SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
แผนผังมโนทัศน์ (Concept
Mapping)
ครูมารินทร ์
แผนผังมโนทัศน์ หมายถึง ความคิดความเข้าใจที่ได้รับมาจากการสังเกต หรือ
ประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นามาจัดประเภทของข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่
เหมือนหรือแตกต่างกันไว้ในกลุ่มหรือประเภทเดียวกันโดยอาศัยคุณลักษณะร่วมกัน
เป็นเกณฑ์ องค์ประกอบของแผนผังมโนทัศน์มี 3 องค์ประกอบ คือ มโนทัศน์
หลัก มโนทัศน์รอง มโนทัศน์ย่อย โดยเชื่อมโยงมโนทัศน์ที่มีความสัมพัน์์กันด้วยเส้น
ความหมายของแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
1. เขียนตัวหนังสือเป็นแบบตัวพิมพ์ใหญ่ กรณีภาษาอังกฤษ หรือ ตัวหนาและ
เน้นคากรณีเป็นภาษาไทย สาหรับประเด็นความคิด (Node)
2. ใช้กระดาษแบบไม่มีเส้น (Unlined paper) เพื่อไม่ให้เส้นที่อยู่บนกระดาษมา
ขีดกรอบความคิด หากเลี่ยงไม่ได้ ก็ให้เส้นบรรทัดอยู่ในแนวตั้ง (Vertical)
3. ใช้กระดาษเปล่าที่ไม่มีการเขียนอะไรมาก่อน
4. เชื่อมคาที่เกี่ยวข้องหรือสัมพัน์์กันด้วยเส้น (Link line) หากมีความคิดใหม่ๆ
เกิดขึ้นก็แตกเส้นเชื่อมออกไปด้านข้างดังในภาพข้างบน
หลักการในการเขียนแผนผังมโนทัศน์ มี
ดังนี้
5. เขียนต่อเนื่องไปอย่างรวดเร็วไม่ต้องหยุด ส่งผ่านความคิดให้เกิดความลื่นไหล
ไปเรื่อยๆ ไม่ต้องหยุดว่าความคิดควรจะอยู่ตรงไหน เขียนลงไปก่อน (เราสามารถ
เคลื่อนย้ายหรือลากเส้นความสัมพัน์์ได้ทีหลัง)
6. เขียนทุกอย่างลงไปโดยไม่ต้องตีความหรือพยายามหาคาอ์ิบายใดๆ เพราะ
กระบวนการจะหยุดชะงักในการคิด
7. หากถึงทางดันของการคิดก็ลองมองไปรวมๆ ทั้งภาพแผนที่มโนทัศน์เพื่อดูว่ายังมี
ส่วนใดตกค้างหรือหลงเหลือที่ยังไม่ได้เขียนลงไปหรือไม่
8. บางครั้งอาจมีความจาเป็นที่จะต้องใช้สี หรือรูปทรง (shape) เพื่อแยกแยะหรือจัด
หมวดหมู่ความคิด
หลักการในการเขียนแผนผังมโนทัศน์
(ต่อ)
กระบวนการ Concept Mapping
ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ 6 ขั้นตอน
1. Preparation Step - ขั้นของการเตรียมการ
เป็ นขั้นตอนที่ผู้ริเริ่มมีความคิดใหม่ๆ หรือมีโครงการใหม่ๆ ที่ต้องการจะ
ทาการวิเคราะห์ผู้ริเริ่มนี้จะเป็ นผู้รวบรวมสมาชิกภายในกลุ่ม (สอดคล้องกับ
ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice - CoP) ของการจัดการ
ความรู้-KM) จะเป็ นจานวนเท่าไรก็ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาที่ต้องการจะ
แก้ไข จากนั้นจะทาตารางนัดหมายไว้คร่าว ๆ หลังจากนั้นจะทาการนัด
หมายการประชุมครั้งแรก ขั้นตอนนี้จะเป็ นการกล่าวถึงโครงการ หรือความ
ต้องการของโครงการ วัตถุประสงค์คืออะไร ต้องการผลลัพธ์อะไรบ้าง และ
การทางานร่วมกันทางความคิดจะเป็ นอย่างไร
2. Generation Step ขั้นของการสร ้างความคิด
คือการที่ทุกคนในกลุ่มเสนอความคิดเห็นของตนเองออกมา ข้อมูลที่
ได้อาจจะมาจากตารา งานวิจัย หรือแหล่งความรู้(Sources of
Knowledge) ที่หลากหลาย อาทิ ห้องสมุด อินเตอร ์เน็ต หนังสือ
วารสารวิชาการ ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ หรือบางครั้งอาจจะมาจาก
ผู้เชี่ยวชาญ (Center of Excellence - CoE) ขั้นตอนนี้จะสนใจที่จานวน
3. Structure Step - ขั้นการจัดโครงสร้างความคิด
สมาชิกในกลุ่มจะช่วยกันจัดกลุ่มของความคิด (Ideas Grouping) รวมทั้งการจัดลาดับช่วงชั้น
ของความคิด (Basic Ordering Ideas - BOIs)
4. Representation Step - การวิเคราะห์แผนที่มโนทัศน์
เป็นขั้นตอนที่จะวิเคราะห์คุณภาพของความคิด วิเคราะห์ความสัมพัน์์ (Relationship) วิเคราะห์
ประเด็นเชื่อมโยง หรือเกี่ยวข้อง รวมทั้งวิเคราะห์ส่วนขาด หรือสิ่งที่ตกหล่น ยังไม่มีใครมอง
5. Interpretation Step - การตีความและแปลความหมาย
เป็นขั้นตอนในการทาความเข้าใจ และแปลผลของแผนที่มโนทัศน์ เป็นขั้นตอนที่จะต้องนาแผนที่
มโนทัศน์ออกมาสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจได้โดยง่าย ไม่สาคัญว่าเขียนมันออกมาได้ แต่สาคัญว่า เขียน
แล้ว ชาวบ้านอ่านเข้าใจด้วย ซึ่งตัวชาวบ้านเองก็จะต้องฝึกอ่าน แผนที่มโนทัศน์ให้เป็นด้วย
6. Utilization Step การนาไปใช้ประโยชน์
เป็นการนา Concept Mapping ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน เช่น การนาไปใช้เป็น Strategic
Map หรือการนาไปใช้เป็นกรอบแนวคิด (Conceptual framework) ในการดาเนินงานวิจัย หรือ
วิเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงาน
รูปแบบของแผนผังมโนทัศน์มี 5 แบบ
1.แบบกระจายออก (Point grouping)
2.แบบปลายเปิด (Opened grouping)
3.แบบปลายปิด (Closed grouping)
4.แบบเชื่อมโยงข้ามจุด (Linked grouping)
5.แบบผสม (Mixed grouping)
ตัวอย่างแผนผังมโน
ทัศน์
ประโยชน์ของการทาแผนผังมโนทัศน์
1. ทาให้เห็นภาพรวมกว้าง ๆ ของหัวข้อใหญ่ หรือขอบเขตของเรื่อง
2. ทาให้สามารถวางแผนเส้นทางหรือตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เพราะรู้ว่าตรงไหน
กาลังจะไปไหนหรือผ่านอะไรบ้าง
3. สามารถรวบรวมข้อมูลจานวนมากลงไว้ในกระดาษแผ่นเดียวกัน
4. กระตุ้นให้คิดแก้ไขปัญหา โดยเปิดโอกาสให้มองเห็นวิ์ีใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์
5. สร้างความเพลิดเพลินในการอ่านและง่ายต่อการจดจา
สรุป Mind Map เป็นแผนที่ความคิดที่อัจฉริยะ เปรียบเสมือนลาย
แทง ที่นาไปสู่การจดจา การเรียบเรียงการจัดระเบียบ
การจัดระเบียบข้อมูลตามธรรมชาติ การทางานของ
การทางานของสมองตั้งแต่ต้น นั่นหมายความว่า การจาและฟื้น
ว่า การจาและฟื้นความจา หรือการเรียกข้อมูลเหล่านั้นกลับมา
ข้อมูลเหล่านั้นกลับมาใช้ในภายหลังจะทาได้ง่ายและมีความ
ง่ายและมีความถูกต้องแม่นยากว่าการใช้เทคนิคการจดบันทึก
เทคนิคการจดบันทึกแบบเดิม
สวัสดีคะ

More Related Content

What's hot

พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ ThunkableKhunakon Thanatee
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5Wuttipong Tubkrathok
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1Jutarat Bussadee
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1peter dontoom
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 

What's hot (20)

2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1โครงงานคณิตบทที่ 1
โครงงานคณิตบทที่ 1
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 

Similar to สื่อผังมโนทัศน์

ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfssuser639c13
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfssuser639c13
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8oraya-s
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญneeranuch wongkom
 

Similar to สื่อผังมโนทัศน์ (20)

หลักการเขียนแผนภูมิความคิด
หลักการเขียนแผนภูมิความคิดหลักการเขียนแผนภูมิความคิด
หลักการเขียนแผนภูมิความคิด
 
Mind map book
Mind map bookMind map book
Mind map book
 
Mind map
Mind mapMind map
Mind map
 
Mind mapping
Mind mappingMind mapping
Mind mapping
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Mind Manager
Mind ManagerMind Manager
Mind Manager
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdfล่าสุด.pdf
ล่าสุด.pdf
 
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdfแผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
แผนความคล้าย(ทั้งหมด).pdf
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 8
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
Mind map
Mind mapMind map
Mind map
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 

สื่อผังมโนทัศน์

  • 2. แผนผังมโนทัศน์ หมายถึง ความคิดความเข้าใจที่ได้รับมาจากการสังเกต หรือ ประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นามาจัดประเภทของข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่ เหมือนหรือแตกต่างกันไว้ในกลุ่มหรือประเภทเดียวกันโดยอาศัยคุณลักษณะร่วมกัน เป็นเกณฑ์ องค์ประกอบของแผนผังมโนทัศน์มี 3 องค์ประกอบ คือ มโนทัศน์ หลัก มโนทัศน์รอง มโนทัศน์ย่อย โดยเชื่อมโยงมโนทัศน์ที่มีความสัมพัน์์กันด้วยเส้น ความหมายของแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
  • 3. 1. เขียนตัวหนังสือเป็นแบบตัวพิมพ์ใหญ่ กรณีภาษาอังกฤษ หรือ ตัวหนาและ เน้นคากรณีเป็นภาษาไทย สาหรับประเด็นความคิด (Node) 2. ใช้กระดาษแบบไม่มีเส้น (Unlined paper) เพื่อไม่ให้เส้นที่อยู่บนกระดาษมา ขีดกรอบความคิด หากเลี่ยงไม่ได้ ก็ให้เส้นบรรทัดอยู่ในแนวตั้ง (Vertical) 3. ใช้กระดาษเปล่าที่ไม่มีการเขียนอะไรมาก่อน 4. เชื่อมคาที่เกี่ยวข้องหรือสัมพัน์์กันด้วยเส้น (Link line) หากมีความคิดใหม่ๆ เกิดขึ้นก็แตกเส้นเชื่อมออกไปด้านข้างดังในภาพข้างบน หลักการในการเขียนแผนผังมโนทัศน์ มี ดังนี้
  • 4. 5. เขียนต่อเนื่องไปอย่างรวดเร็วไม่ต้องหยุด ส่งผ่านความคิดให้เกิดความลื่นไหล ไปเรื่อยๆ ไม่ต้องหยุดว่าความคิดควรจะอยู่ตรงไหน เขียนลงไปก่อน (เราสามารถ เคลื่อนย้ายหรือลากเส้นความสัมพัน์์ได้ทีหลัง) 6. เขียนทุกอย่างลงไปโดยไม่ต้องตีความหรือพยายามหาคาอ์ิบายใดๆ เพราะ กระบวนการจะหยุดชะงักในการคิด 7. หากถึงทางดันของการคิดก็ลองมองไปรวมๆ ทั้งภาพแผนที่มโนทัศน์เพื่อดูว่ายังมี ส่วนใดตกค้างหรือหลงเหลือที่ยังไม่ได้เขียนลงไปหรือไม่ 8. บางครั้งอาจมีความจาเป็นที่จะต้องใช้สี หรือรูปทรง (shape) เพื่อแยกแยะหรือจัด หมวดหมู่ความคิด หลักการในการเขียนแผนผังมโนทัศน์ (ต่อ)
  • 5. กระบวนการ Concept Mapping ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ 6 ขั้นตอน 1. Preparation Step - ขั้นของการเตรียมการ เป็ นขั้นตอนที่ผู้ริเริ่มมีความคิดใหม่ๆ หรือมีโครงการใหม่ๆ ที่ต้องการจะ ทาการวิเคราะห์ผู้ริเริ่มนี้จะเป็ นผู้รวบรวมสมาชิกภายในกลุ่ม (สอดคล้องกับ ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice - CoP) ของการจัดการ ความรู้-KM) จะเป็ นจานวนเท่าไรก็ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาที่ต้องการจะ แก้ไข จากนั้นจะทาตารางนัดหมายไว้คร่าว ๆ หลังจากนั้นจะทาการนัด หมายการประชุมครั้งแรก ขั้นตอนนี้จะเป็ นการกล่าวถึงโครงการ หรือความ ต้องการของโครงการ วัตถุประสงค์คืออะไร ต้องการผลลัพธ์อะไรบ้าง และ การทางานร่วมกันทางความคิดจะเป็ นอย่างไร 2. Generation Step ขั้นของการสร ้างความคิด คือการที่ทุกคนในกลุ่มเสนอความคิดเห็นของตนเองออกมา ข้อมูลที่ ได้อาจจะมาจากตารา งานวิจัย หรือแหล่งความรู้(Sources of Knowledge) ที่หลากหลาย อาทิ ห้องสมุด อินเตอร ์เน็ต หนังสือ วารสารวิชาการ ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ หรือบางครั้งอาจจะมาจาก ผู้เชี่ยวชาญ (Center of Excellence - CoE) ขั้นตอนนี้จะสนใจที่จานวน
  • 6. 3. Structure Step - ขั้นการจัดโครงสร้างความคิด สมาชิกในกลุ่มจะช่วยกันจัดกลุ่มของความคิด (Ideas Grouping) รวมทั้งการจัดลาดับช่วงชั้น ของความคิด (Basic Ordering Ideas - BOIs) 4. Representation Step - การวิเคราะห์แผนที่มโนทัศน์ เป็นขั้นตอนที่จะวิเคราะห์คุณภาพของความคิด วิเคราะห์ความสัมพัน์์ (Relationship) วิเคราะห์ ประเด็นเชื่อมโยง หรือเกี่ยวข้อง รวมทั้งวิเคราะห์ส่วนขาด หรือสิ่งที่ตกหล่น ยังไม่มีใครมอง 5. Interpretation Step - การตีความและแปลความหมาย เป็นขั้นตอนในการทาความเข้าใจ และแปลผลของแผนที่มโนทัศน์ เป็นขั้นตอนที่จะต้องนาแผนที่ มโนทัศน์ออกมาสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจได้โดยง่าย ไม่สาคัญว่าเขียนมันออกมาได้ แต่สาคัญว่า เขียน แล้ว ชาวบ้านอ่านเข้าใจด้วย ซึ่งตัวชาวบ้านเองก็จะต้องฝึกอ่าน แผนที่มโนทัศน์ให้เป็นด้วย 6. Utilization Step การนาไปใช้ประโยชน์ เป็นการนา Concept Mapping ไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงาน เช่น การนาไปใช้เป็น Strategic Map หรือการนาไปใช้เป็นกรอบแนวคิด (Conceptual framework) ในการดาเนินงานวิจัย หรือ วิเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงาน
  • 7. รูปแบบของแผนผังมโนทัศน์มี 5 แบบ 1.แบบกระจายออก (Point grouping) 2.แบบปลายเปิด (Opened grouping) 3.แบบปลายปิด (Closed grouping) 4.แบบเชื่อมโยงข้ามจุด (Linked grouping) 5.แบบผสม (Mixed grouping)
  • 8.
  • 10.
  • 11.
  • 12.
  • 13.
  • 14. ประโยชน์ของการทาแผนผังมโนทัศน์ 1. ทาให้เห็นภาพรวมกว้าง ๆ ของหัวข้อใหญ่ หรือขอบเขตของเรื่อง 2. ทาให้สามารถวางแผนเส้นทางหรือตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เพราะรู้ว่าตรงไหน กาลังจะไปไหนหรือผ่านอะไรบ้าง 3. สามารถรวบรวมข้อมูลจานวนมากลงไว้ในกระดาษแผ่นเดียวกัน 4. กระตุ้นให้คิดแก้ไขปัญหา โดยเปิดโอกาสให้มองเห็นวิ์ีใหม่ ๆ ที่สร้างสรรค์ 5. สร้างความเพลิดเพลินในการอ่านและง่ายต่อการจดจา
  • 15. สรุป Mind Map เป็นแผนที่ความคิดที่อัจฉริยะ เปรียบเสมือนลาย แทง ที่นาไปสู่การจดจา การเรียบเรียงการจัดระเบียบ การจัดระเบียบข้อมูลตามธรรมชาติ การทางานของ การทางานของสมองตั้งแต่ต้น นั่นหมายความว่า การจาและฟื้น ว่า การจาและฟื้นความจา หรือการเรียกข้อมูลเหล่านั้นกลับมา ข้อมูลเหล่านั้นกลับมาใช้ในภายหลังจะทาได้ง่ายและมีความ ง่ายและมีความถูกต้องแม่นยากว่าการใช้เทคนิคการจดบันทึก เทคนิคการจดบันทึกแบบเดิม