SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
Physics Online IV           http://www.pec9.com              บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
             ฟ สิ ก ส บทที่ 14 แสงและทั ศ น อุ ป กรณ
 ตอนที่ 1 การเคลือนทีของแสง
                 ่ ่
    แสงเปนคลื่นตามขวางชนิดหนึ่ง แสงจะเดินทางเปน
เสนตรง ทศทางของแสงเราอาจใชเ สนตรงแทนได เรียก
         ิ                      
เสนตรงนีวา รังสีของแสง ความเร็วแสงในบรรยากาศเทา
         ้
กับ 3x108 เมตรตอวนาที แตในตัวกลางตางชนิดกัน
                   ิ
ความเร็วของแสงอาจมีคาไมเทากันได
1. กําหนดความเร็วแสงในสุญญากาศมีคาเทากับ 3x108 เมตรตอวนาที ดังนั้นในเวลา 1 ป
                                                       ิ
   แสงจะเคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร                              ( 9.46x1015 เมตร )
วธทา
 ิี ํ




2. กําหนดความเร็วแสงในสุญญากาศมีคาเทากับ 3x108 เมตรตอวนาที ดังนั้นในเวลา 1 นาที
                                                       ิ
   แสงจะเคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร                                    ( 1.8 x 1010 )
วธทา
 ิี ํ


                    ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦



 ตอนที่ 2 การสะทอนแสง
                
  2.1 กฏการสะทอนของแสง
                  
    เมื่อยิงแสงไปตกกระทบผิววัตถุใดๆ                        เสนปกติ
                                           รังสีตกกระทบ                     รังสีสะทอน
 แสงมักสะทอนออกจากวัตถุนั้นได
  กฎการสะทอน มีดังนี้                                    มุมตก มุมสะทอน
      1. รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน                           ″1 ″2
          เสนปกติอยูในระนาบเดียวกัน
      2. มุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน
                                          53
Physics Online IV                         http://www.pec9.com                           บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
 ขอควรรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสะทอนแสง                                                   แสงสะทอน
   1. ถารังสีตกกระทบตั้งฉากกับผิววัตถุ
                                                                                                   แสงตกกระทบ
      รงสสะทอนจะสะทอนยอนแนวเดมออกมาโดยตลอด
        ั ี                         ิ
   2. หากรังสีสะทอนอยางนอย 2 เสน มาตัดกัน
      จะเกิด ภาพของวัตถุตนกําเนิดแสงขึ้น ณ จดตดนน
                                               ุ ั ้ั
      ระยะจากวัตถุสูจุดสะทอน เรียก ระยะวัตถุ (S)
      ระยะจากภาพสูจุดสะทอน เรียก ระยะภาพ (Sℑ)
                  และ กําลังขยาย (m) = Sℑ
                                       S                 ∴    Yℑ
                                                              Y                      ระยะภาพ Sℑ
             เมือ Yℑ = ขนาดภาพ
                ่                                 Y = ขนาดวัตถุ                             ระยะวัตถุ   S


3. จงเตมคาลงในชองวางใหถกตอง
        ิ ํ         ู 
   ภาพของวตถตนกาเนดแสงจะเกดเมอ ................................
             ั ุ ํ ิ                    ิ ่ื
   ระยะวัตถุ (S) คอ ..............................................................
                   ื
   ระยะภาพ (Sℑ) คอ ............................................................
                     ื
   กําลังขยาย (m) หาคาไดจาก .............................................
                        

2.2 กระจก
         โดยทวไปมี 2 ชนด
             ่ั         ิ
           1. กระจกราบ
           2. กระจกโคง ไดแก โคงเวา และโคงนน
                                        ู


                                                                                           หลัง     4 นา


                   กระจกเวา
                                                    กระจกนูน                               กระจกราบ




                                                              54
Physics Online IV                  http://www.pec9.com                       บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ

 การสะทอนกระจกผิวราบ
   รังสีทสะทอนออกมาจากกระจกราบนัน
           ่ี                                ้
จะไมตดกนจงไมเ กดภาพจรงขน แตถาเรา
       ั ั ึ             ิ  ิ ้ึ    
ตอแนวรังสีถอยออกไปขางหลังกระจก จะ
พบวาเสนสมมตทตอออกไปน้ี จะไปตด
                  ิ ่ี                   ั
กนไดทจดจดหนง การตดกนของเสน
 ั  ่ี ุ ุ ่ึ              ั ั        
สมมติน้ี จะทาใหเ กดภาพหลงกระจก เรยก
               ํ        ิ     ั          ี
ภาพนีวา ภาพเสมือน
       ้
   และสําหรับกรณีน้ี S = Sℑ และ y = yℑ เสมอ
                 ดงนน
                  ั ้ั      m = Sℑ = 1
                                  S
4. ภาพทีเ่ กิดจากกระจกราบ จะเปนภาพ ............. เสมอ ขนาดภาพ กับขนาดวัตถุจะมีขนาด .............
   และ ระยะภาพ กับระยะวัตถุ จะมีคา ......... กําลังขยายจะมีคาเทากับ ...................
 กระจกโคง
                                                         จากรป จด C เรยก จดศนยกลางความโคง
                                                              ู ุ        ี ุ ู            
            R                                 R                  จด O เรยก จดใจกลางบนผวโคง
                                                                  ุ     ี ุ            ิ 
     O              C                   C            O    เสนตรง CO เรยก เสนแกนมขสาคญ
                                                                         ี       ุ ํ ั
                                                              ระยะ CO เรยก รศมความโคง (R)
                                                                            ี ั ี    
    กระจกเวา
                                            กระจกนูน
   ถาเราใหรงสทขนานกบเสนแกนมขสาคญ มาตกกระทบ
            ั ี ่ี     ั      ุ ํ ั
 กระจกเวา จะพบวา รงสสะทอนจะตดกนทจดกงกลาง
                     ั ี       ั ั ่ี ุ ่ึ
 ระหวาง C กับ O เสมอ จดตดนเ้ี รยก จดโฟกส (F)
                           ุ ั ี ุ         ั
 ระยะหางจาก O ถึง F เรยกวา ความยาวโฟกส (f)
                          ี             ั
     แตกระจกนนจะเปนกระจกกระจายแสง เมอยงแสงขนาน
                  ู                 ่ื ิ
 กบเสนแกนมขสาคญไปตกกระทบกระจกนน แสงสะทอน
    ั            ุ ํ ั             ู
 จะกระจายออก ตองลากเสนสมมตตอไปขางหลงกระจก
                             ิ   ั
 จงจะไดจดโฟกส และความยาวโฟกัส
  ึ          ุ      ั
         ที่สําคัญ f = R เสมอ
                           2
                                                    55
Physics Online IV                         http://www.pec9.com                       บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
5. จากรูป จุด C เรียก .............................
             จุด O เรียก .............................                      R                          R

      เสนตรง CO เรียก .............................
                                                                    O          C                 C         O

          ระยะ CO เรียก ………………….
                                                                    กระจกเวา
                                                                                                     กระจกนูน
6. หากเราฉายแสงที่มีรังสีขนานกับเสนแกนมุข
   สําคัญมาตกกระทบกระเวา แสงสะทอนของ
   รังสีขนานเหลานัน จะไปตัดกันทีจด..............
                              ้            ุ่
   ระยะหางจากใจกลางกระจกถึงจุด F เรียกวา
   .......................................
7. กระจกนูนเปนกระจกกระจายแสง แสงสะทอน
   ของรังสีขนานจะไมตดกัน จุดโฟกัสของกระจกนูน
                              ั
   จะเกิดจาก ............................................................
8. จุดโฟกัสจะอยูกึ่งกลางระหวางจุดใจกลางกระจก
   กับจุดศูนยกลางความโคงเสมอ ดังนัน f = ……
                                     ้
9. รังสีของแสงจากดวงอาทิตยถอเปนรังสีขนาน ดังนัน หากเรานํากระจกเวามารองรับแสง
                            ื                   ้
   อาทิตย เมือแสงสะทอนมาตัดกัน จะทําใหเกิดภาพของดวงอาทิตยทจด .................. ของ
              ่                                                ่ี ุ
   กระจกเวานั้น
10. ถาใชกระจกเวารัศมีความโคง 100 เซนติเมตร รับแสงจากดาวดวงหนึง จะไดภาพหาง
                                                                 ่
   จากกระจกเซนติเมตร
       ก. 200             ข. 100            ค. 50          ง. 25            (ขอ ค)
วธทา
 ิี ํ

11. ถากําหนดให R คือรัศมีความโคงของกระจกเวา ถาตองการใหเกิดลําแสงขนานสงออกไป
   จากกระจกเวานี้ ควรจะวางหลอดไฟฟาไวทตาแหนงใดบนเสนแกนมุขสําคัญของกระจกนี้
                                          ่ี ํ
       1. 2R            2. R             3. R  2            4. R 4            (ขอ 3)
วธทา
 ิี ํ
                                                             56
Physics Online IV           http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
 การเกิดภาพโดยกระจกโคง
      กระจกเวา




      สรุป กระจกเวาสวนมากจะสรางภาพจริงหัวกลับ ยกเวนเมือวัตถุอยูตรงจุดโฟกัส
                                                             ่      
           จะไมเกิดภาพ ถาวัตถุอยูใกลกวาจุดโฟกัส จะสรางภาพเสมือนหัวตังขนาด
                                                                          ้
           ภาพใหญกวาวัตถุ
      กระจกนูน




      สรุป กระจกนูนจะสรางแตภาพเสมือนหัวตัง ขนาดภาพเล็กกวาขนาดวัตถุ
                                           ้
           และระยะภาพสั้นกวา ระยะวัตถุเสมอ

                                          57
Physics Online IV              http://www.pec9.com                   บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
12. ใหเขียนการเกิดภาพโดยกระจกเวา และกระจกนูนตามกรณีตอไปนีใหสมบูรณ
                                                          ้
   กระจกเวา

             1.                                     4.



             2.                                     5.




              3.


          สรุป



   กระจกนูน
                                     สรุป



ชวนสังเกตุ
ถาม กระจกอะไรสรางภาพจริงได                        ถาม กระจกอะไรสรางภาพเสมือนได
   ก. เวา ข. ราบ ค. นูน        ง. ถูกทุกขอ           ก. เวา ข. ราบ ค. นูน ง. ถูกทุกขอ




   ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากการสะทอน              ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากการสะทอน
       1. หัวกลับ                                       1. หัวตั้ง
       2. เกิดหนากระจก                                 2. เกิดหลังกระจก
       3. เอาฉากมาตังรับได
                    ้                                   3. เอาฉากมารับไมได แตเห็นไดดวยตาเปลา
                                               58
Physics Online IV              http://www.pec9.com                  บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
13(มช 35) คํากลาวตอไปนีขอใดเปนจริง
                         ้
     ก. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกเวา จะเปนภาพจริงเสมอ
     ข. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกเวา จะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ
     ค. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกนูน จะเปนภาพเสมือนเสมอ
     ง. ภาพเสมือนที่เกิดจากกระจกนูน จะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ                            (ขอ ค)
                                                                                         
14. ขอใดไมถกตอง
             ู
       ก. ภาพจริงหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตัง
                                       ้              ข. ภาพจริงตองใชฉากรับ
       ค. ภาพเสมือนโตเทาวัตถุเสมอ                    ง. ภาพเสมือนไมตองใชฉากรับ
                                                                                     (ขอ ค)
                                                                                        
15. กระจกในขอใดสามารถใหภาพเสมือนที่มีขนาดใหญกวาวัตถุ
      ก. กระจกเงาราบ                      ข. กระจกนูน
      ค. กระจกเวา                        ง. ขอ ข, ค ถูก                               (ขอ ค)

16. จะตองวางวัตถุหางจากกระจกเวาอยางไร เราจึงมองเห็นภาพทีเ่ กิดจากกระจกเวาไดเลย
                        
   โดยไมตองใชฉากรับภาพ
           
      ก. วัตถุอยูหางจากกระจกนอยกวาความยาวโฟกัส
      ข. วัตถุอยูหางจากกระจกเทากับความยาวโฟกัส
      ค. วัตถุอยูระหวางศูนยกลางความโคงกับโฟกัส
      ง. วัตถุอยูที่จุดศูนยกลางความโคง                                        (ขอ ก)
                                                                                   
17. ถาวางวัตถุไวที่จุดศูนยกลางความโคงของกระจกเวา ภาพทีเ่ กิดขึนเปนอยางไร
                                                                   ้
       ก. ภาพเสมือนขนาดเทาวัตถุ                ข. ภาพจริงขนาดเทาวัตถุ
       ค. ภาพจริงขนาดเล็กกวาวัตถุ              ง. ภาพจริงขนาดโตกวาวัตถุ        (ขอ ข)
                                                                                     
18(En 43/1) ถาวางวัตถุไวหนาทัศนอุปกรณอยางงายชนิดหนึง จะไดภาพจริงหัวกลับขนาด
                                                         ่
   ขยายใหญกวาวัตถุดังรูป ทัศนอุปกรณอยางงายคือ                              (ขอ 2)
                                                                                   
                                       วั ต ถุ
                        ทั ศ น –
                        อุปกรณ
                                                        ภาพ
          1. กระจกนูน              2. กระจกเวา            3. เลนสนูน          4. เลนสเวา
                                                 59
Physics Online IV           http://www.pec9.com            บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
  สูตรที่ใชคํานวณการเกิดภาพโดยกระจกเวา และ กระจกนูน
        1 [1 Ι 1
        f S Sℵ               m = Sℵ [ Yℵ
                                   S      Y       เมือ f = ความยาวโฟกัส
                                                     ่
                                                         S = ระยะวตถุ
                                                                    ั
        m = sΚf f             f = 2R
                                                        S = ระยะภาพ
                                                         y = ขนาดวัตถุ
 เงื่อนไขการใชสมการ                                    y = ขนาดภาพ
       1) หากเปนกระจกเวา ตองใช f มีคาเปน +        m = กําลังขยาย
          หากเปนกระจกนูน ตองใช f มีคาเปน –          R = รัศมีความโคงกระจก
       2) หากภาพทีเ่ กิดเปนภาพจริง ตองใช S , y , m มีคาเปน +
          หากภาพที่เกิดเปนภาพเสมือน ตองใช S , y , m มีคาเปน –
19. วางวัตถุไวหนากระจกเวาอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพจริงขึนที่
                                                                               ้
    ระยะหางจากกระจก 10 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางกระจกกีเ่ ซนติเมตร ( 10 cm)
                                                   
วิธทา
   ี ํ




20. วางวัตถุไวหนากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพขึ้นที่ระยะ
   หางจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางกระจกกีเ่ ซนติเมตร
                                                                       ( 10 cm )
วธทา
 ิี ํ




                                          60
Physics Online IV           http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
21. วางวัตถุหนากระจกเวาเปนระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริงหนากระจกทีระยะ 15
                                                                     ่
   เซนติเมตร กระจกมีรัศมีความโคงเทาไร                                   (12 cm)
วธทา
 ิี ํ




22. วางวัตถุหนากระจกโคงความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏวาใชฉากรับภาพไดที่ระยะ
   120 เซนติเมตร หนากระจก จงหาวาวัตถุอยูหางจากกระจกเทาใด และไดขนาดภาพเปนกี่
   เทาของขนาดวัตถุ                                                  (60 cm , 2 เทา)
                                                                                  
วธทา
 ิี ํ




23. ถาจะใหเกิดภาพหลังจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศมีความโคง 60 เซนติ-
                                                           ั
   เมตร จะตองวางวัตถุหางจากกระจกนูนเทาไร
                                                                         (60 cm)
วธทา
 ิี ํ




                                          61
Physics Online IV           http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
24. วางวัตถุไวหนากระจกโคง หางกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนหางกระจก 4 เซนติ-
   เมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก                                    (–8 cm)
วธทา
 ิี ํ




25. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร อยหาง 10 เซนติเมตร จากกระจกเวาซึ่งมีรัศมีความโคง 50 เซนต-
                           ู                                                       ิ
    เมตร จงหาขนาดของภาพ                                                       ( 25 cm)
                                                                                 3
วิธทา
   ี ํ




26(มช 32) ถาวางวัตถุที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ไวหนากระจกนูนซึงมีรศมีความโคง
                                                                ่ ั
    50 เซนติเมตร โดยวางใหหางจากกระจกเปนระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสูงของ
    ภาพวามีขนาดกีเ่ ซนติเมตร                                             ( –2 cm)
วิธทา
   ี ํ




                                          62
Physics Online IV           http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
27. วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไวหนากระจกโคงเปนระยะ 5 เซนติเมตร ไดภาพเสมือน
    ขนาดสูง 3 เซนติเมตร จงหาชนิดของกระจก                 (กระจกนูน f = 7.5 cm)
วิธทา
   ี ํ




28. ทันตแพทยถอกระจกเวารัศมีความโคง 4.0 เซนติเมตร หางจากฟนทีตองการอุดเปนระยะ
                 ื                                              ่ 
    1.0 เซนติเมตร ทันตแพทยจะเห็นฟนในกระจกขยายเปนกี่เทา
       1. 2 เทา          2. 3 เทา            3. 4 เทา            4. 5 เทา (ขอ 1)
วิธทา
   ี ํ




29. กระจกเวา 2 บาน ความยาวโฟกัสแผนละ 10 Cm วางหันหนาเขาหากันหางกัน 30 Cm นํา
   วัตถุวางหางกระจกบานหนึ่งระยะ 5 Cm ตําแหนงและชนิดของภาพทีเ่ กิดจากการสะทอน
   แสงระหวางกระจกทั้งสอง ใหสะทอนจากบานใกลวัตถุกอน
วิธทา
   ี ํ                                             (ภาพจริงอยูหนากระจกบาน 2 = 13.33 cm)




                                          63
Physics Online IV           http://www.pec9.com              บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
30. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางหางจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศมีความโคง 20
                                                                      ั
    เซนติเมตร กระจกราบบานหนงวางหนหนาเขาหากระจกนน หางจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร
                              ่ึ    ั               ู
     จงหาตําแหนงของภาพซึงเกิดจากรังสีของแสง ซึ่งสะทอนที่กระจกนูนกอน จากนันสะทอน
                          ่                                                 ้
     ทีกระจกราบ
       ่                                                           (หลังกระจกราบ 26 cm)
วิธทา
   ี ํ




31. วางหลอดไฟฟาที่โฟกัสของกระจกเวา ดังรูป
     ถานํากระจกเวาอีกบานหนึ่งมารับแสงจากกระจก                 วตถุ
                                                                 ั
                                                                 F
    บานแรก ภาพของหลอดไฟฟานี้จะเกิดขึ้น ณ.
    ตําแหนงใด และเปนภาพจริงหรือภาพเสมือน
วิธทา
   ี ํ


                    ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦



 ตอนที่ 3 การหักเหของแสง
                      sin⊗ 1   v          ↵1              n
กฎของสเนลล           sin⊗ 2 = v1 =               = n21 = n2
                                2         ↵2                1
 เมอ n1 คือ ดชนหกเหตวกลางท่ี 1 เทียบกับอากาศ เรยกสนๆ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 1
   ่ื          ั ี ั ั                           ี ้ั ั ี ั        ั
      n2 คือ ดชนหกเหตวกลางท่ี 2 เทียบกับอากาศ เรยกสนๆ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 2
              ั ี ั ั                           ี ้ั ั ี ั       ั
** หมายเหตุ : 1. n21 ¬ n2 หรอ n1
                               ื
                2. nอากาศ = 1
                                          64
Physics Online IV           http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
32. แสงชนิดหนึ่งมีความยาวคลื่น 450 นาโนเมตร ความเรว 3x108 เมตร/วนาที ในอากาศ
                                                    ็                ิ
    เมื่อยิงแสงทะลุลงไปในของเหลวชนิดหนึ่ง ปรากฎวาความยาวคลื่นเปลี่ยนเปน 300 นาโน–
    เมตร ความเรวแสงในของเหลวชนดนมคาเทาใด
                  ็               ิ ้ี ี                                 (2x108 m/s)
วิธทา
   ี ํ




33. แสงสีหนึ่งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตรในอากาศ และมอตราเรว 3x108 เมตร/วนาที
                                                       ีั  ็             ิ
                       ี ั            3
    ถาดชนหกเหของแกวเทยบหบอากาศเปน 2 จงหาอตราเรวแสงในแกว
        ั ี ั                                   ั   ็               ( 2x108 m/s)
วิธทา
   ี ํ




34. จากขอทผานมา จงหาความยาวคลนของแสงในแกว
         ่ี                ่ื                                             (4x10–7m)
วิธทา
   ี ํ




35. ดชนหกเหของตวกลาง A = 3 และ ดชนหกเหของตวกลาง B = 6 จงหาดชนหกเหของ
         ั ี ั    ั             ั ี ั     ั                ั ี ั
    ตวกลาง A เทียบกับ B
       ั                                                          (0.5)
วิธทา
   ี ํ




                                          65
Physics Online IV          http://www.pec9.com              บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
36. จากขอทผานมา หากความเรวแสงในตวกลาง B มีคาเทากับ 1.2x108 เมตร/วินาที แลว
          ่ี            ็          ั
    ความเรวแสงในตวกลาง A จะมีคาเทาใด
          ็      ั                                                     (2.4x108)
วิธทา
   ี ํ




37. ถาดชนหกเหของนามคา 4 และดชนหกเหของนามน
        ั ี ั       ํ้ ี  3        ั ี ั ํ้ ั       3
                                                      2   อตราสวนระหวางอตราเรว
                                                           ั         ั     ็
    ของแสงในน้ํามันและน้ําเปนเทาใด                                       (8/9)
วิธทา
   ี ํ




38(En 41/2) แสงความยาวคลื่นในอากาศ 525 นาโนเมตร เมอเคลอนทผานไปในแกวทมดชนี
                                                        ่ื ่ื ่ี            ่ี ี ั
    หกเห 1.50 จงหาความยาวคลื่นแสงในแกว ( ให ดัชนีหักเหของแสงในอากาศ = 1 ) (350 nm)
       ั
วิธทา
   ี ํ




39. ดรรชนหกเหของแสงในตวกลางหนงมคา 1.5 ดงนนอตราเรวของแสงในตวกลางนนมคา
             ี ั            ั     ่ึ ี     ั ้ั ั ็            ั   ้ั ี 
    เทาไร (กําหนด ดชนหกเหของแสงในอากาศ = 1)
                      ั ี ั
        ก. 4.5x107 m/s ข. 1.5x108 m/s ค. 2x108 m/s   ง. 2.5x108 m/s (ขอ ค)
วิธทา
   ี ํ




                                         66
Physics Online IV              http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
40. แสงเคลอนทผานตวกลางดวยอตราเรว 2.25x108 เมตร/วนาที อยากทราบวาตัวกลางนี้มี
             ่ื ่ี  ั  ั     ็                ิ
       คาดชนหกเหเทาใด
         ั ี ั                                                        (1.33)
วิธทา
   ี ํ




41. แสงเคลอนจากของเหลวผานแทงแกวไปสอากาศ
             ่ื                 ู
    ดังรูป จงหาดรรชนหกเหของของเหลว
                    ี ั               (2)                    ของเหลว   30o
วิธทา
   ี ํ
                                                                        ×
                                                                แกว
                                                                  อากาศ




42. จากรป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผานตัวกลาง
           ู
    ที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสูตัวกลางที่ 4 โดยผานรอยตอ   C                     53o (4)
    ตวกลาง A , B , C ซึ่งขนานกัน จงหาดชนหกเห
       ั                                       ั ี ั                             (3)
                                                         B
    ของของตวกลางท่ี 1 เทียบกับตัวกลางที่ 4 ( 4 )
              ั                                      3
                                                         A                       (2)
วิธทา
   ี ํ                                                          53o
                                                                                  (1)




                      ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦

                                             67
Physics Online IV                               http://www.pec9.com                                   บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
    ตอนที่ 4 ปรากฏการณทเ่ี กียวกับแสง
                              ่
     4.1 การสะทอนกลับหมด

          อากาศ           80o                          อากาศ           90o                           อากาศ
                                                                                                               50o
                    30o                                          45o


          พลาสติก                                      พลาสติก                                       พลาสติก
      หากยิงแสงจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวา ไปสตวกลางทมความหนาแนนนอย
                                                      ู ั    ่ี ี               
กวา เชน ยิงแสงจากพลาสติกไปสูอากาศ จะเกดการหกเหซง มมหกเห จะโตกวามมตก
                                        ิ     ั ่ึ ุ ั                    ุ
กระทบเสมอ ดังรูป และสําหรับมุมตกกระทบที่ทําใหมุมหักเหเปนมุม 90o พอดี มมตก   ุ
กระทบนจะเรยก มุมวิกฤติ
         ้ี ี
      และหากมุมตกกระทบมีขนาดโตกวามุมวิกฤตินี้ จะทําใหแสงเกิดการสะทอนกลับเขามา
ภายในตัวกลางที่ 1 ทั้งหมด ไมมการหักเหออกไปอีก เราเรยกปรากฎการณนวา การสะทอน
                               ี                    ี               ้ี 
กลับหมด
43. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวาสูตัวกลางที่มีความหนาแนนนอยกวา
        มมตกกระทบกบมมหกเห มมทมขนาดโตกวา คอ ...........................
         ุ           ั ุ ั       ุ ่ี ี        ื
44. มุมวิกฤติ คอ ...............................................................................................................
               ื
45. หากมุมตกกระทบโตกวามุมวิกฤติ จะเกิดปรากฏการณ ............................................
46. ถามุมตกกระทบในของเหลวชนิดหนึ่งเทากับมุมวิกฤติ มุมของหักเหของแสงจะเปนเทาไร (90o)
47(En 37) มุมวิกฤติ δ∉Cε ของแสงที่เดินทางจากแกวซึ่งมี คาดรรชนีหกเห 1.5 ไปยังน้ําซึ่ง
                                                                 ั
    มีคาดรรชนีหกเห 1.3 มีคาเทากับเทาใด
                 ั                                                               (ขอ 3)
         1. sin–1(0.65)    2. sin–1(0.76) 3. sin–1(0.87)           4. sin–1(0.92)
วิธทา
   ี ํ




                                                                      68
Physics Online IV        http://www.pec9.com           บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
48. ผลึกใสชนิดหนึ่งมีคาดัชนีหักเห 2 และของเหลวชนดหนงมคาดชนหกเห 4 จงหามม
                                                 ิ ่ึ ี  ั ี ั 3        ุ
    วิกฤตระหวางผลึกใสและของเหลวนี้                                 (sin–1 2 )
                                                                           3
วิธทา
   ี ํ




49(En 38) มมวกฤตสาหรบสารโปรงใสชนดหนงในอากาศ มีคาเทากับ 45 องศา ความเรว
             ุ ิ ิ ํ ั                  ิ ่ึ                             ็
    แสงในสารโปรงใสนี้มีคาเทาใด ( ให ความเรวแสงในอากาศ = 3.0x108 m/s )
                                              ็
       1. 2.1x108 m/s 2. 2.4x108 m/s 3. 2.7x108 m/s 4. 3.0x108 m/s (ขอ 1)
วิธทา
   ี ํ




50. มมวกฤตสาหรบสารโปรงใสชนดหนงในอากาศมคาเทากบ 30 องศา ดชนหกเหของแสง
       ุ ิ ิ ํ ั                 ิ ่ึ         ี  ั       ั ี ั
    ในสารโปรงใสนี้มีคาเทาใด ( ให ดชนหกเหแสงในอากาศ = 1)
                                      ั ี ั                       (2)
วิธทา
   ี ํ




51(En 42/2) มมวกฤตตอแสงในของเหลวชนดหนงมคาเทากบ 60 องศา ความยาวคลื่นของ
             ุ ิ ิ                  ิ ่ึ ี   ั
    แสงนนในของเหลวจะเปนกี่เทาของความยาวคลื่นในอากาศ
         ้ั           
       1. 22         2. 23             3. 2          4. 1
                                                        2          (ขอ 2)
วิธทา
   ี ํ


                                       69
Physics Online IV              http://www.pec9.com                บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
52. แผนตัวกลางโปรงใสสามชนิด ดชนหกเห n1 , n2 และ n3 วางซอนกนดงรป ใหแสงตก
                                     ั ี ั                        ั ั ู 
    กระทบในแผนแรกทมดชนหกเห n1 แลวผานตอไปยังแผนที่สองและสามได ถาตองการให
                      ่ี ี ั ี ั                                            
    การสะทอนกลับหมดเกิดขึ้นไดเฉพาะที่ผิว CD ดังรูป เทานน ดัชนีหักเหทั้งสามคาจะมี
                                                        ้ั
       ความสัมพันธดังขอใด                (ขอ 4)
       1. n1 > n2 > n3            2. n1 < n2 < n3
       3. n1 > n2 < n3            4. n1 < n2 > n3
วิธทา
   ี ํ




   4.2 ความลึกปรากฎ                          ถาเรามองวตถทอยในนา เราจะเหนวตถนนอยตน
                                                       ั ุ ่ี ู ํ้             ็ ั ุ ้ั ู ้ื
                      ตา           กวาความเปนจรง ทั้งนี้เพราะเมื่อแสงสะทอนจากตัวปลา
                                                    ิ
                                   แลวเดนทางออกจากนามาเขาตาเราซงอยในอากาศ แสงจะ
                                          ิ                   ํ้        ่ึ ู
ลึกปรากฎ               ภาพ         เกดการหกเห แตเนืองจากวาสายตาของคนเราจะมองตรง
                                     ิ          ั          ่
                                   เสมอ เราจงมองเหนปลาอยตนกวาทเ่ี ปนจรง
                                                  ึ      ็        ู ้ื   ิ
     ลกจรง
      ึ ิ
                                          และหากเรามองวตถตรง ๆ (มองตงฉากกบผวนา)
                                                             ั ุ            ้ั      ั ิ ํ้
                       วัตถุ
                                   เราสามารถคานวณหาความลกปรากฎไดจาก
                                                     ํ                ึ        
                                 ลึกจริง = n1
                               ลึกปรากฏ    n2
           เมอ n1 คือ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 1 ที่แสงอยู
             ่ื         ั ี ั     ั
                n2 คือ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 2 ที่แสงอยู
                         ั ี ั      ั
                                           หากเรามองเอยงทามมกบผวหกเห ใชสมการ
                                                        ี ํ ุ ั ิ ั
                                                            ลึกจริง = n1 cos± 1
                                                          ลึกปรากฏ n 2 cos± 2

                                                เมอ ±1 คือ มุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1
                                                  ่ื
                                                     ±2 คือ มุมหักเหในตัวกลางที่ 2

                                             70
Physics Online IV              http://www.pec9.com                 บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
53(มช 38) วัตถุอยูในน้ํามีความลึกจริงเปน 4 เมตร เราจะมองเห็นภาพวัตถุนั้นอยูลึกกี่เมตร
    (กาหนด ดชนหกเหของนา = 4/3)
       ํ      ั ี ั          ํ้
         ก. 4               ข. 3               ค. 2.67             ง. 2                 (ขอ ข)
วิธทา
   ี ํ




54. นายเอนกยนอยบนสะพานเหนปลาตวหนงอยลก 2 เมตร ถามวาตัวจริงของปลาอยูลึกกี่เมตร
             ื ู        ็     ั ่ึ ู ึ
    (กาหนด ดชนหกเหของนา = 4/3)
       ํ    ั ี ั     ํ้                                               ( 2.67 )
วิธทา
   ี ํ




55(มช 31) นกตวหนงบนอยในอากาศสงจากผวนา 3 เมตร คนทดาอยใตนาและมองดนกตวน้ี
                   ั ่ึ ิ ู           ู   ิ ํ้             ่ี ํ ู  ํ้      ู ั
    ในแนวเสนปกตจะมองเหนนกไกลหรอใกลกวาความจรงเทาใด ในหนวยของเมตร
                    ิ       ็           ื           ิ             
    กาหนด n ของนา = 4
       ํ               ํ้  3                                                   (ขอ ข)
         ก. ใกลเขามามากกวาความจริง 1.00      ข. ไกลออกไปมากกวาความจริง 1.00
         ค. ใกลเขามากกวาความจริง 2.25        ง. ไกลออกไปมากกวาความจริง 2.25
วิธทา
   ี ํ




                                              71
Physics Online IV           http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
56. แทงแกวสี่เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มคาดชนหกเห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบวาถา
                                       ี ั ี ั
    มองผานแทงแกวนลงไปตรงๆ จะเหนตวอกษรบนกระดาษลอยสงจากกระดาษขนมาเทาไร
             ้ี            ็ ั ั              ู          ้ึ    
วิธทา
   ี ํ                                                           (2 cm)




57(มช 38) มองผานกลองจลทรรศนเ หนจดเลก ๆ บนโตะชัดเจน แตเ มอนาแผนวตถใสหนา
                     ุ            ็ ุ ็                      ่ื ํ  ั ุ
    1.00 cm มาวางทับจุดดังกลาว ตองปรบเลอนกลองใหหางโตะจากตาแหนงเดมไปเปน
                                    ั ่ื                     ํ      ิ     
    ระยะ 0.40 cm โดยที่โฟกัสของกลองจุลทรรศนยังคงเดิม ดชนหกเหของแผนวตถนเ้ี ปนเทาใด
                                                        ั ี ั         ั ุ  
       1. 1.24           2. 1.40             3. 1.66              4. 2.50     (ขอ 3)
วิธทา
   ี ํ




      4.3 มิราจ
         ในบางครงคนซงเดนทางในทะเลทราย จะ
                        ้ั   ่ึ ิ
 มองเหนตนไมเ ปนสองตนพรอมกน โดยตนไม
          ็                       ั          
 ตนหนงคอตนไมปกติ แตอกตนหนงจะเปน
   ่ึ ื                             ี  ่ึ     
 ภาพหัวกลับยอดชี้ลงใตพื้นทราย ปรากฏการณ
 นเ้ี รยก มราจ ปรากฏการณนเ้ี กดขนเนองจากพน
       ี ิ                           ิ ้ึ ่ื        ้ื
 ทรายถกแดดจดเผา ทําใหอากาศบริเวณใกลพื้น
           ู          ั
 ทรายมอณหภมสงและมความหนาแนนตา แตจด
             ีุ ู ิ ู           ี            ํ่  ุ
 ซึ่งสูงกวาพื้นทรายขึ้นมาเล็กนอย อุณหภูมิจะลดลงอยางมาก ทาใหความหนาแนนอากาศ
                                                             ํ         
 บรเิ วณนสงขน จงเกดความแตกตางของความหนาแนนของชนอากาศบรเิ วณนน
               ้ี ู ้ึ ึ ิ                              ้ั         ้ั
                                          72
Physics Online IV             http://www.pec9.com                  บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
          และเมอแสงอาทตยสะทอนออกจากยอดไม แสงบางสวนจะพงตรงเขาตา ทาใหเ หนยอด
                  ่ื      ิ                            ุ          ํ     ็
 ไมชขนบนอากาศเปนปกติ แตแสงบางสวนจะพุงลงขางลางแลวเกิดการหักเหตามชั้นอากาศ
      ้ี ้ึ            
 ซงมความหนาแนนตางกนอยแลวยอนขนมาเขาตา และเมื่อสายตามองตรงลงไป จะทาใหเ หน
   ่ึ ี                 ั ู   ้ึ                                    ํ   ็
 ยอดไมชี้ลงไปใตพื้นทราย
          นอกจากตวอยางนแลว ยงมปรากฏการมราจใหเ หนไดอก เชน การเหนนาปรากฏบน
                     ั  ้ี  ั ี       ิ        ็ ี           ็ ํ้
พนผวถนนทรอนทงๆ ทถนนแหง หรอ เหนเรอลอยควาอยในอากาศเหนอทองทะเลเปนตน
 ้ื ิ          ่ ี  ้ ั ่ี      ื ็ ื        ํ่ ู         ื           
58. จงวาดภาพเพออธบายปรากฏการณมราจทเ่ี กดกบเรอลอยลาอยกลางทองทะเล
              ่ื ิ            ิ       ิ ั ื     ํ ู    




    4.4 การกระจายของแสง
    แสงขาวของดวงอาทตยนน จริง ๆ แลว
                    ิ  ้ั
ประกอบดวยแสงสีตาง ๆ 7 สี คือ มวง
                                
คราม นาเงน เขียว เหลือง แสด และ แดง
        ํ้ ิ
เมอใหแสงขาวเดนทางผานปรซม สีแตละสี
  ่ื          ิ          ิ ึ
จะเกดการหกเหไดไมเ ทากน
     ิ       ั     ั
          สีแดง มีความยาวคลื่นมากที่สุดจะเกิดการหักเหนอยที่สุด
          สีมวง มีความยาวคลื่นนอยที่สุดจะเกิดการหักเหมากที่สุด
   สวนสีอื่น ๆ ซึ่งมีความยาวคลื่นไมเทากัน กจะเกดการหกเหไดไมเ ทากนดวย ลักษณะนี้จะ
                                               ็ ิ     ั          ั 
ทําใหแสงแตละสีเกิดการแยกออกจากกัน เรยกปรากฎการณนวา การกระจายของแสง
                                             ี            ้ี 

59. ทําไมเมื่อใหแสงสีขาวเชนแสงอาทิตยผานปริซึมแสงสีขาวนั้นถูกกระจายออกเปนสีตาง ๆ กนั
       ก. เพราะแสงเดนเปนแสงตรง
                      ิ 
       ข. เพราะสีภายในวัตถุที่ใชทําปริซึม
       ค. เพราะแสงถูกปริซึมดูดคลื่นและปลอยออกมาบางสวน
       ง. เพราะแสงแตละสีหักเหไมเทากัน                                            (ขอ ง)
                                            73
Physics Online IV                 http://www.pec9.com                      บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
60. เมื่อแสงสีขาวผานปริซึมแสงสีใดมีการเบี่ยงเบนไดมากที่สุด
        ก. สีน้ําเงิน    ข. สีเหลือง         ค. สีมวง                     ง. สีแดง            (ขอ ค)
61. มุมเบี่ยงเบนของแสงสีใดมีคานอยที่สุด
      ก. สีแดง             ข. สีมวง                       ค. สีน้ําเงิน         ง. สีเขียว    (ขอ ก)
62. ปรากฎการณใดไมสามารถเกิดขึ้นไดกับแสงสีเดี่ยว                                             (ขอ ง)
      ก. การหกเห
             ั          ข. การเลยวเบน
                                   ้ี            ค. การแทรกสอด                        ง. การกระจาย
    4.5 รุงกินน้า
               ํ
       รงกนนามกจะเกดหลงฝนตก และเกิดใน
        ุ ิ ํ้ ั     ิ ั
ทิศซึ่งตรงกันขามกับพระอาทิตย ทงนเ้ี พราะ
                                 ้ั
หลังฝนตกในอากาศจะมีละอองน้ําอยูมาก เมอ   ่ื
แสงตกกระทบเขาไปในละอองน้ํานี้ จะเกิดการ
สะทอนกลับหมด และหักเหออกมา ทําใหสี
ทั้ง 7 สี ของแสงขาวเกดการกระจายออกจากน
                       ิ                ั

      รงกนนามี 2 ชนด คือ
       ุ ิ ํ้         ิ
      1) รงทตยภมิ
           ุ ุ ิ ู
          รงแบบนจะเกดดานบน
             ุ     ้ี ิ 
          จริงๆ แลว แสงสีแดงจะหักเหอยูดานบนสีมวง
          แตสีที่มาเขาตาเรากลับเปนสีมวงอยูบนสีแดง ?
      2) รงปฐมภมิ
          ุ    ู
         รงแบบนจะเกดดานลาง
             ุ   ้ี ิ  
          จริงๆ แลว แสงสีมวงจะหักเหอยูดานบนสีแดง
          แตสีที่มาเขาตาเรากลับเปนสีแดงอยูบนสีมวง ?


   ปกติแลว มกจะเกดรงทงสองชนดซอนกนอยใน
             ั    ิ ุ ้ั   ิ  ั ู
เวลาเดยวกน
      ี ั


                                                  74
Physics Online IV                         http://www.pec9.com                             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
   ตอนที่ 5 เลนส
         เลนสมีอยู 2 ชนด คือ เลนสนูน และ เลนสเ วา
                         ิ                          
                              R                                                   R

                                                  C/
                                                                                                      C/
                       C            O
                                                                           C            O

                             จด C , Cℵ = จุดศูนยกลางความโคงของเลนส
                              ุ
                                    จด O = จุดกลางเลนส
                                     ุ
                      ระยะจาก O ถึง C = รศมความโคง (R)
                                                  ั ี       
      ถาเราใหรังสีที่ขนานกับเสนแกนมุขสําคัญ มา
  ตกกระทบเลนสนูน จะพบวา แสงหกเหไปตดกน     ั         ั ั
  ที่จุดกึ่งกลางระหวาง C กับ O ฝงตรงขามเสมอ
                                              
  จุดตัดนีเ้ รียก จดโฟกส (F)
                    ุ      ั
      ระยะหางจาก O ถึง F เรยกวา ความยาวโฟกัส (f )
                                   ี 
      แตเ ลนสเ วา จะเปนเลนสกระจายแสง เมอยง
                                                      ่ื ิ
  แสงขนานกับเสนแกนมุขสําคัญไปตกกระทบเลนส
  เวา แสงหกเหจะกระจายออก ตองลากเสนสมมุติ
                ั
  ยอนถอยออกมา จงจะไดจดโฟกส และ ความยาว
                         ึ      ุ        ั
  โฟกัส
      ที่สําคัญ            f = R 2            เสมอ

63.                           R                                                   R

                                                  C/
                                                                                                      C/
                       C            O
                                                                           C            O

      จากรป
          ู            จด C , Cℵ เรียก ..................................
                        ุ
                          จด O เรียก ..................................
                           ุ
                 ระยะจาก O ถึง C เรียก ..................................
64. จดโฟกสของเลนสนน คือ ....................................................................................................
     ุ   ั        ู
65. จดโฟกสของเลนสเ วา คือ ....................................................................................................
     ุ   ั           
                                                              75
Physics Online IV          http://www.pec9.com          บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
   การเกิดภาพโดยเลนสบาง
      เลนสนน
            ู




      สรุป เลนสนูน สวนมากจะสรางภาพจริงหัวกลับ ยกเวนเมอวตถอยตรงจดโฟกส
                                                        ่ื ั ุ ู ุ     ั
           จะไมเกิดภาพ ถาวัตถุอยูใกลกวาจุดโฟกัส จะสรางภาพเสมอนหวตง
                                                                 ื ั ้ั
           ขนาดภาพใหญกวาวตถุ
                          ั


      เลนสเวา




      สรุป เลนสเ วา จะสรางแต ภาพเสมอนหวตงขนาดภาพเลกกวาขนาดวตถุ
                                   ื ั ้ั         ็       ั
           และ ระยะภาพสั้นกวา ระยะวัตถุเสมอ


                                         76
Physics Online IV             http://www.pec9.com               บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
66. จงเขยนการเกดภาพโดยเลนสเ วา และ เลนสนูน ตามกรณตอไปนใหสมบรณ
        ี      ิ                                  ี   ้ี  ู
      เลนสนน
            ู

          1.                                        4.



          2.                                        5.




           3.

          สรุป



      เลนสเวา

                                          สรุป



 ชวนสังเกตุ




   ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากการหักเห       ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากการสะทอน
       1. หัวกลับ                                 1. หัวตั้ง
       2. เกิดหลังเลนส                           2. เกิดหนาเลนส
       3. เอาฉากมาตังรับได
                     ้                            3. เอาฉากมารับไมได แตเห็นไดดวยตาเปลา
                                            77
Physics Online IV           http://www.pec9.com               บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
68. ลําแสงสีเดียวสองผานเลนส 2 อัน และรงสเี ดนทางดงรป
                                           ั ิ      ั ู
   เลนส I และเลนส II เปนเลนสอะไร
                                  
       ก. เปนเลนสนนทงคู
                    ู ้ั
       ข. I เปนเลนสนน II เปนเลนสเ วา
                       ู                                   I        II
       ค. I เปนเลนสเ วา II เปนเลนสนน
                                   ู
       ง. เปนเลนสเ วาทงคู
                      ้ั                                                         (ขอ ข)
69. รงสของแสงเบนเขาหากนทจด A ถานําเลนสไปวางไว
       ั ี             ั ่ี ุ
   ทจด B รงสของแสงนจะเบนไปพบกนทจด C
     ่ี ุ     ั ี        ้ี         ั ่ี ุ                B            A       C
   เลนสที่นําไปวางเปนเลนสชนิดใด อธิบาย

70. ภาพทเ่ี กดจากเลนสนนจะมขนาดเทาวตถเุ มอ
             ิ           ู     ี      ั ่ื
      ก. วางวัตถุไวที่จุดศูนยกลางความโคง  ข. วางวตถไวทจดโฟกส
                                                     ั ุ  ่ี ุ     ั
      ค. วางวัตถุไวชิดขอบเลนส              ง. วางวัตถุไวที่ระยะไกลมาก ๆ         (ขอ ก)

71. ถาวตถเุ คลอนทจาก 2F ไป F ทางดาน A เมอ F ในรปเปนจดโฟกสของเลนส ภาพที่
       ั     ่ื ่ี                         ่ื      ู  ุ   ั
   เกดขนบนดาน R จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด (ขอ ข)
     ิ ้ึ                                                         A
       ก. 2F ไป F             ข. 2F ไประยะอนนต ั
                                                     2F   F        2F
       ค. F ไป 2F             ง. F ไปเลนส                    F



72(มช 31) เมอตองการดของทมขนาดเลก เรามักจะใช “แวนขยาย” ซึ่งทําดวยเลนสนูน
                 ่ื         ู  ่ี ี       ็                    
   เพราะภาพทเ่ี กดจาก การวางวตถไวหนาเลนสนนนน
                      ิ            ั ุ            ู ้ั
      ก. มขนาดใหญกวาวตถเุ สมอ
           ี                ั
      ข. เปนภาพเสมอนเสมอ
                          ื
      ค. เปนภาพจริงหรือ ภาพเสมอนและมขนาดใหญกวาวตถเุ สมอ
                                      ื       ี               ั
      ง. เปนภาพเสมอน ขนาดใหญกวาวตถทระยะวตถชวงหนง
                       ื                 ั ุ ่ี        ั ุ    ่ึ (ขอ ง)
73(มช 35) ถาให o เปนจุดกึ่งกลางความหนาของเลนส c เปนจดศนยกลางของผวโคง
                                                       ุ ู        ิ 
   F เปนจดโฟกส U เปนวตถุ และ I เปนภาพ อยากทราบวาการเกดภาพจากเลนส
        ุ      ั        ั                               ิ
   ในรูปขางลางนี้ รปไหนถูก
                     ู                                               (ขอ ข)
                                          78
Physics Online IV            http://www.pec9.com              บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ




 สูตรที่ใชคํานวณการเกิดภาพโดยเลนสเวา และ เลนสนน
                                                  ู
      1 [1 Ι 1                                      เมือ
                                                       ่     f = ความยาวโฟกัส
      f s sℵ
                                                            s = ระยะวัตถุ
       m = ssℑ ∴ yℑ
                 y                                         sℑ = ระยะภาพ
       m = sff                                              y = ระยะวัตถุ
             -
                                                           yℑ = ระยะภาพ
       f = R
           2                                               m = กําลังขยาย
                                                            R = รัศมีความโคง
 เงื่อนไขการใชสมการ
       1) หากเปนเลนสนน ตองใช f มีคาเปน +
                          ู             
          หากเปนเลนสเวา ตองใช f มีคาเปน –
                                          
       2) หากภาพทีเ่ กิดเปนภาพจริง
                ตองใช sℑ , yℑ , m มีคาเปน +
                                            
       3) หากภาพทเ่ี กดเปนภาพเสมอน
                       ิ           ื
                ตองใช sℑ , yℑ , m มีคาเปน –

74. วางวัตถุไวหนาเลนสนนอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพจริงขึนที่
                         ู                                                   ้
    ระยะหางจากเลนส 10 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางเลนสกเ่ี ซนติเมตร
                                                                         ( 10 cm )
วิธทา
   ี ํ




                                           79
Physics Online IV           http://www.pec9.com             บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
75. วางวัตถุไวหนาเลนสเวาอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพขึนทีระยะ
                                                                            ้ ่
    หางจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางเลนสเวากีเ่ ซนติเมตร
                                                                         ( 10 cm )
วิธทา
   ี ํ




76. วางวัตถุหางเลนสนน 12 cm ทางยาวโฟกัสเลนสนูน 18 cm จงหาตาแหนงและชนด
                    ู                                          ํ           ิ
    ของภาพทเ่ี กดิ                                  (ภาพเสมือนหางเลนส 36 cm)
วิธทา
   ี ํ




77(มช 45) วตถสง 9.0 เซนติเมตร อยหางจากเลนสเ วา 27.0 เซนติเมตร ถาเลนสมความยาว
            ั ุ ู               ู                                    ี
    โฟกัส 18.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมความสงกเ่ี ซนตเิ มตร
                                     ี    ู                               (–3.6 cm)
วิธทา
   ี ํ




78. วางวัตถุหางจากเลนส A เปนระยะทาง 15 เซนติเมตร ไดภาพเสมือนขนาดใหญกวาวัตถุ
             
    4 เทา เลนส A ควรจะเปนเลนสชนิดใด มีความยาวโฟกัสเทาไร ( เลนสนูน f = 20 cm )
วิธทา
   ี ํ



                                          80
Physics Online IV            http://www.pec9.com            บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
79. เลนสอนหนงใหภาพเสมอนขนาด 3/4 เทาของวัตถุในขณะทีวตถุอยูหนาเลนส 10 cm.
            ั ่ึ        ื                         ่ั    
    จงหาวาเลนสนเ้ี ปนเลนสชนดใด มีความยาวโฟกัสเทาไร
                       ิ                                ( เลนสเวา f = 30 cm )
วิธทา
   ี ํ




80. จากรป จงหาตําแหนงภาพ ถาความยาวโฟกัสเลนสนน = 30 cm. ของเลนสเวา 50 cm.
        ู                                      ู
            20 cm.              40 cm.




วิธีทํา                                                            (33 cm ทางซายเลนสเวา)




81(En 29) วัตถุอยูทางดานซายมือของเลนสนน
                                            ู
                                                    วัตถุ
   (ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) ระยะทาง 10
   เซนติเมตร และมีเลนสเวา (ความยาวโฟกัส 10
   เซนติเมตร) ทางดานขวามอของเลนสนนนน
                            ื         ู ้ั                10cm       5cm

   ระยะทาง 5 เซนติเมตร ภาพทีเ่ กิดเปนดังดานขาง
                                           81
Physics Online IV            http://www.pec9.com               บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
         ก. ภาพเสมอนอยทางดานซายมอของเลนสเ วาเปนระยะทาง 3.33 เซนติเมตร
                   ื      ู   ื                 
         ข. ภาพจริงอยูทางดานขวามือของเลนสเวาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร
                      
         ค. ภาพเสมือนอยูทางดานขวามือของเลนสเวาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร
                        
         ง. ภาพจรงอยทางดานซายมอของเลนสเ วาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร
                 ิ ู   ื                                             (ขอ ข)
วิธทา
   ี ํ




       โดยทัวไปแลว สายตาของคนปกตินนจะมองเห็นวัตถุไดชดเจนทีสดเมือวัตถุอยูในระยะใกล
                  ่                                       ้ั         ั   ่ ุ ่       
ทสดคอ 25 เซนติเมตร และไกลทีสดคือทีระยะอนันต ( Infinite ) จากตา
   ่ี ุ ื                                             ่ ุ      ่
       แตสาหรบคนสายตายาว หากวตถอยทระยะ 25 เซนติเมตร เขาจะเหน ไมชด ( แตอาจมอง
             ํ ั                                    ั ุ ู ่ี               ็     ั   
เหนชดทระยะไกลกวาน้ี เชน เห็นชัดเมือวัตถุอยูหาง 1 เมตร เปนตน ) ดงนนตองใชแวนตา
      ็ ั ่ี                                                ่             ั ้ั   
เลนสนน เพือนําวัตถุซงอยูทระยะ 25
                ู           ่           ่ึ  ่ี
เซนตเิ มตรนน ไปสรางเปนภาพเสมอน
                    ้ั                                ื
ตรงจุดใกลทสดทีเ่ ขามองเห็นไดชด
                         ่ี ุ                      ั
       และสําหรับคนสายตาสัน หากวัตถุ      ้
อยูไกลๆ เขาจะเห็นไดไมชด ( แตหาก        ั
วัตถุอยูใกลๆ เชน 5 เมตร อาจเหนชด )
                                               ็ ั
ดังนันตองใชแวนตาเลนสเวา เพอนา
          ้                                      ่ื ํ
วตถทอยไกลๆ นัน มาสรางเปนภาพ
  ั ุ ่ี ู                     ้
เสมอนตรงจดไกลสดทเ่ี ขา ยังสามารถ
        ื              ุ          ุ
เหนไดชดเจน ดงแสดงในรป
     ็  ั                    ั               ู

                                           82
Physics Online IV            http://www.pec9.com               บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
82(En 36) เลนสแวนตาสําหรับคนตายาวทําหนาทีตอผูใสแวนนันอยางไร
                                                ่             ้
       1. ยายวตถทระยะ 25 cm จากตาไปไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด
              ั ุ ่ี                       ่ี           ุ ่ี      ็ ั
       2. ยายวัตถุทระยะ 25 cm จากตาไปไวทอนันต
                       ่ี                    ่ี
       3. ยายวตถทระยะอนนตมาไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด
             ั ุ ่ี        ั   ่ี         ุ ่ี               ็ ั
       4. ยายวัตถุทระยะอนันตมาไวทระยะไกลสุดทีตาเปลามองเห็นชัด
                    ่ี              ่ี             ่                        (ขอ 1)
ตอบ
83(มช 34) ชายผูหนึงสามารถอานหนังสือไดชดเมือหนังสืออยูหางจากเขาไมนอยกวา
                  ่                      ั ่                        
    90 เซนติเมตร ดังนันเขาจะตองสวมแวนตาความยาวโฟกัสกี่ cm
                          ้
       ก. 15                  ข. 20                  ค. 35            ง. 40 (ขอ ค)
วิธทา
   ี ํ




84. เลนสแวนตาสําหรับคนตาสันทําหนาทีตอผูใสแวนนันอยางไร
                                ้        ่              ้
         1. ยายวตถทระยะ 25 cm จากตาไปไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด
                ั ุ ่ี                        ่ี           ุ ่ี    ็ ั
         2. ยายวัตถุทระยะ 25 cm จากตาไปไวทอนันต
                         ่ี                     ่ี
         3. ยายวตถทระยะอนนตมาไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด
               ั ุ ่ี       ั   ่ี           ุ ่ี             ็ ั
         4. ยายวัตถุทระยะอนันตมาไวทระยะไกลสุดทีตาเปลามองเห็นชัด
                      ่ี              ่ี              ่                           (ขอ 4 )
ตอบ
85. ชายสายตาสันผูหนึงสามารถมองเห็นไดชดเจนในระยะไกลสุดเพียง 5 เมตร เทานน
                   ้  ่                   ั                                  ้ั
  ดังนันเขาจะตองสวมแวนตาความยาวโฟกัสกี่ cm
       ้
         ก. 150                ข. 200                   ค. 400         ง. 500 (ขอ ง )
วิธทา
   ี ํ



                                           83
Physics Online IV                           http://www.pec9.com                               บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
   ตอนที่ 6 ทศนอปกรณ
             ั ุ
    6.1 เครื่องฉายภาพนิ่ง
       หลักการทํางานของเครืองฉายภาพนิง เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้
                           ่         ่              ่




        เนืองจากภาพทีเ่ กิดบนฉาก จะเปนภาพจริงหัวกลับ ดงนนเวลาใสฟลมจงตองกลบหว
           ่                                           ั ้ั       ึ  ั ั
    ฟลมลงเสมอ
86. เหตุใดเวลาใสฟลมเครืองฉายภาพนิงตองกลับหัวฟลมเสมอ ................................................
                   ่            ่              
    6.2 กลองถายรูป
       หลักการทํางานของกลองถายรูป เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้
                                                 ่

         นอกจากนีในกลองถายรูปจะมี
                     ้
         อุปกรณเสริมดังนี้
            วงแหวนปรับความชัด ใชปรับ
               เลอนเลนสเ พอปรบความ
                  ่ื         ่ื ั
               คมชัดของภาพ
            ไดอะแฟรม เปนชองกลมปรับ
               ยอขยายขนาดได เพือปรับแตงปริมาณแสงใหเขามากนอยตามความพอดี
                                  ่
            ชัตเตอร เปนแผนทึบแสงคอบกันแสงและปดเปดเมือตองการถายรูป
                                         ้                 ่
                     หากปริมาณแสงมีมาก ตองปรบความเรวชตเตอรใหปดเปดอยางรวดเรว
                                         ั          ็ ั                     ็
                     หากปริมาณแสงมีนอย ตองปรับความเร็วชัตเตอรใหปดเปดอยางชาๆ
                                                                  
87. ภาพทีเ่ กิดบนฟลมถายรูปจะเปนภาพ .............................................
                    
88. จงบอกประโยชนของ วงแหวนปรบความชด .....................................................................
                                                 ั             ั
   ไดอะแฟรม .......................................................ชัตเตอร ..........................................................
                                                                 84
Physics Online IV                   http://www.pec9.com                       บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ

   6.3 กลองจุลทรรศน
      หลกการทางานของกลองจลทรรศน เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้
         ั      ํ      ุ                     ่




       ภาพแรกทีเ่ กิดในกลองจุลทรรศนจะเปนภาพจริงหัวกลับ สวนภาพทเ่ี กดทเ่ี รามองเหน
                                                                     ิ            ็
   จะเปนภาพเสมือนของภาพแรกนัน ภาพทีเ่ รามองเห็นจึงเปนภาพหัวกลับเมือเทียบกับวัตถุ
                                  ้                                     ่
   เรมตน และภาพสุดทายนีควรเกิดหางจากตาไมนอยกวา 25 Cm เพอใหมองสบายตา
     ่ิ                    ้                                 ่ื 
89. ภาพทีเ่ กิดในกลองจุลทรรศนจะเปนภาพ ..........................................
90. ภาพทีมองเห็นจากกลองจุลทรรศนจะเปนภาพ ............... ของภาพทเ่ี กดตอนแรก
         ่                                                             ิ
   6.4 กลองโทรทัศน
      หลักการทํางานของกลองโทรทัศน เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้
                                                 ่




     ภาพทีเ่ กิดจากเลนสใกลวตถุจะเปนภาพจริงหัวกลับเกิดทีจดโฟกัสของเลนสใกลวตถุนน
                               ั                               ุ่                   ั ้ั
และเมอใหภาพนอยใกลจดโฟกสเลนสใกลตา จะเกิดภาพเสมือนของภาพแรกนี้ แลวเราจะมอง
      ่ื         ้ี ู  ุ      ั                                              
ดูภาพเสมือนทีเ่ กิดนี้ ดังนันภาพทีเ่ ห็นจึงเปนภาพหัวกลับเมือเทียบกับวัตถุเริมตน
                            ้                               ่                ่
                                                      85
Physics Online IV                      http://www.pec9.com                          บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ
     ความยาวของกลองโทรทัศนจะมีคาประมาณ ความยาวโฟกัสของเลนสทงสองรวมกัน
                                                             ้ั
     ปจจบนเราสามารถทาใหภาพเสมอนทมองเหนเปนภาพหวตง โดยไสเลนสนนตัวที่ 3
       ุ ั          ํ         ื ่ี    ็       ั ้ั            ู
 แทรกไวระหวางเลนสใกลวตถกบเลนสใกลตาดงรป
                 ั ุั          ั ู




      เนืองจากกลองโทรทัศนจะมีขนาดทียาวมาก
         ่                           ่
 แตหากเราใชปริซมเขาชวยจะสามารถลดความยาว
                 ึ
 ของกลองไดดงรป วิธการเชนนีจะใชกบกลองสอง
         ั ู        ี       ้    ั
 ทางไกล
91. เลนสไกลวตถุของกลองโทรทรรศนทาหนาที่ .....................................................................
              ั                    ํ
92. เลนสใกลตาจะสรางภาพ..............ของภาพทเ่ี กดตอนแรก
                                                   ิ
93. ความยาวกลองจลทรรศน จะเทากบ................. ................. ................. ................. ..............
              ุ             ั
94. เลนสตวท่ี 3 ทีใสแทรกเขาไปในกลองโทรทรรศน ทําหนาที่ ...........................................
        ั        ่
95. ปรซมทใสแทรกเขาไปในกลองโทรทรรศน ทําหนาที่ ........................................................
      ิ ึ ่ี          
                            ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦




  ตอนที่ 7 ความสวาง
    ความสวางบนพืนผิวใด ๆ สามารถคํานวณหาคาได จากสมการ
                 ้
                   E= A F        หรือ         E = I2
                                                  R
      เมอ E คือ ความสวาง (ลูเมน/m
        ่ื                           2 . Lux)
            F คือ อัตราการใหพลังงานแสง หรือ ฟลักซสองสวาง (ลูเมน)
                         [ ปริ ม าณพลั ง งานแสงที่ ส อ งออกมาจากแหล ง กํา เนิ ด ต อ หนึ่ ง หน ว ยเวลา ]
                A คือ พื้นที่รับแสง (m2)
                                                          86
P14
P14
P14
P14
P14
P14
P14
P14

More Related Content

What's hot

การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2Wichai Likitponrak
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมChakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าChakkrawut Mueangkhon
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงพัน พัน
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196CUPress
 

What's hot (16)

การสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสงการสะท้อนและการหักเหของแสง
การสะท้อนและการหักเหของแสง
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
Electron microscope
Electron microscopeElectron microscope
Electron microscope
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2บทที่ 2 แสง ม.2
บทที่ 2 แสง ม.2
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
ฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอมฟิสิกส์อะตอม
ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
P13
P13P13
P13
 
9789740330196
97897403301969789740330196
9789740330196
 
P01
P01P01
P01
 

Similar to P14

เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสงthanakit553
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"kasidid20309
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้องKru_sawang
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอมthanakit553
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงnang_phy29
 
01. คำอธิบายรายวิชา.docx
01. คำอธิบายรายวิชา.docx01. คำอธิบายรายวิชา.docx
01. คำอธิบายรายวิชา.docxTheerayutDuangmala
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกลKruanek007
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 

Similar to P14 (20)

นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56นำเสนอแสงปี56
นำเสนอแสงปี56
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
เรื่องที่ 13 แสง
เรื่องที่ 13  แสงเรื่องที่ 13  แสง
เรื่องที่ 13 แสง
 
13.แสง
13.แสง13.แสง
13.แสง
 
Lesson13
Lesson13Lesson13
Lesson13
 
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
ชีววิทยา เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ " Microscope"
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
 
P19
P19P19
P19
 
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่ 19  ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
 
1
 1  1
1
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสงดงมะไฟพิทยาคม แสง
ดงมะไฟพิทยาคม แสง
 
01. คำอธิบายรายวิชา.docx
01. คำอธิบายรายวิชา.docx01. คำอธิบายรายวิชา.docx
01. คำอธิบายรายวิชา.docx
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
P11
P11P11
P11
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
11.คลื่นกล
11.คลื่นกล11.คลื่นกล
11.คลื่นกล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 

More from วิทวัฒน์ สีลาด (15)

P20
P20P20
P20
 
P18
P18P18
P18
 
P17
P17P17
P17
 
P16
P16P16
P16
 
P15
P15P15
P15
 
P12
P12P12
P12
 
P10
P10P10
P10
 
P09
P09P09
P09
 
P08
P08P08
P08
 
P07
P07P07
P07
 
P06
P06P06
P06
 
P05
P05P05
P05
 
P04
P04P04
P04
 
P03
P03P03
P03
 
P02
P02P02
P02
 

P14

  • 1. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ ฟ สิ ก ส บทที่ 14 แสงและทั ศ น อุ ป กรณ ตอนที่ 1 การเคลือนทีของแสง ่ ่ แสงเปนคลื่นตามขวางชนิดหนึ่ง แสงจะเดินทางเปน เสนตรง ทศทางของแสงเราอาจใชเ สนตรงแทนได เรียก  ิ  เสนตรงนีวา รังสีของแสง ความเร็วแสงในบรรยากาศเทา ้ กับ 3x108 เมตรตอวนาที แตในตัวกลางตางชนิดกัน  ิ ความเร็วของแสงอาจมีคาไมเทากันได 1. กําหนดความเร็วแสงในสุญญากาศมีคาเทากับ 3x108 เมตรตอวนาที ดังนั้นในเวลา 1 ป  ิ แสงจะเคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร ( 9.46x1015 เมตร ) วธทา ิี ํ 2. กําหนดความเร็วแสงในสุญญากาศมีคาเทากับ 3x108 เมตรตอวนาที ดังนั้นในเวลา 1 นาที  ิ แสงจะเคลื่อนที่ไดระยะทางกี่เมตร ( 1.8 x 1010 ) วธทา ิี ํ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 2 การสะทอนแสง  2.1 กฏการสะทอนของแสง  เมื่อยิงแสงไปตกกระทบผิววัตถุใดๆ เสนปกติ รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน แสงมักสะทอนออกจากวัตถุนั้นได กฎการสะทอน มีดังนี้ มุมตก มุมสะทอน 1. รังสีตกกระทบ รังสีสะทอน ″1 ″2 เสนปกติอยูในระนาบเดียวกัน 2. มุมตกกระทบเทากับมุมสะทอน 53
  • 2. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ ขอควรรูเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสะทอนแสง แสงสะทอน 1. ถารังสีตกกระทบตั้งฉากกับผิววัตถุ แสงตกกระทบ รงสสะทอนจะสะทอนยอนแนวเดมออกมาโดยตลอด ั ี    ิ 2. หากรังสีสะทอนอยางนอย 2 เสน มาตัดกัน จะเกิด ภาพของวัตถุตนกําเนิดแสงขึ้น ณ จดตดนน ุ ั ้ั ระยะจากวัตถุสูจุดสะทอน เรียก ระยะวัตถุ (S) ระยะจากภาพสูจุดสะทอน เรียก ระยะภาพ (Sℑ) และ กําลังขยาย (m) = Sℑ S ∴ Yℑ Y ระยะภาพ Sℑ เมือ Yℑ = ขนาดภาพ ่ Y = ขนาดวัตถุ ระยะวัตถุ S 3. จงเตมคาลงในชองวางใหถกตอง ิ ํ   ู  ภาพของวตถตนกาเนดแสงจะเกดเมอ ................................ ั ุ ํ ิ ิ ่ื ระยะวัตถุ (S) คอ .............................................................. ื ระยะภาพ (Sℑ) คอ ............................................................ ื กําลังขยาย (m) หาคาไดจาก .............................................   2.2 กระจก โดยทวไปมี 2 ชนด ่ั ิ 1. กระจกราบ 2. กระจกโคง ไดแก โคงเวา และโคงนน     ู หลัง 4 นา กระจกเวา  กระจกนูน กระจกราบ 54
  • 3. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ การสะทอนกระจกผิวราบ รังสีทสะทอนออกมาจากกระจกราบนัน ่ี ้ จะไมตดกนจงไมเ กดภาพจรงขน แตถาเรา ั ั ึ ิ ิ ้ึ  ตอแนวรังสีถอยออกไปขางหลังกระจก จะ พบวาเสนสมมตทตอออกไปน้ี จะไปตด  ิ ่ี  ั กนไดทจดจดหนง การตดกนของเสน ั  ่ี ุ ุ ่ึ ั ั  สมมติน้ี จะทาใหเ กดภาพหลงกระจก เรยก ํ ิ ั ี ภาพนีวา ภาพเสมือน ้ และสําหรับกรณีน้ี S = Sℑ และ y = yℑ เสมอ ดงนน ั ้ั m = Sℑ = 1 S 4. ภาพทีเ่ กิดจากกระจกราบ จะเปนภาพ ............. เสมอ ขนาดภาพ กับขนาดวัตถุจะมีขนาด ............. และ ระยะภาพ กับระยะวัตถุ จะมีคา ......... กําลังขยายจะมีคาเทากับ ................... กระจกโคง จากรป จด C เรยก จดศนยกลางความโคง ู ุ ี ุ ู   R R จด O เรยก จดใจกลางบนผวโคง ุ ี ุ ิ  O C C O เสนตรง CO เรยก เสนแกนมขสาคญ  ี  ุ ํ ั ระยะ CO เรยก รศมความโคง (R) ี ั ี  กระจกเวา  กระจกนูน ถาเราใหรงสทขนานกบเสนแกนมขสาคญ มาตกกระทบ   ั ี ่ี ั  ุ ํ ั กระจกเวา จะพบวา รงสสะทอนจะตดกนทจดกงกลาง   ั ี  ั ั ่ี ุ ่ึ ระหวาง C กับ O เสมอ จดตดนเ้ี รยก จดโฟกส (F)  ุ ั ี ุ ั ระยะหางจาก O ถึง F เรยกวา ความยาวโฟกส (f)  ี  ั แตกระจกนนจะเปนกระจกกระจายแสง เมอยงแสงขนาน  ู  ่ื ิ กบเสนแกนมขสาคญไปตกกระทบกระจกนน แสงสะทอน ั  ุ ํ ั ู จะกระจายออก ตองลากเสนสมมตตอไปขางหลงกระจก   ิ   ั จงจะไดจดโฟกส และความยาวโฟกัส ึ ุ ั ที่สําคัญ f = R เสมอ 2 55
  • 4. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 5. จากรูป จุด C เรียก ............................. จุด O เรียก ............................. R R เสนตรง CO เรียก .............................  O C C O ระยะ CO เรียก …………………. กระจกเวา  กระจกนูน 6. หากเราฉายแสงที่มีรังสีขนานกับเสนแกนมุข สําคัญมาตกกระทบกระเวา แสงสะทอนของ รังสีขนานเหลานัน จะไปตัดกันทีจด.............. ้ ุ่ ระยะหางจากใจกลางกระจกถึงจุด F เรียกวา ....................................... 7. กระจกนูนเปนกระจกกระจายแสง แสงสะทอน ของรังสีขนานจะไมตดกัน จุดโฟกัสของกระจกนูน ั จะเกิดจาก ............................................................ 8. จุดโฟกัสจะอยูกึ่งกลางระหวางจุดใจกลางกระจก กับจุดศูนยกลางความโคงเสมอ ดังนัน f = …… ้ 9. รังสีของแสงจากดวงอาทิตยถอเปนรังสีขนาน ดังนัน หากเรานํากระจกเวามารองรับแสง ื ้ อาทิตย เมือแสงสะทอนมาตัดกัน จะทําใหเกิดภาพของดวงอาทิตยทจด .................. ของ ่ ่ี ุ กระจกเวานั้น 10. ถาใชกระจกเวารัศมีความโคง 100 เซนติเมตร รับแสงจากดาวดวงหนึง จะไดภาพหาง ่ จากกระจกเซนติเมตร ก. 200 ข. 100 ค. 50 ง. 25 (ขอ ค) วธทา ิี ํ 11. ถากําหนดให R คือรัศมีความโคงของกระจกเวา ถาตองการใหเกิดลําแสงขนานสงออกไป จากกระจกเวานี้ ควรจะวางหลอดไฟฟาไวทตาแหนงใดบนเสนแกนมุขสําคัญของกระจกนี้ ่ี ํ 1. 2R 2. R 3. R 2 4. R 4 (ขอ 3) วธทา ิี ํ 56
  • 5. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ การเกิดภาพโดยกระจกโคง กระจกเวา สรุป กระจกเวาสวนมากจะสรางภาพจริงหัวกลับ ยกเวนเมือวัตถุอยูตรงจุดโฟกัส ่  จะไมเกิดภาพ ถาวัตถุอยูใกลกวาจุดโฟกัส จะสรางภาพเสมือนหัวตังขนาด ้ ภาพใหญกวาวัตถุ กระจกนูน สรุป กระจกนูนจะสรางแตภาพเสมือนหัวตัง ขนาดภาพเล็กกวาขนาดวัตถุ ้ และระยะภาพสั้นกวา ระยะวัตถุเสมอ 57
  • 6. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 12. ใหเขียนการเกิดภาพโดยกระจกเวา และกระจกนูนตามกรณีตอไปนีใหสมบูรณ  ้ กระจกเวา 1. 4. 2. 5. 3. สรุป กระจกนูน สรุป ชวนสังเกตุ ถาม กระจกอะไรสรางภาพจริงได ถาม กระจกอะไรสรางภาพเสมือนได ก. เวา ข. ราบ ค. นูน ง. ถูกทุกขอ ก. เวา ข. ราบ ค. นูน ง. ถูกทุกขอ ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากการสะทอน ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากการสะทอน 1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง 2. เกิดหนากระจก 2. เกิดหลังกระจก 3. เอาฉากมาตังรับได ้ 3. เอาฉากมารับไมได แตเห็นไดดวยตาเปลา 58
  • 7. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 13(มช 35) คํากลาวตอไปนีขอใดเปนจริง ้ ก. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกเวา จะเปนภาพจริงเสมอ ข. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกเวา จะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ ค. ภาพของวัตถุจริงที่เกิดจากกระจกนูน จะเปนภาพเสมือนเสมอ ง. ภาพเสมือนที่เกิดจากกระจกนูน จะมีขนาดโตกวาวัตถุเสมอ (ขอ ค)  14. ขอใดไมถกตอง ู ก. ภาพจริงหัวกลับ ภาพเสมือนหัวตัง ้ ข. ภาพจริงตองใชฉากรับ ค. ภาพเสมือนโตเทาวัตถุเสมอ ง. ภาพเสมือนไมตองใชฉากรับ  (ขอ ค)  15. กระจกในขอใดสามารถใหภาพเสมือนที่มีขนาดใหญกวาวัตถุ ก. กระจกเงาราบ ข. กระจกนูน ค. กระจกเวา ง. ขอ ข, ค ถูก (ขอ ค) 16. จะตองวางวัตถุหางจากกระจกเวาอยางไร เราจึงมองเห็นภาพทีเ่ กิดจากกระจกเวาไดเลย  โดยไมตองใชฉากรับภาพ  ก. วัตถุอยูหางจากกระจกนอยกวาความยาวโฟกัส ข. วัตถุอยูหางจากกระจกเทากับความยาวโฟกัส ค. วัตถุอยูระหวางศูนยกลางความโคงกับโฟกัส ง. วัตถุอยูที่จุดศูนยกลางความโคง (ขอ ก)  17. ถาวางวัตถุไวที่จุดศูนยกลางความโคงของกระจกเวา ภาพทีเ่ กิดขึนเปนอยางไร ้ ก. ภาพเสมือนขนาดเทาวัตถุ ข. ภาพจริงขนาดเทาวัตถุ ค. ภาพจริงขนาดเล็กกวาวัตถุ ง. ภาพจริงขนาดโตกวาวัตถุ (ขอ ข)  18(En 43/1) ถาวางวัตถุไวหนาทัศนอุปกรณอยางงายชนิดหนึง จะไดภาพจริงหัวกลับขนาด ่ ขยายใหญกวาวัตถุดังรูป ทัศนอุปกรณอยางงายคือ (ขอ 2)  วั ต ถุ ทั ศ น – อุปกรณ ภาพ 1. กระจกนูน 2. กระจกเวา 3. เลนสนูน 4. เลนสเวา 59
  • 8. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ สูตรที่ใชคํานวณการเกิดภาพโดยกระจกเวา และ กระจกนูน 1 [1 Ι 1 f S Sℵ m = Sℵ [ Yℵ S Y เมือ f = ความยาวโฟกัส ่ S = ระยะวตถุ ั m = sΚf f f = 2R S = ระยะภาพ y = ขนาดวัตถุ เงื่อนไขการใชสมการ y = ขนาดภาพ 1) หากเปนกระจกเวา ตองใช f มีคาเปน + m = กําลังขยาย หากเปนกระจกนูน ตองใช f มีคาเปน – R = รัศมีความโคงกระจก 2) หากภาพทีเ่ กิดเปนภาพจริง ตองใช S , y , m มีคาเปน + หากภาพที่เกิดเปนภาพเสมือน ตองใช S , y , m มีคาเปน – 19. วางวัตถุไวหนากระจกเวาอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพจริงขึนที่ ้ ระยะหางจากกระจก 10 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางกระจกกีเ่ ซนติเมตร ( 10 cm)   วิธทา ี ํ 20. วางวัตถุไวหนากระจกนูนอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพขึ้นที่ระยะ หางจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางกระจกกีเ่ ซนติเมตร   ( 10 cm ) วธทา ิี ํ 60
  • 9. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 21. วางวัตถุหนากระจกเวาเปนระยะ 10 เซนติเมตร เกิดภาพจริงหนากระจกทีระยะ 15 ่ เซนติเมตร กระจกมีรัศมีความโคงเทาไร (12 cm) วธทา ิี ํ 22. วางวัตถุหนากระจกโคงความยาวโฟกัส 40 เซนติเมตร ปรากฏวาใชฉากรับภาพไดที่ระยะ 120 เซนติเมตร หนากระจก จงหาวาวัตถุอยูหางจากกระจกเทาใด และไดขนาดภาพเปนกี่ เทาของขนาดวัตถุ (60 cm , 2 เทา)  วธทา ิี ํ 23. ถาจะใหเกิดภาพหลังจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศมีความโคง 60 เซนติ- ั เมตร จะตองวางวัตถุหางจากกระจกนูนเทาไร  (60 cm) วธทา ิี ํ 61
  • 10. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 24. วางวัตถุไวหนากระจกโคง หางกระจก 8 เซนติเมตร เกิดภาพเสมือนหางกระจก 4 เซนติ- เมตร จงหาความยาวโฟกัส และชนิดของกระจก (–8 cm) วธทา ิี ํ 25. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร อยหาง 10 เซนติเมตร จากกระจกเวาซึ่งมีรัศมีความโคง 50 เซนต- ู  ิ เมตร จงหาขนาดของภาพ ( 25 cm) 3 วิธทา ี ํ 26(มช 32) ถาวางวัตถุที่มีความสูง 10 เซนติเมตร ไวหนากระจกนูนซึงมีรศมีความโคง ่ ั 50 เซนติเมตร โดยวางใหหางจากกระจกเปนระยะ 100 เซนติเมตร จงหาความสูงของ ภาพวามีขนาดกีเ่ ซนติเมตร ( –2 cm) วิธทา ี ํ 62
  • 11. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 27. วางวัตถุสูง 5 เซนติเมตร ไวหนากระจกโคงเปนระยะ 5 เซนติเมตร ไดภาพเสมือน ขนาดสูง 3 เซนติเมตร จงหาชนิดของกระจก (กระจกนูน f = 7.5 cm) วิธทา ี ํ 28. ทันตแพทยถอกระจกเวารัศมีความโคง 4.0 เซนติเมตร หางจากฟนทีตองการอุดเปนระยะ ื ่  1.0 เซนติเมตร ทันตแพทยจะเห็นฟนในกระจกขยายเปนกี่เทา 1. 2 เทา 2. 3 เทา 3. 4 เทา 4. 5 เทา (ขอ 1) วิธทา ี ํ 29. กระจกเวา 2 บาน ความยาวโฟกัสแผนละ 10 Cm วางหันหนาเขาหากันหางกัน 30 Cm นํา วัตถุวางหางกระจกบานหนึ่งระยะ 5 Cm ตําแหนงและชนิดของภาพทีเ่ กิดจากการสะทอน แสงระหวางกระจกทั้งสอง ใหสะทอนจากบานใกลวัตถุกอน วิธทา ี ํ (ภาพจริงอยูหนากระจกบาน 2 = 13.33 cm) 63
  • 12. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 30. วัตถุสูง 5 เซนติเมตร วางหางจากกระจกนูน 15 เซนติเมตร กระจกนูนมีรศมีความโคง 20 ั เซนติเมตร กระจกราบบานหนงวางหนหนาเขาหากระจกนน หางจากกระจกนูน 20 เซนติเมตร ่ึ ั   ู จงหาตําแหนงของภาพซึงเกิดจากรังสีของแสง ซึ่งสะทอนที่กระจกนูนกอน จากนันสะทอน ่ ้ ทีกระจกราบ ่ (หลังกระจกราบ 26 cm) วิธทา ี ํ 31. วางหลอดไฟฟาที่โฟกัสของกระจกเวา ดังรูป ถานํากระจกเวาอีกบานหนึ่งมารับแสงจากกระจก วตถุ ั F บานแรก ภาพของหลอดไฟฟานี้จะเกิดขึ้น ณ. ตําแหนงใด และเปนภาพจริงหรือภาพเสมือน วิธทา ี ํ ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 3 การหักเหของแสง sin⊗ 1 v ↵1 n กฎของสเนลล sin⊗ 2 = v1 = = n21 = n2 2 ↵2 1 เมอ n1 คือ ดชนหกเหตวกลางท่ี 1 เทียบกับอากาศ เรยกสนๆ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 1 ่ื ั ี ั ั ี ้ั ั ี ั ั n2 คือ ดชนหกเหตวกลางท่ี 2 เทียบกับอากาศ เรยกสนๆ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 2 ั ี ั ั ี ้ั ั ี ั ั ** หมายเหตุ : 1. n21 ¬ n2 หรอ n1 ื 2. nอากาศ = 1 64
  • 13. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 32. แสงชนิดหนึ่งมีความยาวคลื่น 450 นาโนเมตร ความเรว 3x108 เมตร/วนาที ในอากาศ ็ ิ เมื่อยิงแสงทะลุลงไปในของเหลวชนิดหนึ่ง ปรากฎวาความยาวคลื่นเปลี่ยนเปน 300 นาโน– เมตร ความเรวแสงในของเหลวชนดนมคาเทาใด ็ ิ ้ี ี   (2x108 m/s) วิธทา ี ํ 33. แสงสีหนึ่งมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตรในอากาศ และมอตราเรว 3x108 เมตร/วนาที ีั ็ ิ  ี ั  3 ถาดชนหกเหของแกวเทยบหบอากาศเปน 2 จงหาอตราเรวแสงในแกว  ั ี ั ั ็  ( 2x108 m/s) วิธทา ี ํ 34. จากขอทผานมา จงหาความยาวคลนของแสงในแกว  ่ี  ่ื  (4x10–7m) วิธทา ี ํ 35. ดชนหกเหของตวกลาง A = 3 และ ดชนหกเหของตวกลาง B = 6 จงหาดชนหกเหของ ั ี ั ั ั ี ั ั ั ี ั ตวกลาง A เทียบกับ B ั (0.5) วิธทา ี ํ 65
  • 14. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 36. จากขอทผานมา หากความเรวแสงในตวกลาง B มีคาเทากับ 1.2x108 เมตร/วินาที แลว  ่ี  ็ ั ความเรวแสงในตวกลาง A จะมีคาเทาใด ็ ั (2.4x108) วิธทา ี ํ 37. ถาดชนหกเหของนามคา 4 และดชนหกเหของนามน  ั ี ั ํ้ ี  3 ั ี ั ํ้ ั 3 2 อตราสวนระหวางอตราเรว ั   ั ็ ของแสงในน้ํามันและน้ําเปนเทาใด (8/9) วิธทา ี ํ 38(En 41/2) แสงความยาวคลื่นในอากาศ 525 นาโนเมตร เมอเคลอนทผานไปในแกวทมดชนี ่ื ่ื ่ี   ่ี ี ั หกเห 1.50 จงหาความยาวคลื่นแสงในแกว ( ให ดัชนีหักเหของแสงในอากาศ = 1 ) (350 nm) ั วิธทา ี ํ 39. ดรรชนหกเหของแสงในตวกลางหนงมคา 1.5 ดงนนอตราเรวของแสงในตวกลางนนมคา ี ั ั ่ึ ี  ั ้ั ั ็ ั ้ั ี  เทาไร (กําหนด ดชนหกเหของแสงในอากาศ = 1) ั ี ั ก. 4.5x107 m/s ข. 1.5x108 m/s ค. 2x108 m/s ง. 2.5x108 m/s (ขอ ค) วิธทา ี ํ 66
  • 15. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 40. แสงเคลอนทผานตวกลางดวยอตราเรว 2.25x108 เมตร/วนาที อยากทราบวาตัวกลางนี้มี ่ื ่ี  ั  ั ็ ิ คาดชนหกเหเทาใด  ั ี ั  (1.33) วิธทา ี ํ 41. แสงเคลอนจากของเหลวผานแทงแกวไปสอากาศ ่ื    ู ดังรูป จงหาดรรชนหกเหของของเหลว ี ั (2) ของเหลว 30o วิธทา ี ํ × แกว อากาศ 42. จากรป แสงเดินทางจากตัวกลางที่ 1 ผานตัวกลาง ู ที่ 2 ตัวกลางที่ 3 ไปสูตัวกลางที่ 4 โดยผานรอยตอ C 53o (4) ตวกลาง A , B , C ซึ่งขนานกัน จงหาดชนหกเห ั ั ี ั (3) B ของของตวกลางท่ี 1 เทียบกับตัวกลางที่ 4 ( 4 ) ั 3 A (2) วิธทา ี ํ 53o (1) ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 67
  • 16. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ ตอนที่ 4 ปรากฏการณทเ่ี กียวกับแสง ่ 4.1 การสะทอนกลับหมด อากาศ 80o อากาศ 90o อากาศ 50o 30o 45o พลาสติก พลาสติก พลาสติก หากยิงแสงจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวา ไปสตวกลางทมความหนาแนนนอย ู ั ่ี ี   กวา เชน ยิงแสงจากพลาสติกไปสูอากาศ จะเกดการหกเหซง มมหกเห จะโตกวามมตก  ิ ั ่ึ ุ ั  ุ กระทบเสมอ ดังรูป และสําหรับมุมตกกระทบที่ทําใหมุมหักเหเปนมุม 90o พอดี มมตก ุ กระทบนจะเรยก มุมวิกฤติ ้ี ี และหากมุมตกกระทบมีขนาดโตกวามุมวิกฤตินี้ จะทําใหแสงเกิดการสะทอนกลับเขามา ภายในตัวกลางที่ 1 ทั้งหมด ไมมการหักเหออกไปอีก เราเรยกปรากฎการณนวา การสะทอน ี ี  ้ี  กลับหมด 43. เมื่อแสงเดินทางจากตัวกลางที่มีความหนาแนนมากกวาสูตัวกลางที่มีความหนาแนนนอยกวา มมตกกระทบกบมมหกเห มมทมขนาดโตกวา คอ ........................... ุ ั ุ ั ุ ่ี ี  ื 44. มุมวิกฤติ คอ ............................................................................................................... ื 45. หากมุมตกกระทบโตกวามุมวิกฤติ จะเกิดปรากฏการณ ............................................ 46. ถามุมตกกระทบในของเหลวชนิดหนึ่งเทากับมุมวิกฤติ มุมของหักเหของแสงจะเปนเทาไร (90o) 47(En 37) มุมวิกฤติ δ∉Cε ของแสงที่เดินทางจากแกวซึ่งมี คาดรรชนีหกเห 1.5 ไปยังน้ําซึ่ง ั มีคาดรรชนีหกเห 1.3 มีคาเทากับเทาใด  ั (ขอ 3) 1. sin–1(0.65) 2. sin–1(0.76) 3. sin–1(0.87) 4. sin–1(0.92) วิธทา ี ํ 68
  • 17. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 48. ผลึกใสชนิดหนึ่งมีคาดัชนีหักเห 2 และของเหลวชนดหนงมคาดชนหกเห 4 จงหามม ิ ่ึ ี  ั ี ั 3 ุ วิกฤตระหวางผลึกใสและของเหลวนี้ (sin–1 2 ) 3 วิธทา ี ํ 49(En 38) มมวกฤตสาหรบสารโปรงใสชนดหนงในอากาศ มีคาเทากับ 45 องศา ความเรว ุ ิ ิ ํ ั  ิ ่ึ ็ แสงในสารโปรงใสนี้มีคาเทาใด ( ให ความเรวแสงในอากาศ = 3.0x108 m/s ) ็ 1. 2.1x108 m/s 2. 2.4x108 m/s 3. 2.7x108 m/s 4. 3.0x108 m/s (ขอ 1) วิธทา ี ํ 50. มมวกฤตสาหรบสารโปรงใสชนดหนงในอากาศมคาเทากบ 30 องศา ดชนหกเหของแสง ุ ิ ิ ํ ั  ิ ่ึ ี  ั ั ี ั ในสารโปรงใสนี้มีคาเทาใด ( ให ดชนหกเหแสงในอากาศ = 1) ั ี ั (2) วิธทา ี ํ 51(En 42/2) มมวกฤตตอแสงในของเหลวชนดหนงมคาเทากบ 60 องศา ความยาวคลื่นของ ุ ิ ิ  ิ ่ึ ี   ั แสงนนในของเหลวจะเปนกี่เทาของความยาวคลื่นในอากาศ ้ั  1. 22 2. 23 3. 2 4. 1 2 (ขอ 2) วิธทา ี ํ 69
  • 18. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 52. แผนตัวกลางโปรงใสสามชนิด ดชนหกเห n1 , n2 และ n3 วางซอนกนดงรป ใหแสงตก ั ี ั  ั ั ู  กระทบในแผนแรกทมดชนหกเห n1 แลวผานตอไปยังแผนที่สองและสามได ถาตองการให  ่ี ี ั ี ั   การสะทอนกลับหมดเกิดขึ้นไดเฉพาะที่ผิว CD ดังรูป เทานน ดัชนีหักเหทั้งสามคาจะมี  ้ั ความสัมพันธดังขอใด (ขอ 4) 1. n1 > n2 > n3 2. n1 < n2 < n3 3. n1 > n2 < n3 4. n1 < n2 > n3 วิธทา ี ํ 4.2 ความลึกปรากฎ ถาเรามองวตถทอยในนา เราจะเหนวตถนนอยตน  ั ุ ่ี ู ํ้ ็ ั ุ ้ั ู ้ื ตา กวาความเปนจรง ทั้งนี้เพราะเมื่อแสงสะทอนจากตัวปลา   ิ แลวเดนทางออกจากนามาเขาตาเราซงอยในอากาศ แสงจะ  ิ ํ้  ่ึ ู ลึกปรากฎ ภาพ เกดการหกเห แตเนืองจากวาสายตาของคนเราจะมองตรง ิ ั ่ เสมอ เราจงมองเหนปลาอยตนกวาทเ่ี ปนจรง ึ ็ ู ้ื   ิ ลกจรง ึ ิ และหากเรามองวตถตรง ๆ (มองตงฉากกบผวนา) ั ุ ้ั ั ิ ํ้ วัตถุ เราสามารถคานวณหาความลกปรากฎไดจาก ํ ึ  ลึกจริง = n1 ลึกปรากฏ n2 เมอ n1 คือ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 1 ที่แสงอยู ่ื ั ี ั ั n2 คือ ดชนหกเหของตวกลางท่ี 2 ที่แสงอยู ั ี ั ั หากเรามองเอยงทามมกบผวหกเห ใชสมการ ี ํ ุ ั ิ ั ลึกจริง = n1 cos± 1 ลึกปรากฏ n 2 cos± 2 เมอ ±1 คือ มุมตกกระทบในตัวกลางที่ 1 ่ื ±2 คือ มุมหักเหในตัวกลางที่ 2 70
  • 19. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 53(มช 38) วัตถุอยูในน้ํามีความลึกจริงเปน 4 เมตร เราจะมองเห็นภาพวัตถุนั้นอยูลึกกี่เมตร (กาหนด ดชนหกเหของนา = 4/3) ํ ั ี ั ํ้ ก. 4 ข. 3 ค. 2.67 ง. 2 (ขอ ข) วิธทา ี ํ 54. นายเอนกยนอยบนสะพานเหนปลาตวหนงอยลก 2 เมตร ถามวาตัวจริงของปลาอยูลึกกี่เมตร ื ู ็ ั ่ึ ู ึ (กาหนด ดชนหกเหของนา = 4/3) ํ ั ี ั ํ้ ( 2.67 ) วิธทา ี ํ 55(มช 31) นกตวหนงบนอยในอากาศสงจากผวนา 3 เมตร คนทดาอยใตนาและมองดนกตวน้ี ั ่ึ ิ ู ู ิ ํ้ ่ี ํ ู  ํ้ ู ั ในแนวเสนปกตจะมองเหนนกไกลหรอใกลกวาความจรงเทาใด ในหนวยของเมตร  ิ ็ ื   ิ   กาหนด n ของนา = 4 ํ ํ้ 3 (ขอ ข) ก. ใกลเขามามากกวาความจริง 1.00 ข. ไกลออกไปมากกวาความจริง 1.00 ค. ใกลเขามากกวาความจริง 2.25 ง. ไกลออกไปมากกวาความจริง 2.25 วิธทา ี ํ 71
  • 20. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 56. แทงแกวสี่เหลี่ยมหนา 6 เซนติเมตร มคาดชนหกเห 1.5 วางทับกระดาษ อยากทราบวาถา ี ั ี ั มองผานแทงแกวนลงไปตรงๆ จะเหนตวอกษรบนกระดาษลอยสงจากกระดาษขนมาเทาไร    ้ี ็ ั ั ู ้ึ  วิธทา ี ํ (2 cm) 57(มช 38) มองผานกลองจลทรรศนเ หนจดเลก ๆ บนโตะชัดเจน แตเ มอนาแผนวตถใสหนา   ุ ็ ุ ็ ่ื ํ  ั ุ 1.00 cm มาวางทับจุดดังกลาว ตองปรบเลอนกลองใหหางโตะจากตาแหนงเดมไปเปน  ั ่ื     ํ  ิ  ระยะ 0.40 cm โดยที่โฟกัสของกลองจุลทรรศนยังคงเดิม ดชนหกเหของแผนวตถนเ้ี ปนเทาใด ั ี ั  ั ุ   1. 1.24 2. 1.40 3. 1.66 4. 2.50 (ขอ 3) วิธทา ี ํ 4.3 มิราจ ในบางครงคนซงเดนทางในทะเลทราย จะ ้ั ่ึ ิ มองเหนตนไมเ ปนสองตนพรอมกน โดยตนไม ็     ั  ตนหนงคอตนไมปกติ แตอกตนหนงจะเปน  ่ึ ื    ี  ่ึ  ภาพหัวกลับยอดชี้ลงใตพื้นทราย ปรากฏการณ นเ้ี รยก มราจ ปรากฏการณนเ้ี กดขนเนองจากพน ี ิ  ิ ้ึ ่ื ้ื ทรายถกแดดจดเผา ทําใหอากาศบริเวณใกลพื้น ู ั ทรายมอณหภมสงและมความหนาแนนตา แตจด ีุ ู ิ ู ี  ํ่  ุ ซึ่งสูงกวาพื้นทรายขึ้นมาเล็กนอย อุณหภูมิจะลดลงอยางมาก ทาใหความหนาแนนอากาศ ํ   บรเิ วณนสงขน จงเกดความแตกตางของความหนาแนนของชนอากาศบรเิ วณนน ้ี ู ้ึ ึ ิ   ้ั ้ั 72
  • 21. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ และเมอแสงอาทตยสะทอนออกจากยอดไม แสงบางสวนจะพงตรงเขาตา ทาใหเ หนยอด ่ื ิ   ุ  ํ ็ ไมชขนบนอากาศเปนปกติ แตแสงบางสวนจะพุงลงขางลางแลวเกิดการหักเหตามชั้นอากาศ  ้ี ้ึ  ซงมความหนาแนนตางกนอยแลวยอนขนมาเขาตา และเมื่อสายตามองตรงลงไป จะทาใหเ หน ่ึ ี   ั ู   ้ึ  ํ ็ ยอดไมชี้ลงไปใตพื้นทราย นอกจากตวอยางนแลว ยงมปรากฏการมราจใหเ หนไดอก เชน การเหนนาปรากฏบน ั  ้ี  ั ี ิ ็ ี  ็ ํ้ พนผวถนนทรอนทงๆ ทถนนแหง หรอ เหนเรอลอยควาอยในอากาศเหนอทองทะเลเปนตน ้ื ิ ่ ี  ้ ั ่ี  ื ็ ื ํ่ ู ื    58. จงวาดภาพเพออธบายปรากฏการณมราจทเ่ี กดกบเรอลอยลาอยกลางทองทะเล ่ื ิ  ิ ิ ั ื ํ ู  4.4 การกระจายของแสง แสงขาวของดวงอาทตยนน จริง ๆ แลว ิ  ้ั ประกอบดวยแสงสีตาง ๆ 7 สี คือ มวง  คราม นาเงน เขียว เหลือง แสด และ แดง ํ้ ิ เมอใหแสงขาวเดนทางผานปรซม สีแตละสี ่ื  ิ  ิ ึ จะเกดการหกเหไดไมเ ทากน ิ ั   ั สีแดง มีความยาวคลื่นมากที่สุดจะเกิดการหักเหนอยที่สุด สีมวง มีความยาวคลื่นนอยที่สุดจะเกิดการหักเหมากที่สุด สวนสีอื่น ๆ ซึ่งมีความยาวคลื่นไมเทากัน กจะเกดการหกเหไดไมเ ทากนดวย ลักษณะนี้จะ ็ ิ ั   ั  ทําใหแสงแตละสีเกิดการแยกออกจากกัน เรยกปรากฎการณนวา การกระจายของแสง ี  ้ี  59. ทําไมเมื่อใหแสงสีขาวเชนแสงอาทิตยผานปริซึมแสงสีขาวนั้นถูกกระจายออกเปนสีตาง ๆ กนั ก. เพราะแสงเดนเปนแสงตรง ิ  ข. เพราะสีภายในวัตถุที่ใชทําปริซึม ค. เพราะแสงถูกปริซึมดูดคลื่นและปลอยออกมาบางสวน ง. เพราะแสงแตละสีหักเหไมเทากัน (ขอ ง) 73
  • 22. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 60. เมื่อแสงสีขาวผานปริซึมแสงสีใดมีการเบี่ยงเบนไดมากที่สุด ก. สีน้ําเงิน ข. สีเหลือง ค. สีมวง ง. สีแดง (ขอ ค) 61. มุมเบี่ยงเบนของแสงสีใดมีคานอยที่สุด ก. สีแดง ข. สีมวง ค. สีน้ําเงิน ง. สีเขียว (ขอ ก) 62. ปรากฎการณใดไมสามารถเกิดขึ้นไดกับแสงสีเดี่ยว (ขอ ง) ก. การหกเห ั ข. การเลยวเบน ้ี ค. การแทรกสอด ง. การกระจาย 4.5 รุงกินน้า  ํ รงกนนามกจะเกดหลงฝนตก และเกิดใน ุ ิ ํ้ ั ิ ั ทิศซึ่งตรงกันขามกับพระอาทิตย ทงนเ้ี พราะ ้ั หลังฝนตกในอากาศจะมีละอองน้ําอยูมาก เมอ ่ื แสงตกกระทบเขาไปในละอองน้ํานี้ จะเกิดการ สะทอนกลับหมด และหักเหออกมา ทําใหสี ทั้ง 7 สี ของแสงขาวเกดการกระจายออกจากน ิ ั รงกนนามี 2 ชนด คือ ุ ิ ํ้ ิ 1) รงทตยภมิ ุ ุ ิ ู รงแบบนจะเกดดานบน ุ ้ี ิ  จริงๆ แลว แสงสีแดงจะหักเหอยูดานบนสีมวง แตสีที่มาเขาตาเรากลับเปนสีมวงอยูบนสีแดง ? 2) รงปฐมภมิ ุ ู รงแบบนจะเกดดานลาง ุ ้ี ิ   จริงๆ แลว แสงสีมวงจะหักเหอยูดานบนสีแดง แตสีที่มาเขาตาเรากลับเปนสีแดงอยูบนสีมวง ? ปกติแลว มกจะเกดรงทงสองชนดซอนกนอยใน ั ิ ุ ้ั ิ  ั ู เวลาเดยวกน ี ั 74
  • 23. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ ตอนที่ 5 เลนส เลนสมีอยู 2 ชนด คือ เลนสนูน และ เลนสเ วา ิ  R R C/ C/ C O C O จด C , Cℵ = จุดศูนยกลางความโคงของเลนส ุ จด O = จุดกลางเลนส ุ ระยะจาก O ถึง C = รศมความโคง (R) ั ี  ถาเราใหรังสีที่ขนานกับเสนแกนมุขสําคัญ มา ตกกระทบเลนสนูน จะพบวา แสงหกเหไปตดกน ั ั ั ที่จุดกึ่งกลางระหวาง C กับ O ฝงตรงขามเสมอ   จุดตัดนีเ้ รียก จดโฟกส (F) ุ ั ระยะหางจาก O ถึง F เรยกวา ความยาวโฟกัส (f ) ี  แตเ ลนสเ วา จะเปนเลนสกระจายแสง เมอยง  ่ื ิ แสงขนานกับเสนแกนมุขสําคัญไปตกกระทบเลนส เวา แสงหกเหจะกระจายออก ตองลากเสนสมมุติ ั ยอนถอยออกมา จงจะไดจดโฟกส และ ความยาว ึ ุ ั โฟกัส ที่สําคัญ f = R 2 เสมอ 63. R R C/ C/ C O C O จากรป ู จด C , Cℵ เรียก .................................. ุ จด O เรียก .................................. ุ ระยะจาก O ถึง C เรียก .................................. 64. จดโฟกสของเลนสนน คือ .................................................................................................... ุ ั  ู 65. จดโฟกสของเลนสเ วา คือ .................................................................................................... ุ ั  75
  • 24. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ การเกิดภาพโดยเลนสบาง เลนสนน ู สรุป เลนสนูน สวนมากจะสรางภาพจริงหัวกลับ ยกเวนเมอวตถอยตรงจดโฟกส  ่ื ั ุ ู ุ ั จะไมเกิดภาพ ถาวัตถุอยูใกลกวาจุดโฟกัส จะสรางภาพเสมอนหวตง  ื ั ้ั ขนาดภาพใหญกวาวตถุ   ั เลนสเวา สรุป เลนสเ วา จะสรางแต ภาพเสมอนหวตงขนาดภาพเลกกวาขนาดวตถุ   ื ั ้ั ็  ั และ ระยะภาพสั้นกวา ระยะวัตถุเสมอ 76
  • 25. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 66. จงเขยนการเกดภาพโดยเลนสเ วา และ เลนสนูน ตามกรณตอไปนใหสมบรณ ี ิ  ี  ้ี  ู เลนสนน ู 1. 4. 2. 5. 3. สรุป เลนสเวา สรุป ชวนสังเกตุ ลักษณะของภาพจริงที่เกิดจากการหักเห ลักษณะของภาพเสมือนที่เกิดจากการสะทอน 1. หัวกลับ 1. หัวตั้ง 2. เกิดหลังเลนส 2. เกิดหนาเลนส 3. เอาฉากมาตังรับได ้ 3. เอาฉากมารับไมได แตเห็นไดดวยตาเปลา 77
  • 26. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 68. ลําแสงสีเดียวสองผานเลนส 2 อัน และรงสเี ดนทางดงรป ั ิ ั ู เลนส I และเลนส II เปนเลนสอะไร   ก. เปนเลนสนนทงคู   ู ้ั ข. I เปนเลนสนน II เปนเลนสเ วา   ู   I II ค. I เปนเลนสเ วา II เปนเลนสนน     ู ง. เปนเลนสเ วาทงคู   ้ั (ขอ ข) 69. รงสของแสงเบนเขาหากนทจด A ถานําเลนสไปวางไว ั ี  ั ่ี ุ ทจด B รงสของแสงนจะเบนไปพบกนทจด C ่ี ุ ั ี ้ี ั ่ี ุ B A C เลนสที่นําไปวางเปนเลนสชนิดใด อธิบาย 70. ภาพทเ่ี กดจากเลนสนนจะมขนาดเทาวตถเุ มอ ิ  ู ี  ั ่ื ก. วางวัตถุไวที่จุดศูนยกลางความโคง ข. วางวตถไวทจดโฟกส ั ุ  ่ี ุ ั ค. วางวัตถุไวชิดขอบเลนส ง. วางวัตถุไวที่ระยะไกลมาก ๆ (ขอ ก) 71. ถาวตถเุ คลอนทจาก 2F ไป F ทางดาน A เมอ F ในรปเปนจดโฟกสของเลนส ภาพที่  ั ่ื ่ี ่ื ู  ุ ั เกดขนบนดาน R จะเคลื่อนที่จากที่ใดไปที่ใด (ขอ ข) ิ ้ึ  A ก. 2F ไป F ข. 2F ไประยะอนนต ั 2F F 2F ค. F ไป 2F ง. F ไปเลนส F 72(มช 31) เมอตองการดของทมขนาดเลก เรามักจะใช “แวนขยาย” ซึ่งทําดวยเลนสนูน ่ื  ู ่ี ี ็  เพราะภาพทเ่ี กดจาก การวางวตถไวหนาเลนสนนนน ิ ั ุ    ู ้ั ก. มขนาดใหญกวาวตถเุ สมอ ี   ั ข. เปนภาพเสมอนเสมอ  ื ค. เปนภาพจริงหรือ ภาพเสมอนและมขนาดใหญกวาวตถเุ สมอ ื ี   ั ง. เปนภาพเสมอน ขนาดใหญกวาวตถทระยะวตถชวงหนง  ื   ั ุ ่ี ั ุ  ่ึ (ขอ ง) 73(มช 35) ถาให o เปนจุดกึ่งกลางความหนาของเลนส c เปนจดศนยกลางของผวโคง  ุ ู  ิ  F เปนจดโฟกส U เปนวตถุ และ I เปนภาพ อยากทราบวาการเกดภาพจากเลนส  ุ ั  ั   ิ ในรูปขางลางนี้ รปไหนถูก ู (ขอ ข) 78
  • 27. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ สูตรที่ใชคํานวณการเกิดภาพโดยเลนสเวา และ เลนสนน ู 1 [1 Ι 1 เมือ ่ f = ความยาวโฟกัส f s sℵ s = ระยะวัตถุ m = ssℑ ∴ yℑ y sℑ = ระยะภาพ m = sff y = ระยะวัตถุ - yℑ = ระยะภาพ f = R 2 m = กําลังขยาย R = รัศมีความโคง เงื่อนไขการใชสมการ 1) หากเปนเลนสนน ตองใช f มีคาเปน + ู  หากเปนเลนสเวา ตองใช f มีคาเปน –  2) หากภาพทีเ่ กิดเปนภาพจริง ตองใช sℑ , yℑ , m มีคาเปน +  3) หากภาพทเ่ี กดเปนภาพเสมอน ิ  ื ตองใช sℑ , yℑ , m มีคาเปน – 74. วางวัตถุไวหนาเลนสนนอันมีความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพจริงขึนที่ ู ้ ระยะหางจากเลนส 10 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางเลนสกเ่ี ซนติเมตร   ( 10 cm ) วิธทา ี ํ 79
  • 28. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 75. วางวัตถุไวหนาเลนสเวาอันมีความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร ปรากฏวาเกิดภาพขึนทีระยะ ้ ่ หางจากกระจก 5 เซนติเมตร จงหาวาวัตถุอยูหางเลนสเวากีเ่ ซนติเมตร   ( 10 cm ) วิธทา ี ํ 76. วางวัตถุหางเลนสนน 12 cm ทางยาวโฟกัสเลนสนูน 18 cm จงหาตาแหนงและชนด  ู ํ  ิ ของภาพทเ่ี กดิ (ภาพเสมือนหางเลนส 36 cm) วิธทา ี ํ 77(มช 45) วตถสง 9.0 เซนติเมตร อยหางจากเลนสเ วา 27.0 เซนติเมตร ถาเลนสมความยาว ั ุ ู ู   ี โฟกัส 18.0 เซนติเมตร ขนาดของภาพมความสงกเ่ี ซนตเิ มตร ี ู (–3.6 cm) วิธทา ี ํ 78. วางวัตถุหางจากเลนส A เปนระยะทาง 15 เซนติเมตร ไดภาพเสมือนขนาดใหญกวาวัตถุ  4 เทา เลนส A ควรจะเปนเลนสชนิดใด มีความยาวโฟกัสเทาไร ( เลนสนูน f = 20 cm ) วิธทา ี ํ 80
  • 29. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 79. เลนสอนหนงใหภาพเสมอนขนาด 3/4 เทาของวัตถุในขณะทีวตถุอยูหนาเลนส 10 cm.  ั ่ึ  ื ่ั  จงหาวาเลนสนเ้ี ปนเลนสชนดใด มีความยาวโฟกัสเทาไร     ิ ( เลนสเวา f = 30 cm ) วิธทา ี ํ 80. จากรป จงหาตําแหนงภาพ ถาความยาวโฟกัสเลนสนน = 30 cm. ของเลนสเวา 50 cm. ู ู 20 cm. 40 cm. วิธีทํา (33 cm ทางซายเลนสเวา) 81(En 29) วัตถุอยูทางดานซายมือของเลนสนน  ู วัตถุ (ความยาวโฟกัส 5 เซนติเมตร) ระยะทาง 10 เซนติเมตร และมีเลนสเวา (ความยาวโฟกัส 10 เซนติเมตร) ทางดานขวามอของเลนสนนนน  ื  ู ้ั 10cm 5cm ระยะทาง 5 เซนติเมตร ภาพทีเ่ กิดเปนดังดานขาง 81
  • 30. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ ก. ภาพเสมอนอยทางดานซายมอของเลนสเ วาเปนระยะทาง 3.33 เซนติเมตร ื ู   ื   ข. ภาพจริงอยูทางดานขวามือของเลนสเวาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร  ค. ภาพเสมือนอยูทางดานขวามือของเลนสเวาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร  ง. ภาพจรงอยทางดานซายมอของเลนสเ วาเปนระยะทาง 10 เซนติเมตร ิ ู   ื   (ขอ ข) วิธทา ี ํ โดยทัวไปแลว สายตาของคนปกตินนจะมองเห็นวัตถุไดชดเจนทีสดเมือวัตถุอยูในระยะใกล ่ ้ั ั ่ ุ ่  ทสดคอ 25 เซนติเมตร และไกลทีสดคือทีระยะอนันต ( Infinite ) จากตา ่ี ุ ื ่ ุ ่ แตสาหรบคนสายตายาว หากวตถอยทระยะ 25 เซนติเมตร เขาจะเหน ไมชด ( แตอาจมอง  ํ ั ั ุ ู ่ี ็ ั  เหนชดทระยะไกลกวาน้ี เชน เห็นชัดเมือวัตถุอยูหาง 1 เมตร เปนตน ) ดงนนตองใชแวนตา ็ ั ่ี  ่     ั ้ั    เลนสนน เพือนําวัตถุซงอยูทระยะ 25 ู ่ ่ึ  ่ี เซนตเิ มตรนน ไปสรางเปนภาพเสมอน ้ั   ื ตรงจุดใกลทสดทีเ่ ขามองเห็นไดชด ่ี ุ ั และสําหรับคนสายตาสัน หากวัตถุ ้ อยูไกลๆ เขาจะเห็นไดไมชด ( แตหาก ั วัตถุอยูใกลๆ เชน 5 เมตร อาจเหนชด )  ็ ั ดังนันตองใชแวนตาเลนสเวา เพอนา ้ ่ื ํ วตถทอยไกลๆ นัน มาสรางเปนภาพ ั ุ ่ี ู ้ เสมอนตรงจดไกลสดทเ่ี ขา ยังสามารถ ื ุ ุ เหนไดชดเจน ดงแสดงในรป ็  ั ั ู 82
  • 31. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 82(En 36) เลนสแวนตาสําหรับคนตายาวทําหนาทีตอผูใสแวนนันอยางไร ่  ้ 1. ยายวตถทระยะ 25 cm จากตาไปไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด  ั ุ ่ี  ่ี  ุ ่ี  ็ ั 2. ยายวัตถุทระยะ 25 cm จากตาไปไวทอนันต ่ี ่ี 3. ยายวตถทระยะอนนตมาไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด  ั ุ ่ี ั   ่ี  ุ ่ี  ็ ั 4. ยายวัตถุทระยะอนันตมาไวทระยะไกลสุดทีตาเปลามองเห็นชัด ่ี ่ี ่ (ขอ 1) ตอบ 83(มช 34) ชายผูหนึงสามารถอานหนังสือไดชดเมือหนังสืออยูหางจากเขาไมนอยกวา  ่ ั ่    90 เซนติเมตร ดังนันเขาจะตองสวมแวนตาความยาวโฟกัสกี่ cm ้ ก. 15 ข. 20 ค. 35 ง. 40 (ขอ ค) วิธทา ี ํ 84. เลนสแวนตาสําหรับคนตาสันทําหนาทีตอผูใสแวนนันอยางไร ้ ่  ้ 1. ยายวตถทระยะ 25 cm จากตาไปไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด  ั ุ ่ี  ่ี  ุ ่ี  ็ ั 2. ยายวัตถุทระยะ 25 cm จากตาไปไวทอนันต ่ี ่ี 3. ยายวตถทระยะอนนตมาไวทระยะใกลสดทตาเปลามองเหนชด  ั ุ ่ี ั   ่ี  ุ ่ี  ็ ั 4. ยายวัตถุทระยะอนันตมาไวทระยะไกลสุดทีตาเปลามองเห็นชัด ่ี ่ี ่ (ขอ 4 ) ตอบ 85. ชายสายตาสันผูหนึงสามารถมองเห็นไดชดเจนในระยะไกลสุดเพียง 5 เมตร เทานน ้  ่ ั  ้ั ดังนันเขาจะตองสวมแวนตาความยาวโฟกัสกี่ cm ้ ก. 150 ข. 200 ค. 400 ง. 500 (ขอ ง ) วิธทา ี ํ 83
  • 32. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ ตอนที่ 6 ทศนอปกรณ ั ุ 6.1 เครื่องฉายภาพนิ่ง หลักการทํางานของเครืองฉายภาพนิง เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้ ่ ่ ่ เนืองจากภาพทีเ่ กิดบนฉาก จะเปนภาพจริงหัวกลับ ดงนนเวลาใสฟลมจงตองกลบหว ่ ั ้ั   ึ  ั ั ฟลมลงเสมอ 86. เหตุใดเวลาใสฟลมเครืองฉายภาพนิงตองกลับหัวฟลมเสมอ ................................................  ่ ่  6.2 กลองถายรูป หลักการทํางานของกลองถายรูป เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้ ่ นอกจากนีในกลองถายรูปจะมี ้ อุปกรณเสริมดังนี้ วงแหวนปรับความชัด ใชปรับ เลอนเลนสเ พอปรบความ ่ื ่ื ั คมชัดของภาพ ไดอะแฟรม เปนชองกลมปรับ ยอขยายขนาดได เพือปรับแตงปริมาณแสงใหเขามากนอยตามความพอดี ่ ชัตเตอร เปนแผนทึบแสงคอบกันแสงและปดเปดเมือตองการถายรูป ้ ่ หากปริมาณแสงมีมาก ตองปรบความเรวชตเตอรใหปดเปดอยางรวดเรว  ั ็ ั      ็ หากปริมาณแสงมีนอย ตองปรับความเร็วชัตเตอรใหปดเปดอยางชาๆ   87. ภาพทีเ่ กิดบนฟลมถายรูปจะเปนภาพ .............................................  88. จงบอกประโยชนของ วงแหวนปรบความชด .....................................................................  ั ั ไดอะแฟรม .......................................................ชัตเตอร .......................................................... 84
  • 33. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ 6.3 กลองจุลทรรศน หลกการทางานของกลองจลทรรศน เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้ ั ํ  ุ ่ ภาพแรกทีเ่ กิดในกลองจุลทรรศนจะเปนภาพจริงหัวกลับ สวนภาพทเ่ี กดทเ่ี รามองเหน  ิ ็ จะเปนภาพเสมือนของภาพแรกนัน ภาพทีเ่ รามองเห็นจึงเปนภาพหัวกลับเมือเทียบกับวัตถุ ้ ่ เรมตน และภาพสุดทายนีควรเกิดหางจากตาไมนอยกวา 25 Cm เพอใหมองสบายตา ่ิ  ้  ่ื  89. ภาพทีเ่ กิดในกลองจุลทรรศนจะเปนภาพ .......................................... 90. ภาพทีมองเห็นจากกลองจุลทรรศนจะเปนภาพ ............... ของภาพทเ่ี กดตอนแรก ่ ิ 6.4 กลองโทรทัศน หลักการทํางานของกลองโทรทัศน เปนเปนตามทีแสดงในแผนภาพตอไปนี้ ่ ภาพทีเ่ กิดจากเลนสใกลวตถุจะเปนภาพจริงหัวกลับเกิดทีจดโฟกัสของเลนสใกลวตถุนน ั ุ่ ั ้ั และเมอใหภาพนอยใกลจดโฟกสเลนสใกลตา จะเกิดภาพเสมือนของภาพแรกนี้ แลวเราจะมอง ่ื  ้ี ู  ุ ั    ดูภาพเสมือนทีเ่ กิดนี้ ดังนันภาพทีเ่ ห็นจึงเปนภาพหัวกลับเมือเทียบกับวัตถุเริมตน ้ ่ ่ 85
  • 34. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 14 แสงและทัศนอุปกรณ ความยาวของกลองโทรทัศนจะมีคาประมาณ ความยาวโฟกัสของเลนสทงสองรวมกัน  ้ั ปจจบนเราสามารถทาใหภาพเสมอนทมองเหนเปนภาพหวตง โดยไสเลนสนนตัวที่ 3  ุ ั ํ  ื ่ี ็  ั ้ั ู แทรกไวระหวางเลนสใกลวตถกบเลนสใกลตาดงรป    ั ุั   ั ู เนืองจากกลองโทรทัศนจะมีขนาดทียาวมาก ่ ่ แตหากเราใชปริซมเขาชวยจะสามารถลดความยาว ึ ของกลองไดดงรป วิธการเชนนีจะใชกบกลองสอง  ั ู ี ้ ั ทางไกล 91. เลนสไกลวตถุของกลองโทรทรรศนทาหนาที่ ..................................................................... ั ํ 92. เลนสใกลตาจะสรางภาพ..............ของภาพทเ่ี กดตอนแรก ิ 93. ความยาวกลองจลทรรศน จะเทากบ................. ................. ................. ................. ..............  ุ  ั 94. เลนสตวท่ี 3 ทีใสแทรกเขาไปในกลองโทรทรรศน ทําหนาที่ ........................................... ั ่ 95. ปรซมทใสแทรกเขาไปในกลองโทรทรรศน ทําหนาที่ ........................................................ ิ ึ ่ี    ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 7 ความสวาง ความสวางบนพืนผิวใด ๆ สามารถคํานวณหาคาได จากสมการ ้ E= A F หรือ E = I2 R เมอ E คือ ความสวาง (ลูเมน/m ่ื 2 . Lux) F คือ อัตราการใหพลังงานแสง หรือ ฟลักซสองสวาง (ลูเมน) [ ปริ ม าณพลั ง งานแสงที่ ส อ งออกมาจากแหล ง กํา เนิ ด ต อ หนึ่ ง หน ว ยเวลา ] A คือ พื้นที่รับแสง (m2) 86