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้ าดา ลักษณะของหลอดไฟเป็ นดังรู ป
หลักการทางานของหลอดไฟฟาธรรมดา้
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไส้หลอดซึ่ งมีความต้านทานสู ง พลังงานไฟฟ้ าจะเปลี่ยนเป็ นพลังงาน
ความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็ นดังนี้
พลังงานไฟฟ้ า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง
2. หลอดเรื่ องแสง หรื อ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็ นอุปกรณ์ที่
เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานแสงสว่าง ซึ่ งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมี
รู ปร่ างหลายแบบ อาจทาเป็ นหลอดตรง สั้น ยาว ขดเป็ นวงกลมหรื อครึ่ งวงกลม เป็ นต้น
ส่ วนประกอบของหลอดเรืองแสง
ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูที่ปลายทั้ง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่ งผิวภายในของหลอด
                                ่
ฉาบด้วยสารเรื่ องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสู บออกจนหมดแล้วใส่ ไอปรอทไว้เล็กน้อย
ดังรู ป
อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรื องแสงทางาน
1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์อตโนมัติในขณะหลอดเรื องแสง ยังไม่ติด
                                              ั
และหยุดทางานเมื่อหลอดติดแล้ว
2. แบลลัสต์ (Ballast) ทาหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรื องแสงติดในตอนแรก
                                     ่
และทาหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้ าที่ผานหลอด ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว
การใช้ หลอดเรื องแสงต้ องต่อวงจรเข้ ากับ
สตาร์ ตเตอร์ และแบลลัสต์ แล้ วจึงต่อเข้ ากับ
สายไฟฟาในบ้ าน
        ้
หลักการทางานของหลอดเรืองแสง
เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทาให้ปรอทที่บรรจุไว้
ในหลอดกลายเป็ นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้ าให้ไอ
                                  ่
ปรอท ทาให้อะตอมของไอปรอทอยูในภาวะถูกกระตุน และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมา
                                                   ้
เพื่อลดระดับพลังงานของตนในรู ปของรังสี อลตราไวโอเลต เมื่อรังสี ดงกล่าวกระทบสารเรื อง
                                          ั                     ั
แสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรื องแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสี ต่างๆ ตามชนิ ดของ
สารเรื องแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสี ชมพู ซิ งค์ซิลิเคทให้
แสงสี เขียว แมกนีเซี ยมทังสเตนให้แสงสี ขาวอมฟ้ า และยังอาจผสมสารเหล่านี้ เพื่อให้ได้สีผสมที่
แตกต่างออกไปอีกด้วย
ข้ อดีของหลอดเรืองแสง
1. มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าหลอดไฟฟ้ าธรรมดา เสี ยค่าไฟฟ้ าเท่ากัน แต่ได้ไฟที่สว่างกว่า
2. ให้แสงที่เย็นตา กระจายไปทัวหลอด ไม่รวมเป็ นจุดเหมือนหลอดไฟฟ้ าธรรมดา
                              ่
3. อาจจัดสี ของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยการเปลี่ยนชนิดสารเรื องแสง
4. อุณหภูมิของหลอดเรื องแสงไม่สูงเท่ากับหลอดไฟธรรมดาขณะทางาน
3. หลอดนีออน หรื อหลอดไฟโฆษณา เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นแสงสว่าง มี
ลักษณะเป็ นหลอดแก้วที่ถกลนไฟ ดัดเป็ นรู ปหรื ออักษรต่างๆ สู บอากาศออกเป็ นสูญญากาศ แล้ว
                            ู
ใส่ ก๊าซบางชนิ ดที่ให้แสงสี ต่างๆ ออกมาได้ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่านหลอดชนิ ดนี้ไม่มีไส้
หลอดไฟ แต่ใช้ข้ วไฟฟ้ าทาด้วยโลหะติดอยูท่ีปลายทั้ง 2 ข้าง แล้วต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าที่มี
                 ั                         ่
ความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ซึ่ งมีความต่างศักย์ที่สูงมาก จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้
ในหลอดเกิดการแตกตัวเป็ นนีออนและนาไฟฟ้ าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านก๊าซเหล่านี้จะทาให้
                          ่
ก๊าซร้อนติดไฟให้แสงสี ตางๆ ได้
ตัวอย่างก๊าซชนิ ดต่างๆ ที่บรรจุในหลอดโฆษณา
ก๊าซนีออน ให้แสงสี แดง
ก๊าซฮีเลียม ให้แสงสี ชมพู
ก๊าซอาร์ กอน ให้แสงสี ขาวอมน้ าเงิน และถ้าใช้ก๊าซต่างๆ ผสมกันก็จะได้สีต่างๆ ออกไป
ข้อแนะนาการใช้หลอดไฟอย่างประหยัด
1. ใช้หลอดเรื องแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมื่อใช้พลังงาน
ไฟฟ้ าเท่ากัน และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า
2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสงสว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง
3. ทาความสะอาดโป๊ ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่
4. ปิ ดไฟทุกครั้งที่ไม่จาเป็ นต้องใช้

More Related Content

What's hot

กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303Atjimayall
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าthanawan302
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าwattanakub00
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าJirachaya_chumwong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้าJirachaya_chumwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าiykuflyu
 

What's hot (8)

กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303กลุ่ม 7 ม.303
กลุ่ม 7 ม.303
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้างานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
งานวิทยาศาสตร์เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 

Viewers also liked

Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01Trisno Murty
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305คณากรณ์ อุปปิง
 
Gestur Educativo
Gestur Educativo Gestur Educativo
Gestur Educativo GesturRD
 
Camera shot movement angle and editing glossary
Camera shot movement angle and editing glossaryCamera shot movement angle and editing glossary
Camera shot movement angle and editing glossaryMissNewstead
 
Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01Trisno Murty
 
[1] pemetaan sk & kd kls vi
[1] pemetaan sk & kd kls vi[1] pemetaan sk & kd kls vi
[1] pemetaan sk & kd kls viFirman Syah
 
56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)
56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)
56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)Flor Tejada Santamaria
 
Pivotal cloud foundry introduction
Pivotal cloud foundry introductionPivotal cloud foundry introduction
Pivotal cloud foundry introductionGaurav Shukla
 
Reliability of the Bible
Reliability of the BibleReliability of the Bible
Reliability of the BibleNishan Fernando
 

Viewers also liked (17)

Konfigrasi elektron
Konfigrasi elektronKonfigrasi elektron
Konfigrasi elektron
 
Alina maría
Alina maríaAlina maría
Alina maría
 
กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 1กลุ่มที่ 1
กลุ่มที่ 1
 
USA Patriot Act
USA Patriot ActUSA Patriot Act
USA Patriot Act
 
Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01
 
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305
 
Gestur Educativo
Gestur Educativo Gestur Educativo
Gestur Educativo
 
Camera shot movement angle and editing glossary
Camera shot movement angle and editing glossaryCamera shot movement angle and editing glossary
Camera shot movement angle and editing glossary
 
18 21
18 2118 21
18 21
 
Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01Hi vitslide-121115093228-phpapp01
Hi vitslide-121115093228-phpapp01
 
Konfigrasi elektron
Konfigrasi elektronKonfigrasi elektron
Konfigrasi elektron
 
[1] pemetaan sk & kd kls vi
[1] pemetaan sk & kd kls vi[1] pemetaan sk & kd kls vi
[1] pemetaan sk & kd kls vi
 
Flag
FlagFlag
Flag
 
Out of the_blue
Out of the_blueOut of the_blue
Out of the_blue
 
56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)
56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)
56493469 ejercicios-resueltos-indicadores-demograficos (1)
 
Pivotal cloud foundry introduction
Pivotal cloud foundry introductionPivotal cloud foundry introduction
Pivotal cloud foundry introduction
 
Reliability of the Bible
Reliability of the BibleReliability of the Bible
Reliability of the Bible
 

Similar to เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiwush Pormchai
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0887946598532
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0286983445
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า0887946598532
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..Powergift_vip
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1thanawan302
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1boom500937
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2thanawan302
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าpatarapan
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าmetinee
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้าmetinee
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 

Similar to เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305 (20)

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
ไฟฟ้ากลุ..
 ไฟฟ้ากลุ.. ไฟฟ้ากลุ..
ไฟฟ้ากลุ..
 
งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1งานวิทย์ 1
งานวิทย์ 1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
งานว ทย 2
งานว ทย 2งานว ทย 2
งานว ทย 2
 
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้าประเภทพลังงานไฟฟ้า
ประเภทพลังงานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 

เรื่องเครื่องใช้ไฟฟ้า กลุ่มที่ 3 305

  • 1. กลุม ม.3/5 กลุมที่ 3 ่ ่ 1.นฤพันธ์ กันทะวัง เลขที่ 9 2.ปถากร สีทอง เลขที่ 10 3.ปั ฐพล เมืองวงศ์ เลขที่ 11 4.พาณิชญกรณ์ นาเจริ ญ เลขที่ 12
  • 3. เครื่องใช้ ไฟฟา คือ อุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานรู ปอื่น เพื่อนาไปใช้ใน ้ ชีวิตประจาวัน ได้แก่ 1. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้แสงสว่าง 2. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้ความร้อน 3. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล 4. เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานเสี ยง นอกจากนี้ยงมีเครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่สามารถเปลี่ยนเป็ นพลังงานรู ปอื่นหลายรู ปในเวลาเดียวกัน ั 16.3.1 เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ให้แสงสว่าง หลอดไฟ เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นแสงสว่างให้เราสามารถมองเห็นสิ่ ง ต่างๆ ได้ ซึ่ ง โธมัส เอดิสัน เป็ นผูประดิษฐ์หลอดไฟเป็ นครั้งแรก โดยใช้คาร์ บอนเส้น ้ เล็กๆ เป็ นไส้หลอดและได้มีการพัฒนาเรื่ อยมาเป็ นลาดับ
  • 4. ประเภทของหลอดไฟ 1. หลอดไฟฟ้ าธรรมดา มีไส้หลอดที่ทาด้วยลวดโลหะที่มีจุดหลอมเหลวสู ง เช่น ทังสเตนเส้น เล็กๆ ขดเอาไว้เหมือนขดลวดสปริ งภายในหลอดแก้วสู บอากาศออกหมดแล้วบรรจุก๊าซเฉื่ อย เช่น อาร์กอน (Ar) ไว้ ก๊าซนี้ ช่วยป้ องกันไม่ให้หลอดไฟฟ้ าดา ลักษณะของหลอดไฟเป็ นดังรู ป
  • 5. หลักการทางานของหลอดไฟฟาธรรมดา้ กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไส้หลอดซึ่ งมีความต้านทานสู ง พลังงานไฟฟ้ าจะเปลี่ยนเป็ นพลังงาน ความร้อน ทาให้ไส้หลอดร้อนจัดจนเปล่งแสงออกมาได้ การเปลี่ยนพลังงานเป็ นดังนี้ พลังงานไฟฟ้ า >>>พลังงานความร้อน >>>พลังงานแสง 2. หลอดเรื่ องแสง หรื อ หลอดฟลูออเรสเซนต์ (fluorescent) เป็ นอุปกรณ์ที่ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานแสงสว่าง ซึ่ งมีการประดิษฐ์ในปี ค.ศ. 1938 โดยมี รู ปร่ างหลายแบบ อาจทาเป็ นหลอดตรง สั้น ยาว ขดเป็ นวงกลมหรื อครึ่ งวงกลม เป็ นต้น ส่ วนประกอบของหลอดเรืองแสง ตัวหลอดมีไส้โลหะทังสเตนติดอยูที่ปลายทั้ง 2 ข้าง ของหลอดแก้ว ซึ่ งผิวภายในของหลอด ่ ฉาบด้วยสารเรื่ องแสง อากาศในหลอดแก้วถูกสู บออกจนหมดแล้วใส่ ไอปรอทไว้เล็กน้อย ดังรู ป
  • 6. อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อให้หลอดเรื องแสงทางาน 1. สตาร์ตเตอร์ (starter) ทาหน้าที่เป็ นสวิตซ์อตโนมัติในขณะหลอดเรื องแสง ยังไม่ติด ั และหยุดทางานเมื่อหลอดติดแล้ว 2. แบลลัสต์ (Ballast) ทาหน้าที่เพิ่มความต่างศักย์ เพื่อให้หลอดไฟเรื องแสงติดในตอนแรก ่ และทาหน้าที่ ควบคุมกระแสไฟฟ้ าที่ผานหลอด ให้ลดลงเมื่อหลอดติดแล้ว
  • 7. การใช้ หลอดเรื องแสงต้ องต่อวงจรเข้ ากับ สตาร์ ตเตอร์ และแบลลัสต์ แล้ วจึงต่อเข้ ากับ สายไฟฟาในบ้ าน ้
  • 8. หลักการทางานของหลอดเรืองแสง เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขึ้น ความร้อนที่เกิดทาให้ปรอทที่บรรจุไว้ ในหลอดกลายเป็ นไอมากขึ้น เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านไอปรอทได้จะคายพลังงานไฟฟ้ าให้ไอ ่ ปรอท ทาให้อะตอมของไอปรอทอยูในภาวะถูกกระตุน และอะตอมปรอทจะคายพลังงานออกมา ้ เพื่อลดระดับพลังงานของตนในรู ปของรังสี อลตราไวโอเลต เมื่อรังสี ดงกล่าวกระทบสารเรื อง ั ั แสงที่ฉาบไว้ที่ผิวในของหลอดเรื องแสงนั้นก็จะเปล่งแสงได้ โดยให้แสงสี ต่างๆ ตามชนิ ดของ สารเรื องแสงที่ฉาบไว้ภายในหลอดนั้น เช่น แคดเมียมบอเรทจะให้แสงสี ชมพู ซิ งค์ซิลิเคทให้ แสงสี เขียว แมกนีเซี ยมทังสเตนให้แสงสี ขาวอมฟ้ า และยังอาจผสมสารเหล่านี้ เพื่อให้ได้สีผสมที่ แตกต่างออกไปอีกด้วย
  • 9. ข้ อดีของหลอดเรืองแสง 1. มีประสิ ทธิ ภาพสู งกว่าหลอดไฟฟ้ าธรรมดา เสี ยค่าไฟฟ้ าเท่ากัน แต่ได้ไฟที่สว่างกว่า 2. ให้แสงที่เย็นตา กระจายไปทัวหลอด ไม่รวมเป็ นจุดเหมือนหลอดไฟฟ้ าธรรมดา ่ 3. อาจจัดสี ของแสงแปรเปลี่ยนได้ โดยการเปลี่ยนชนิดสารเรื องแสง 4. อุณหภูมิของหลอดเรื องแสงไม่สูงเท่ากับหลอดไฟธรรมดาขณะทางาน
  • 10. 3. หลอดนีออน หรื อหลอดไฟโฆษณา เป็ นอุปกรณ์ไฟฟ้ าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นแสงสว่าง มี ลักษณะเป็ นหลอดแก้วที่ถกลนไฟ ดัดเป็ นรู ปหรื ออักษรต่างๆ สู บอากาศออกเป็ นสูญญากาศ แล้ว ู ใส่ ก๊าซบางชนิ ดที่ให้แสงสี ต่างๆ ออกมาได้ เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าผ่านหลอดชนิ ดนี้ไม่มีไส้ หลอดไฟ แต่ใช้ข้ วไฟฟ้ าทาด้วยโลหะติดอยูท่ีปลายทั้ง 2 ข้าง แล้วต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้ าที่มี ั ่ ความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ซึ่ งมีความต่างศักย์ที่สูงมาก จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้ ในหลอดเกิดการแตกตัวเป็ นนีออนและนาไฟฟ้ าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้ าผ่านก๊าซเหล่านี้จะทาให้ ่ ก๊าซร้อนติดไฟให้แสงสี ตางๆ ได้ ตัวอย่างก๊าซชนิ ดต่างๆ ที่บรรจุในหลอดโฆษณา ก๊าซนีออน ให้แสงสี แดง ก๊าซฮีเลียม ให้แสงสี ชมพู ก๊าซอาร์ กอน ให้แสงสี ขาวอมน้ าเงิน และถ้าใช้ก๊าซต่างๆ ผสมกันก็จะได้สีต่างๆ ออกไป
  • 11. ข้อแนะนาการใช้หลอดไฟอย่างประหยัด 1. ใช้หลอดเรื องแสงจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดธรรมดาประมาณ 4 เท่า เมื่อใช้พลังงาน ไฟฟ้ าเท่ากัน และอายุการใช้งานจะทนกว่าประมาณ 8 เท่า 2. ใช้แสงสว่างให้เหมาะกับการใช้งาน ที่ใดต้องการแสงสว่างไม่มากนักควรติดไฟน้อยดวง 3. ทาความสะอาดโป๊ ะไฟ จะให้แสงสว่างเต็มที่ 4. ปิ ดไฟทุกครั้งที่ไม่จาเป็ นต้องใช้